SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
Chapter 22
                             Working Capital Management
Topic
   •   Cash ,Inventory , and A/R Management
   •   A/P Management
   •   Working Capital Financing Policies
   •   S-T Finance Policy
   •   Commercial Paper
                  Net Operating Working Capital (NOWC) = Op. CA – Op.CL
                        NOWC = ( Cash + Inv. + A/R ) – ( Accrual +A/P )
ดาน ASSET
   • Cash ,Inventory , and A/R Management
พิจารณาดาน Asset ทั้ง 3 Cash ,Inventory และ A/R ให Balance ระหวาง Cost และ Benefit ใน
การกําหนดนโยบายกา Control แตละตัวอยางเหมาะสม

Cash Conversion Cycle (CCC)
         Cash Conversion Cycle = ระยะเวลาที่เราจาย Cash ออกไปจนเราได Cash กลับมา
                                    Cash Out Flow         Cash Inflow
ซื้อ Raw Material
    on Credit       ผลิต Inventory       Sale on Credits                  เก็บเงินได
                      AAI                                      ACP

          APP
              COF                                                                 CIF
AAI = Average Age of Inventory
       ซื้อ R/M ผลิตสินคา Sale on Credit ใชเวลาทั้งหมดเทาไร
ACP = Average Collection Period ชวงเวลาในการเก็บ A/R ใหไดเงินเขามา
APP = Average Payable Period ระยะเวลาในการจาย A/P

                                  CCC = AAI + ACP -APP

    CCC = (Days Per year / Inv. Turnover ) + Days sales outstanding - Payable deferral period
Ex1.                 AAI = 100 days                          ACP =50 days

       APP = 20
                 COF                                                                 CIF
                CC = 130 วัน
                CC = AAI + ACP –APP
                   = 100 + 50 +-20 = 130 วัน

     เราตองการให CCC นอยที่สุดเพื่อใหไดเงินกลับมาเร็ว ทําไดโดย
     - ทําให AAI ↓ นอยที่สุดโดยผลิตสินคาออกมาขายใหเร็วที่สุด
     - ทําให ACP ↓ นอยที่สุดเก็บเงินจาก A/P ใหไดเร็ว ๆ
     - ทําให APP ↑ มากที่สุดจาย A/P ชา ๆ แตตองพิจารณาไมใหเสีย Credit ของบริษัท
                                                    
  CCC = (Days Per year / Inv. Turnover ) + Days sales outstanding - Payable deferral period
  AAI = 365
           Sales / Inv.
  DSO =        Receivable                       ACP = 365 x A/R
           Average sales per day                          Sales
Ex2.
 CCC = ( 365 / 4.82 ) + 45.6 - 30 = 91.3 days

                    Cash Management :
เหตุผลของการเก็บเงินสดไวไมฝาก Bank
       Transaction : เก็บไวใชทําธุรกิจวันตอวัน
       Precaution : สํารองไวปองกันเหตุที่ไมคาดคิด (แตถาเรามี Credit ที่ดีกับธนาคาร หรือมี
       Marketable Security = near cash สามารถเปลี่ยนเปนเงินสดไดงายและไดดอกเบี้ยดวย ก็
       ไมตองสํารองเงินสดไวมาก)
       Compensating Balance : กูเงินจาก Bank แลว Bank หักเงินเก็บไวสวนหนึ่ง แตเวลาคิด
       ดอกเบี้ยคิดจากยอดเต็ม เชน ยืม 100 ,CB 10% , ไดรับเงิน 90

                          +90                      - 90
                                                  - Int 5% x 100
       Speculation : เก็บไวใชเก็งกําไร
The Goal of cash management : เพื่อใหมีเงิน on hand สามารถใชจายในสิ่งเหลานี้ได
                                                               
Way to Minimize Cash holdings
            - เปดตู ปณ. ที่ไปรษณีย
            - ใช ATM , โอนเงินผานเครื่อง
            - ทําใหจังหวะเวลาของ Cash Inflow และ Outflow สอดคลองกัน
            - เพิ่มความแมนยําของการ Forecast จะไดไมเก็บเงินไวมากเกินไป
            - แทนที่จะเก็บเปนเงินสดก็เก็บเปนพันธบัตรระยะสั้น
            - เปด OD กับ Bank
สิ่งที่เกี่ยวกับ Cash Budget ตองพิจารณาเพิ่มเติม
            - Depreciation ไมใชเงินสด แตชวยประหยัดภาษีได
            - Cash inflow จะมาจากทางใดอีกนอกจากเงินที่เก็บเจากลูกคา
                1. เงินจากการขาย Asset
                2. เงินจากการขายหุน ,Bond
                3. Interest Earn
                4. การฟองรองใหไดหนี้สินกลับมา
            - Interest earn on S-T Security เปนดอกเบี้ยรับไดเงินเขามาจากการลงทุน
            - Interest Paid ตองจายคาดอกเบี้ยออกไปเนื่องจากการกูเงิน
            - Bad Debt หนี้เสียจะทําใหบริษัทมี Cash inflow นอยลง ซึ่งถาเก็บเงินคืนมาไดนอยมาก
                จะสงผลใหบริษัทตองไปกูยืมเงินมาเพิ่มสูง
เหตุผลที่บางบริษัทถือเงินสดไวคอนขางสูง
                                    
            - Sales นอยกวาที่คาดการณไว หรือเก็บเงินมาไดนอย
            - ไมเชื่อถือในการ Forecast Sales หรือ บริษัท Conservative มากเก็บเงินเผื่อไวกอน
            - เก็บเงินสดเผื่อไวซื้อ Fixed Asset

                      Inventory Management :
Categories of Inv. Cost
          - Carrying Cost
          - Ordering Cost
          - Cost of Running Short : :Loss of Sales , Loss of customer goodwill
ถาเราเก็บ Inventory นอยเงินไมจม แตอาจเกิด Shortage ไมมีของขาย ทําใหเสียชื่อเสียง เสีย Credit
ลูกคาอาจเปลี่ยนไปซื้อของคูแขงได
EX. บริษัท SKI มี Inv. Turnover 4.82 ซึ่งต่ํากวาคาเฉลี่ยของธุรกิจ (7.00) แสดงวาบริษัทหมุน Inv.
ออกไปไดชา เก็บ Inv. ไวมากเกินไป ทําให Operating Cost สูงขึ้นทําให NOPAT ลดลง ยิ่งไปกวา
ถาเก็บ Inv. ไวมากไป ในอนาคตนั้นจะทําให EVA ลดลงดวย
Account Receivable Management :
A/R : ขายของใหลูกคาแลวลูกคายังไมจายเงินเรา ถาสูง ๆ ไมดีเงินจม ดูที่ Ratio DSO วาสามารถ
เก็บเงินจาก A/R ไดเร็วหรือไม
Element of Credit Policy
         Trade Credit ซื้อของแลวจายเงินเร็วจะมีสวนลดให
         - Cash Discount : เชน จายภายใน 10 วัน ลด 2%
         - Discount Period : ชวงเวลาที่มีสวนลด 10 วัน
         - Credit Period : ถาไมเอา Discount ตองจายเงินภายใน 30 วัน
Credit Standard : Tighter ถาใหชวงเวลา Credit Period แกลูกคานอย จะทําใหลด Bad Debt ได และ
ทําให DSO ต่ําลง(ดี) แตอาจทําให Sales ลดลงเนื่องจากลูกคาอาจไปซื้อของเจาอื่นทีให Credit
                                                                                     ่
Period นานกวาเพื่อไมตองจายเงินสดออกไปเร็ว
Collection Policy : Tougher Policy การเก็บเงินที่เขมงวดจะทําให DSO ลดลงแตถาเขมงวด
จนเกินไปอาจทําลาย Customer Relationship

ดาน Liability
Accrual
        - Accrual ไมมีคาใชจายจากการมี Accrual อยูในบริษัท แตถามีมากอาจมีผลกระทบใน
                              
             ดาน Macro

    • Account Payable Management :
Trade Credit : ซื้อของ Supplier มาแลวยังไมจาย เหมือนกับยืมเงินเขามาแตไมตองจายดอกเบี้ย
มันเปน Short Term Credit
        - Trade Credit จะแปรตาม Demand ตามยอดขาย
EX. 1/10 , net 30 : Discount 1% ถาจายภายใน 10 วัน ถาไมเอา Discount ตองจายภายใน 30 วัน
(นับจากวันที 0) ถาซื้อ 100 บาท จะเหมือนยืม 99 บาท 20 วันจายดอกเบี้ย บาท
              0                  10                    20 วัน               30

                                   99                  1 บาท                100
Cost of not taking discount : นับเปนสวนของ Financing Cost ถาเราไมเอาสวนลดก็เหมือนกับวา
เราจายเพิ่ม แตไมไดมีการจายเงินออกไปจริง ๆ แตมันเปน Opportunity Cost ที่ไดสวนลดในชวง
Trade Credit แลวไมเอา
Cost of not taking discount = จาย = เหมือนจายดอกเบี้ย 1 = 1 = 1.01%
                                        รับ        เหมือนรับ 99     99
        20 days cost = 1.01 %
        360 days cost = 1.01 x (360/20) = 18.18 %
        แคบาทเดียวแตคิดเปน Cost ของการไมเอาสวนลดถึง 18.18 %

        Cost of not taking discount = % Disc x              360
                                      1 - % Disc Credit Period - Discount Period
                                                               หรือ Accrual Period
จากสูตร
หากตองการลด Cost of not taking discount
     1. % Disc ↓
     2. Discount Period ↓
     3. Credit Period ↑
EX. 1/10 , n 30 จายจริงวันที่ 40 , 1 ป = 365 วัน
Cost of not taking discount = 0.01 x 365
                                    (1- 0.01)      40 – 10
จายจริงวันที่ 40 มี Cost of not taking discount = 12.24%
ถาจายจริงวันที่ 30
Cost of not taking discount = 0.01 x 365 = 18.43 %
                                    (1- 0.01)      30 – 10
จะเห็นไดวาจายวันที่ 40 มี Cost นอยกวาแตอาจทําใหเสีย Credit ได

Ex. 2/10 , n 45
Cost of not taking discount =     0.02 x 365 = 21.28%
                               (1- 0.02)       45 – 10
        3/10 , n 45 ไดสวนลดมากขึ้นก็ยังไมเอาจะทําให Cost สูงขึ้น
Cost of not taking discount = 0.03 x 365 = 32.25%
                               (1- 0.03)       45 – 10
        2/15 , n 45 ใหโอกาสมีเวลาที่จะ Take Discount มากขึน ก็ยังไมเอาก็จะทําให Cost สูงขึ้น
                                                             ้
Cost of not taking discount = 0.02 x 365 = 24.83%
                               (1- 0.02)       45 – 15
• Working Capital Financing Policies (ดูกราฟใน Text ประกอบ)
        Aggressive : High Risk High Return อยากได Return สูงสูดจึงพยายามทําให Cost
    -
        ต่ําที่สุด โดยใชแตเงินกูยืมระยะสั้นมา Finance ทั้ง Permanent และ Temporary Asset
        บางสวน แตมีความสี่ยงสูงที่ถึงเวลาแลวจะไมมีเงินคืน ยิ่งใช S-T Debt มา Cover
        Permanent Asset มาก ๆ ยิ่งเสี่ยงมาก
        Conservative : ไมชอบความเสี่ยง ใช Permanent Capital ทั้งสําหรับ Permanent
    -
        และ Temporary Asset
        Moderate : Compromising ระหวาง Aggressive & Conservative ตอง Match
    -
        Maturity ระหวาง Asset และแหลงเงินทุน คือ เงินกูระยะยาวนํามาใชลงทุนระยะยาว เงินกู
        ระยะสั้นนํามาลงทุนระยะสั้น

• S-T Finance Policy
    Advantage of S-T Debt vs. L-T Debt
    - Low Cost : S-T Debt จะมี Cost ต่ํากวา L-T Debt เพราะระยะเวลายาวขึ้นดอกเบี้ยมักจะ
        สูงขึ้น
        กูไดงายกวา
    -
        สามารถคืนเงินกอนโดยไมตองเสียคาปรับ (โดยปกติแลว L-T มักจะตองเสียคาปรับถาคืนเงินเร็ว
    -
        กวาที่กําหนด)
    Disadvantage of S-T Debt vs. L-T Debt
    - ความเสี่ยงสูงกวา เพราะตองจายคืนเร็วบริษัทอาจไมมีเงินจาย


• Commercial Paper
     Commercial Paper (CP) : เหมือนการออกพันธบัตรระยะสั้น โดยบริษัทใหญ ๆ ที่มี Credit
ดี เปนวิธีหาเงินแบบหนึ่งซึ่งถูกกวากู Bank เปนการสงสัญญาณจากบริษัทวามีการดําเนินกิจการ
ดีจึงกลาออก CP เนื่องจากถาไมดีออกมาก็ไมมีคนซื้อ
     ราคาของ CP จะสูงกวาพันธบัตรรัฐบาลเล็กนอย ผูซื้อคือ นักลงทุนรายยอย , สถาบัน
การเงิน , บริษัทตางชาติ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Present Value and Future Value Tables
Present Value and Future Value TablesPresent Value and Future Value Tables
Present Value and Future Value TablesAdilMohsunov1
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์K'Keng Hale's
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....WWW.TABUNGANINVESTASI.COM
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 2เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 2K'Keng Hale's
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...adelen11
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลreaxe j
 
PPT on Contemporary issue Derivatives
PPT on Contemporary issue Derivatives PPT on Contemporary issue Derivatives
PPT on Contemporary issue Derivatives d sh
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 

La actualidad más candente (20)

Present Value and Future Value Tables
Present Value and Future Value TablesPresent Value and Future Value Tables
Present Value and Future Value Tables
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
Swap
SwapSwap
Swap
 
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....
ILUSTRASI INVESTASI TABUNGAN 3I-NETWORKS 1 JUTA/BULAN [WWW.TABUNGANINVESTASI....
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 2เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 2
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
parity conditions
parity conditionsparity conditions
parity conditions
 
Tree
TreeTree
Tree
 
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...
Solutions manual for mathematics of finance canadian 8th edition by brown ibs...
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
PPT on Contemporary issue Derivatives
PPT on Contemporary issue Derivatives PPT on Contemporary issue Derivatives
PPT on Contemporary issue Derivatives
 
Foreign Exchange Market
Foreign Exchange MarketForeign Exchange Market
Foreign Exchange Market
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
Emi calculation
Emi calculationEmi calculation
Emi calculation
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 

Destacado

Financial Management Summary
Financial Management SummaryFinancial Management Summary
Financial Management Summarytltutortutor
 
An Overview Of Financial Management
An Overview Of Financial ManagementAn Overview Of Financial Management
An Overview Of Financial ManagementRhishikesh Datar
 
Formation of CPP/ACP
Formation of CPP/ACPFormation of CPP/ACP
Formation of CPP/ACPdentyomaraj
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plustltutortutor
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Reporttltutortutor
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Managementtltutortutor
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plustltutortutor
 
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuringtltutortutor
 

Destacado (20)

Financial Management Summary
Financial Management SummaryFinancial Management Summary
Financial Management Summary
 
An Overview Of Financial Management
An Overview Of Financial ManagementAn Overview Of Financial Management
An Overview Of Financial Management
 
Formation of CPP/ACP
Formation of CPP/ACPFormation of CPP/ACP
Formation of CPP/ACP
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Report
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Management
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updated
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
 

Más de tltutortutor

Fm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield CurveFm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield Curvetltutortutor
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summarytltutortutor
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดtltutortutor
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwesttltutortutor
 

Más de tltutortutor (16)

Fm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield CurveFm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield Curve
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updated
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updated
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summary
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwest
 

Finance Working Capital Management

  • 1. Chapter 22 Working Capital Management Topic • Cash ,Inventory , and A/R Management • A/P Management • Working Capital Financing Policies • S-T Finance Policy • Commercial Paper Net Operating Working Capital (NOWC) = Op. CA – Op.CL NOWC = ( Cash + Inv. + A/R ) – ( Accrual +A/P ) ดาน ASSET • Cash ,Inventory , and A/R Management พิจารณาดาน Asset ทั้ง 3 Cash ,Inventory และ A/R ให Balance ระหวาง Cost และ Benefit ใน การกําหนดนโยบายกา Control แตละตัวอยางเหมาะสม Cash Conversion Cycle (CCC) Cash Conversion Cycle = ระยะเวลาที่เราจาย Cash ออกไปจนเราได Cash กลับมา Cash Out Flow Cash Inflow ซื้อ Raw Material on Credit ผลิต Inventory Sale on Credits เก็บเงินได AAI ACP APP COF CIF AAI = Average Age of Inventory ซื้อ R/M ผลิตสินคา Sale on Credit ใชเวลาทั้งหมดเทาไร ACP = Average Collection Period ชวงเวลาในการเก็บ A/R ใหไดเงินเขามา APP = Average Payable Period ระยะเวลาในการจาย A/P CCC = AAI + ACP -APP CCC = (Days Per year / Inv. Turnover ) + Days sales outstanding - Payable deferral period
  • 2. Ex1. AAI = 100 days ACP =50 days APP = 20 COF CIF CC = 130 วัน CC = AAI + ACP –APP = 100 + 50 +-20 = 130 วัน เราตองการให CCC นอยที่สุดเพื่อใหไดเงินกลับมาเร็ว ทําไดโดย - ทําให AAI ↓ นอยที่สุดโดยผลิตสินคาออกมาขายใหเร็วที่สุด - ทําให ACP ↓ นอยที่สุดเก็บเงินจาก A/P ใหไดเร็ว ๆ - ทําให APP ↑ มากที่สุดจาย A/P ชา ๆ แตตองพิจารณาไมใหเสีย Credit ของบริษัท  CCC = (Days Per year / Inv. Turnover ) + Days sales outstanding - Payable deferral period AAI = 365 Sales / Inv. DSO = Receivable ACP = 365 x A/R Average sales per day Sales Ex2. CCC = ( 365 / 4.82 ) + 45.6 - 30 = 91.3 days Cash Management : เหตุผลของการเก็บเงินสดไวไมฝาก Bank Transaction : เก็บไวใชทําธุรกิจวันตอวัน Precaution : สํารองไวปองกันเหตุที่ไมคาดคิด (แตถาเรามี Credit ที่ดีกับธนาคาร หรือมี Marketable Security = near cash สามารถเปลี่ยนเปนเงินสดไดงายและไดดอกเบี้ยดวย ก็ ไมตองสํารองเงินสดไวมาก) Compensating Balance : กูเงินจาก Bank แลว Bank หักเงินเก็บไวสวนหนึ่ง แตเวลาคิด ดอกเบี้ยคิดจากยอดเต็ม เชน ยืม 100 ,CB 10% , ไดรับเงิน 90 +90 - 90 - Int 5% x 100 Speculation : เก็บไวใชเก็งกําไร The Goal of cash management : เพื่อใหมีเงิน on hand สามารถใชจายในสิ่งเหลานี้ได 
  • 3. Way to Minimize Cash holdings - เปดตู ปณ. ที่ไปรษณีย - ใช ATM , โอนเงินผานเครื่อง - ทําใหจังหวะเวลาของ Cash Inflow และ Outflow สอดคลองกัน - เพิ่มความแมนยําของการ Forecast จะไดไมเก็บเงินไวมากเกินไป - แทนที่จะเก็บเปนเงินสดก็เก็บเปนพันธบัตรระยะสั้น - เปด OD กับ Bank สิ่งที่เกี่ยวกับ Cash Budget ตองพิจารณาเพิ่มเติม - Depreciation ไมใชเงินสด แตชวยประหยัดภาษีได - Cash inflow จะมาจากทางใดอีกนอกจากเงินที่เก็บเจากลูกคา 1. เงินจากการขาย Asset 2. เงินจากการขายหุน ,Bond 3. Interest Earn 4. การฟองรองใหไดหนี้สินกลับมา - Interest earn on S-T Security เปนดอกเบี้ยรับไดเงินเขามาจากการลงทุน - Interest Paid ตองจายคาดอกเบี้ยออกไปเนื่องจากการกูเงิน - Bad Debt หนี้เสียจะทําใหบริษัทมี Cash inflow นอยลง ซึ่งถาเก็บเงินคืนมาไดนอยมาก จะสงผลใหบริษัทตองไปกูยืมเงินมาเพิ่มสูง เหตุผลที่บางบริษัทถือเงินสดไวคอนขางสูง  - Sales นอยกวาที่คาดการณไว หรือเก็บเงินมาไดนอย - ไมเชื่อถือในการ Forecast Sales หรือ บริษัท Conservative มากเก็บเงินเผื่อไวกอน - เก็บเงินสดเผื่อไวซื้อ Fixed Asset Inventory Management : Categories of Inv. Cost - Carrying Cost - Ordering Cost - Cost of Running Short : :Loss of Sales , Loss of customer goodwill ถาเราเก็บ Inventory นอยเงินไมจม แตอาจเกิด Shortage ไมมีของขาย ทําใหเสียชื่อเสียง เสีย Credit ลูกคาอาจเปลี่ยนไปซื้อของคูแขงได EX. บริษัท SKI มี Inv. Turnover 4.82 ซึ่งต่ํากวาคาเฉลี่ยของธุรกิจ (7.00) แสดงวาบริษัทหมุน Inv. ออกไปไดชา เก็บ Inv. ไวมากเกินไป ทําให Operating Cost สูงขึ้นทําให NOPAT ลดลง ยิ่งไปกวา ถาเก็บ Inv. ไวมากไป ในอนาคตนั้นจะทําให EVA ลดลงดวย
  • 4. Account Receivable Management : A/R : ขายของใหลูกคาแลวลูกคายังไมจายเงินเรา ถาสูง ๆ ไมดีเงินจม ดูที่ Ratio DSO วาสามารถ เก็บเงินจาก A/R ไดเร็วหรือไม Element of Credit Policy Trade Credit ซื้อของแลวจายเงินเร็วจะมีสวนลดให - Cash Discount : เชน จายภายใน 10 วัน ลด 2% - Discount Period : ชวงเวลาที่มีสวนลด 10 วัน - Credit Period : ถาไมเอา Discount ตองจายเงินภายใน 30 วัน Credit Standard : Tighter ถาใหชวงเวลา Credit Period แกลูกคานอย จะทําใหลด Bad Debt ได และ ทําให DSO ต่ําลง(ดี) แตอาจทําให Sales ลดลงเนื่องจากลูกคาอาจไปซื้อของเจาอื่นทีให Credit ่ Period นานกวาเพื่อไมตองจายเงินสดออกไปเร็ว Collection Policy : Tougher Policy การเก็บเงินที่เขมงวดจะทําให DSO ลดลงแตถาเขมงวด จนเกินไปอาจทําลาย Customer Relationship ดาน Liability Accrual - Accrual ไมมีคาใชจายจากการมี Accrual อยูในบริษัท แตถามีมากอาจมีผลกระทบใน  ดาน Macro • Account Payable Management : Trade Credit : ซื้อของ Supplier มาแลวยังไมจาย เหมือนกับยืมเงินเขามาแตไมตองจายดอกเบี้ย มันเปน Short Term Credit - Trade Credit จะแปรตาม Demand ตามยอดขาย EX. 1/10 , net 30 : Discount 1% ถาจายภายใน 10 วัน ถาไมเอา Discount ตองจายภายใน 30 วัน (นับจากวันที 0) ถาซื้อ 100 บาท จะเหมือนยืม 99 บาท 20 วันจายดอกเบี้ย บาท 0 10 20 วัน 30 99 1 บาท 100 Cost of not taking discount : นับเปนสวนของ Financing Cost ถาเราไมเอาสวนลดก็เหมือนกับวา เราจายเพิ่ม แตไมไดมีการจายเงินออกไปจริง ๆ แตมันเปน Opportunity Cost ที่ไดสวนลดในชวง Trade Credit แลวไมเอา
  • 5. Cost of not taking discount = จาย = เหมือนจายดอกเบี้ย 1 = 1 = 1.01% รับ เหมือนรับ 99 99 20 days cost = 1.01 % 360 days cost = 1.01 x (360/20) = 18.18 % แคบาทเดียวแตคิดเปน Cost ของการไมเอาสวนลดถึง 18.18 % Cost of not taking discount = % Disc x 360 1 - % Disc Credit Period - Discount Period หรือ Accrual Period จากสูตร หากตองการลด Cost of not taking discount 1. % Disc ↓ 2. Discount Period ↓ 3. Credit Period ↑ EX. 1/10 , n 30 จายจริงวันที่ 40 , 1 ป = 365 วัน Cost of not taking discount = 0.01 x 365 (1- 0.01) 40 – 10 จายจริงวันที่ 40 มี Cost of not taking discount = 12.24% ถาจายจริงวันที่ 30 Cost of not taking discount = 0.01 x 365 = 18.43 % (1- 0.01) 30 – 10 จะเห็นไดวาจายวันที่ 40 มี Cost นอยกวาแตอาจทําใหเสีย Credit ได Ex. 2/10 , n 45 Cost of not taking discount = 0.02 x 365 = 21.28% (1- 0.02) 45 – 10 3/10 , n 45 ไดสวนลดมากขึ้นก็ยังไมเอาจะทําให Cost สูงขึ้น Cost of not taking discount = 0.03 x 365 = 32.25% (1- 0.03) 45 – 10 2/15 , n 45 ใหโอกาสมีเวลาที่จะ Take Discount มากขึน ก็ยังไมเอาก็จะทําให Cost สูงขึ้น ้ Cost of not taking discount = 0.02 x 365 = 24.83% (1- 0.02) 45 – 15
  • 6. • Working Capital Financing Policies (ดูกราฟใน Text ประกอบ) Aggressive : High Risk High Return อยากได Return สูงสูดจึงพยายามทําให Cost - ต่ําที่สุด โดยใชแตเงินกูยืมระยะสั้นมา Finance ทั้ง Permanent และ Temporary Asset บางสวน แตมีความสี่ยงสูงที่ถึงเวลาแลวจะไมมีเงินคืน ยิ่งใช S-T Debt มา Cover Permanent Asset มาก ๆ ยิ่งเสี่ยงมาก Conservative : ไมชอบความเสี่ยง ใช Permanent Capital ทั้งสําหรับ Permanent - และ Temporary Asset Moderate : Compromising ระหวาง Aggressive & Conservative ตอง Match - Maturity ระหวาง Asset และแหลงเงินทุน คือ เงินกูระยะยาวนํามาใชลงทุนระยะยาว เงินกู ระยะสั้นนํามาลงทุนระยะสั้น • S-T Finance Policy Advantage of S-T Debt vs. L-T Debt - Low Cost : S-T Debt จะมี Cost ต่ํากวา L-T Debt เพราะระยะเวลายาวขึ้นดอกเบี้ยมักจะ สูงขึ้น กูไดงายกวา - สามารถคืนเงินกอนโดยไมตองเสียคาปรับ (โดยปกติแลว L-T มักจะตองเสียคาปรับถาคืนเงินเร็ว - กวาที่กําหนด) Disadvantage of S-T Debt vs. L-T Debt - ความเสี่ยงสูงกวา เพราะตองจายคืนเร็วบริษัทอาจไมมีเงินจาย • Commercial Paper Commercial Paper (CP) : เหมือนการออกพันธบัตรระยะสั้น โดยบริษัทใหญ ๆ ที่มี Credit ดี เปนวิธีหาเงินแบบหนึ่งซึ่งถูกกวากู Bank เปนการสงสัญญาณจากบริษัทวามีการดําเนินกิจการ ดีจึงกลาออก CP เนื่องจากถาไมดีออกมาก็ไมมีคนซื้อ ราคาของ CP จะสูงกวาพันธบัตรรัฐบาลเล็กนอย ผูซื้อคือ นักลงทุนรายยอย , สถาบัน การเงิน , บริษัทตางชาติ