SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
หัวหน้าทัวร์กับมัคคุเทศก์
(Tour Leader and
Tour Guide)

	
หัวหน้าทัวร์และมัคคุเทศก์เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ส�ำคัญของ
การท่องเที่ยว เพราะเป็นบุคคลที่จะน�ำพาและอ�ำนวยความสะดวก
ตลอดจนให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวเปรียบเสมือนเป็นทูตและเป็น
ตัวแทนของบริษัทท่องเที่ยวหรือบริษัททัวร์ และเป็นตัวแทนประชาชน
ในท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนกับ
คนในท้องถิน ดังนัน หัวหน้าทัวร์และมัคคุเทศก์จงเป็นบุคคลทีทำหน้าที่
่
้
ึ
่ �
น�ำนักท่องเที่ยว ลูกทัวร์ไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ โดยมีการแนะน�ำ
และให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ รวมไปถึงการ
อ�ำนวยความสะดวกและการดูแลความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว
	
ส�ำหรับความเป็นมาของมัคคุเทศก์นนเริมรูจกกันอย่างแพร่หลาย
ั้ ่ ้ ั
ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมื่อบริษัทโทมัสคุกได้จัดน�ำเที่ยว
โดยทางรถไฟในประเทศอังกฤษและขยายการน�ำเที่ยวไปยังประเทศ
อื่น ๆ ให้กับคนจ�ำนวนมากจึงต้องมีมัคคุเทศก์คอยดูแลและอ�ำนวย
2

ความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวพร้อมทั้งน�ำชมสถานที่ส�ำคัญ ๆ ตลอด
จนมีความรู้และข้อมูลของสถานที่ไว้คอยอธิบายให้แก่นักท่องเที่ยว
(บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 2549)

	
ส่วนความเป็นมาของมัคคุเทศก์ในประเทศไทยเพิ่งเป็นที่ร้จกกัน
ูั
อย่างแพร่หลายภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีชาวต่างประเทศ
เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก และได้ว่าจ้างผู้ที่มีความ
รู้ภาษาต่างประเทศเพื่อท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ กระทั่ง พ.ศ. 2535 ได้
มีพระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ โดยมีกฎข้อบังคับให้
ผู้ที่จะประกอบอาชีพมัคคุเทศก์จะต้องมีใบอนุญาตการเป็นมัคคุเทศก์
และมีความรูตามหลักสูตรทีสำนักพัฒนาการท่องเทียวภายใต้กระทรวง
้
่�
่
การท่องเที่ยวและกีฬาก�ำหนด และมัคคุเทศก์ทุกคนจะต้องติดบัตร
มัคคุเทศก์ในเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่
3

	
มัคคุเทศก์นับเป็นอาชีพสงวนที่ส�ำคัญ ซึ่งมีไว้ส�ำหรับผู้ประกอบ
อาชีพชาวไทยที่จะต้องมีคุณสมบัติ มีความรู้และความสามารถ รวม
ไปถึงต้องศึกษาในวิชาชีพนี้มาโดยตรง หรือผ่านกระบวนการอบรม
ทดสอบ เลือกสรรกลั่นกรอง จนได้วุฒิบัตรใบประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้
เพราะมัคคุเทศก์เป็นผู้มีความส�ำคัญต่อประเทศชาติ เป็นผู้เผยแพร่
ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงาม ความเป็นเอกลักษณ์ของแหล่ง
ท่องเที่ยวและสร้างสรรค์ประเทศชาติ ท�ำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้
ใหม่ ๆ รวมไปถึงประสบการณ์ ความสนุกสนานเพลิดเพลินตามวัตถุ
ประสงค์ในการเดินทางท่องเทียวในแต่ละครัง มัคคุเทศก์จะมีสวนท�ำให้
่
้
่
นักท่องเทียวประทับใจในสถานทีทองเทียวและกล่าวถึงสิงอันดีงามและ
่
่ ่ ่
่
ส่งผลต่อภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ

มัคคุเทศก์ (Guide)
	
ค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ได้มีค�ำจ�ำกัดความไว้หลากหลาย ในที่นี้จะ
พิจารณาความหมายของค�ำว่ามัคคุเทศก์ไว้ 2 ลักษณะ คือ ความหมาย
ตามศัพท์ และความหมายตามกฎหมาย ดังนี้
	
ความหมายของค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ตามศัพท์ในพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า มัคคุเทศก์
หมายถึง ผู้น�ำทาง ผู้ชี้ทาง ผู้บอกทาง ผู้น�ำเที่ยว
	
ความหมายตามศั พ ท์ ข องค� ำ ว่ า “มั ค คุ เ ทศก์ ” ในเชิ ง ภาษา
มัคคุเทศก์มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีว่า มคฺค + อุทฺเทสก แปลว่า
ผู้น�ำทาง ผู้อธิบายทาง (มคฺค = ทาง, อุทฺเทสก = ผู้น�ำ ผู้อธิบาย) และ
ตามความหมายที่คนส่วนใหญ่เข้าใจนั้น มัคคุเทศก์จะหมายถึงผู้ที่ท�ำ
4

หน้าที่น�ำผู้อื่นไปยังสถานที่ต่าง ๆ และให้ค�ำอธิบายแนะน�ำเกี่ยวกับ
สถานที่นั้น ๆ

	
ส่วนความหมายของค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ในเชิงกฎหมายตาม
ความในพระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551
มาตราที่ 4 ได้กล่าวไว้ว่า มัคคุเทศก์ หมายถึง ผู้ให้บริการเป็นปกติ
ธุระในการน�ำนักท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่าง ๆ โดยให้บริการเกี่ยวกับ
ค�ำแนะน�ำและความรู้ด้านต่าง ๆ แก่นักท่องเที่ยว
	
จากความหมายข้างต้นที่กล่าวมา มัคคุเทศก์มีงานส�ำคัญ 2
ประการ คือ การน�ำนักท่องเที่ยวและการให้ความรู้โดยการอธิบายน�ำ
ชมสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งแต่ละประเทศจะมีข้อก�ำหนดตามกฎหมายให้
อาชีพมัคคุเทศก์ เป็นอาชีพสงวนส�ำหรับบุคคลที่มีสัญชาติของประเทศ
นั้น ๆ จึงจะประกอบอาชีพได้ (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.),
5

2551)
	
ส่วนค�ำในภาษาอังกฤษ มัคคุเทศก์ มีความหมายตรงกับค�ำว่า
Guide หรือ Tour Guide หรือ Tourist Guide แต่โดยปกติแล้วทั้ง 3
ค�ำ หมายถึง มัคคุเทศก์ที่ท�ำหน้าที่น�ำชมสถานที่ต่าง ๆ
	
ส่วน Courier และ Tour Leader จะใช้กับหัวหน้าทัวร์ที่คอย
อ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวในด้านการเดินทาง การจัดท�ำ
บัตรที่นั่ง การจัดห้องพัก การอ�ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับเอกสาร
พิธีการตรวจคนเข้าเมือง ส่วนหัวหน้าทัวร์ที่น�ำนักท่องเที่ยวไปบาง
ประเทศ เช่น ประเทศแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย จะต้อง
ท�ำหน้าที่มัคคุเทศก์รวมไปถึงอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวด้าน
การพักแรม ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการเดินทาง และด้าน
อื่น ๆ

หัวหน้าทัวร์ (Tour Leader)
	
ค�ำว่า “หัวหน้าทัวร์” “ผู้น�ำเที่ยว” ในพระราชบัญญัติธุรกิจ
น�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 มาตราที่ 4 ได้ระบุความหมายของ
ค�ำว่า ผู้น�ำเที่ยว แยกต่างหากอย่างชัดเจน โดยผู้น�ำเที่ยวหมายถึงผู้รับ
ผิดชอบในการดูแล และอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวในการ
เดินทางไปท่องเที่ยวในต่างประเทศ ส่วนหัวหน้าทัวร์เป็นภาษาพูดที่
เรียกผู้น�ำเที่ยวนั่นเอง และมัคคุเทศก์กับผู้น�ำเที่ยวจึงไม่ใช่บุคคลคน
เดียวกันหากแต่จะท�ำหน้าที่คล้าย ๆ กัน คือ มัคคุเทศก์จะท�ำหน้าที่
บรรยายให้ความรู้ และน�ำเที่ยวในประเทศ ส่วนหัวหน้าทัวร์หรือผู้น�ำ
เทียวจะท�ำหน้าทีอำนวยความสะดวก และน�ำนักท่องเทียวไปท่องเทียว
่
่�
่
่
6

ยังต่างถิ่นหรือต่างประเทศ
	
ดังนั้น จากความหมายข้างต้นผู้ที่ท�ำหน้าที่น�ำนักท่องเที่ยวไปยัง
ที่ ต่าง ๆ โดยไม่ได้ให้ความรู้ จึงยังไม่สามารถเรียกว่ามัคคุเทศก์ได้ เช่น
ผู้รับส่งนักท่องเที่ยวจากท่าอากาศยานไปยังโรงแรมอย่างเดียวเราเรียก
บุคคลผูนวา “ผูรบ-ส่งนักท่องเทียว” (Transfer Personal) แต่ทำหน้าที่
้ ี้ ่ ้ ั
่
�
ให้ข้อมูลความรู้ในระหว่างการรับส่งนักท่องเที่ยวไปพร้อมกันนั้น ก็
สามารถเรียกได้ว่า “มัคคุเทศก์ระหว่างรับ-ส่ง” (Transfer Guide)

	
ในบางครั้งเราก็ควรแยกความหมายและหน้าที่ระหว่างมัคคุเทศก์ (Guide) กับหัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) ออกจากกันให้ชัดเจน
เนื่องมาจากในหลายประเทศมีกฎหมายก�ำหนดให้ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็น
มัคคุเทศก์ต้องเป็นคนสัญชาติของตนเท่านั้น เช่นเดียวกับประเทศไทย
ซึ่งถ้าใช้ค�ำ 2 ค�ำนี้มาปะปนกันอาจจะท�ำให้เกิดความสับสนได้ เนื่อง
7

จากมัคคุเทศก์มักเป็นคนท้องถิ่นหรือคนที่มีสัญชาติในประเทศนั้น ๆ
สามารถพูดภาษาของนักท่องเที่ยวหรือสื่อสารกับนักท่องเที่ยวได้เข้าใจ
เป็นบุคคลที่สามารถบรรยายเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่นไม่ว่าจะ
เป็นประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต โบราณสถาน โบราณ
วัตถุ  แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ งานของมัคคุเทศก์จะจ�ำกัดอยู่ใน
ขอบเขตการให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ส่วนหัวหน้าทัวร์จะเป็นผู้น�ำกลุ่ม
นักท่องเที่ยวที่เรียกกันโดยรวมว่า “ลูกทัวร์” หัวหน้าทัวร์จะท�ำหน้าที่
รับผิดชอบการเดินทางของนักท่องเที่ยวลูกทัวร์ตั้งแต่เริมต้นทีสนามบิน
่
่
ต้นทางจนเดินทางกลับถึงสนามบิน เดิมงานเอกสารที่เกี่ยวการเดินทาง
ทั้งหมด ได้แก่ ใบตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) (Immigration Form) ใบ
ส�ำแดงสินค้า (Custom Declare) บัญชีรายชื่อจัดห้องพัก (Rooming
List) และเป็นผู้ประสานงานกับมัคคุเทศก์ท้องถิ่น (Local Guide) ต้อง
รับผิดชอบงานเกือบตลอด 24 ชั่วโมง (ฉันทัช วรรณถนอม, 2551)

ความแตกต่างระหว่างมัคคุเทศก์กับหัวหน้าทัวร์
	
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนจึงขอยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นหน้าที่และ
ความแตกต่างระหว่างมัคคุเทศก์กับหัวหน้าทัวร์ในการจัดน�ำกลุ่มนัก
ท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวต่างประเทศที่เรียกว่าการท่องเที่ยวแบบ Outbound สมมุติว่าน�ำนักท่องเที่ยวไปประเทศเวียดนาม ผู้ที่จะท�ำหน้าที่
เป็นหัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) คือ ผูทเี่ ป็นตัวแทนของบริษทท่องเทียว
้
ั
่
ที่เป็นคนไทยน�ำนักท่องเที่ยวชาวไทยไปยังประเทศเวียดนาม เมื่อเดิน
ทางถึงประเทศเวียดนาม ผู้ที่จะท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ (Guide) คือ
ตัวแทนของบริษัทน�ำเที่ยวของประเทศเวียดนาม ซึ่งก็คือ มัคคุเทศก์
8

คนเวียดนามที่สามารถพูดภาษาไทยได้ และมีบัตรมัคคุเทศก์ในการ
น�ำเที่ยวที่รัฐบาลเวียดนามให้การรับรอง หรือที่เราเรียกว่า มัคคุเทศก์
ท้องถิ่น (Local Guide)

	
มัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่น�ำเที่ยวชาวไทยในประเทศเวียดนามนี้โดย
มากสามารถพูดสื่อหรืออธิบายเป็นภาษาไทยได้  เนื่องจากอาจเป็น
คนไทยที่ไปประกอบวิชาชีพหรือมีครอบครัวกับชาวเวียดนาม หรือ
อาจเป็นคนสัญชาติเวียดนามที่ฝึกพูดภาษาไทยเพื่อประกอบวิชาชีพ
การน�ำเที่ยวโดยเฉพาะ
	
หัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) ถึงแม้จะมีหน้าที่หลักในการอ�ำนวย
ความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ แต่ก็ควรมีความรู้เกี่ยวกับ
ประเทศที่ไปเยือนด้วยเพื่อที่จะได้อธิบายให้นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ได้รับ
ทราบข้อมูลต่าง ๆ ขณะเดินทางท่องเที่ยว เพราะในบางประเทศ
9

ระหว่างการเดินทาง บางช่วงจะไม่มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นไปด้วย นอกจาก
นี้หัวหน้าทัวร์อาจท�ำหน้าที่ในการแปลความจากมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
(Local Guide) ให้นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ได้เข้ าใจมากขึ้น เนื่องจาก
บางครั้งมัคคุเทศก์ท้องถิ่นอาจสื่อสารไม่ชัดเจน ในบางโอกาสโดย
เฉพาะช่วงเทศกาล มัคคุเทศก์ท้องถิ่นอาจขาดแคลน ดังนั้น ผู้ที่ท�ำ
หน้าที่หัวหน้าทัวร์ต้องท�ำหน้าที่ทั้ง 2 อย่างควบคู่กันไปให้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
	
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้วา หัวหน้าทัวร์กบมัคคุเทศก์
่
ั
ท้องถินเป็นบุคคลทีมความส�ำคัญไม่แพ้กน เพราะทังสองจะต้องช่วยกัน
่
่ี
ั
้
ท�ำให้การเดินทางท่องเที่ยวเป็นไปด้วยความราบรื่น ท�ำให้นักท่องเที่ยว
ลูกทัวร์ได้รับความรู้ สนุกสนาน และถึงแม้ว่ามัคคุเทศก์ท้องถิ่นจะ
ท�ำงานในช่วงระยะเวลาอันสั้นและไม่ได้อยู่กับนักท่องเที่ยวตลอดเวลา
เหมือนหัวหน้าทัวร์แต่มัคคุเทศก์ท้องถิ่นก็ยังคงความส�ำคัญอยู่เพราะ
เป็นคนท้องถินทีมความรูทกเรือง ดังนัน หัวหน้าทัวร์จงจ�ำเป็นต้องอาศัย
่ ่ี
้ ุ ่
้
ึ
มัคคุเทศก์ท้องถิ่นเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลือในทุก ๆ ด้าน หาก
ขาดมัคคุเทศก์ท้องถิ่น หัวหน้าทัวร์ก็ไม่สามารถที่จะให้ข้อมูลได้ครบ
ถ้วน และน�ำนักท่องเที่ยวไปยังสถานท่องเที่ยวที่รับประทานอาหาร
ของที่ระลึก และที่ส�ำคัญในหลายประเทศอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพ
สงวนมีไว้ส�ำหรับคนในประเทศนั้น ๆ หัวหน้าทัวร์ไม่สามารถท�ำหน้าที่
เป็นมัคคุเทศก์ เพราะจะเป็นการท�ำผิดกฎหมายของประเทศนั้น ๆ
	
ส่วนการน�ำเที่ยวแบบภายในประเทศ (Domestic) หรือการน�ำ
นักท่องเที่ยวชาวไทยเที่ยวในประเทศ บุคคลที่ท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์
กับหัวหน้าทัวร์มักเป็นบุคคลคนเดียวกันจะน�ำนักท่องเที่ยวคนไทย
เที่ยวในประเทศ จึงไม่จ�ำเป็นที่จะต้องให้ใครมาท�ำหน้าที่ให้ข้อมูล
10

ความรูใด ๆ อีก เพราะมัคคุเทศก์ไทยย่อมมีความรูดเี กียวกับประเทศไทย
้
้ ่
อยู่แล้ว ยกเว้นต้องเข้าไปเที่ยวในสถานที่ที่เฉพาะ และต้องอาศัยผู้รู้
เฉพาะด้าน หรือต้องเข้าไปในสถานที่ที่ก�ำหนดให้ใช้บริการน�ำเที่ยวจาก
เจ้าหน้าที่ของแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ เท่านั้น เช่น การเข้าไปในพระที่นั่ง
วิมานเมฆ การเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์บางแห่ง และเขตพื้นที่ในบางจุดของ
อุทยานแห่งชาติ
	
จากความหมายเกี่ยวกับมัคคุเทศก์ข้างต้นยังมีค�ำอีกหลายค�ำ
ที่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกับค�ำว่ามัคคุเทศก์ (Guide) แต่
อาจใช้เรียกเป็นชื่อเฉพาะหรือเรียกตามลักษณะของการน�ำเที่ยว อย่าง
เช่น
	
มัคคุเทศก์ในประเทศ (Domestic Guide) คือ ผูทนำคนไทยเทียว
้ ี่ �
่
ในประเทศ หรือเป็นการน�ำเทียวบุคคลทีมถนพ�ำนักถาวรในประเทศไทย
่
่ ี ิ่
เดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของตนเอง

Más contenido relacionado

Más de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Más de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331476

  • 1. หัวหน้าทัวร์กับมัคคุเทศก์ (Tour Leader and Tour Guide) หัวหน้าทัวร์และมัคคุเทศก์เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ส�ำคัญของ การท่องเที่ยว เพราะเป็นบุคคลที่จะน�ำพาและอ�ำนวยความสะดวก ตลอดจนให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวเปรียบเสมือนเป็นทูตและเป็น ตัวแทนของบริษัทท่องเที่ยวหรือบริษัททัวร์ และเป็นตัวแทนประชาชน ในท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนกับ คนในท้องถิน ดังนัน หัวหน้าทัวร์และมัคคุเทศก์จงเป็นบุคคลทีทำหน้าที่ ่ ้ ึ ่ � น�ำนักท่องเที่ยว ลูกทัวร์ไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ โดยมีการแนะน�ำ และให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ รวมไปถึงการ อ�ำนวยความสะดวกและการดูแลความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว ส�ำหรับความเป็นมาของมัคคุเทศก์นนเริมรูจกกันอย่างแพร่หลาย ั้ ่ ้ ั ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมื่อบริษัทโทมัสคุกได้จัดน�ำเที่ยว โดยทางรถไฟในประเทศอังกฤษและขยายการน�ำเที่ยวไปยังประเทศ อื่น ๆ ให้กับคนจ�ำนวนมากจึงต้องมีมัคคุเทศก์คอยดูแลและอ�ำนวย
  • 2. 2 ความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวพร้อมทั้งน�ำชมสถานที่ส�ำคัญ ๆ ตลอด จนมีความรู้และข้อมูลของสถานที่ไว้คอยอธิบายให้แก่นักท่องเที่ยว (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 2549) ส่วนความเป็นมาของมัคคุเทศก์ในประเทศไทยเพิ่งเป็นที่ร้จกกัน ูั อย่างแพร่หลายภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีชาวต่างประเทศ เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก และได้ว่าจ้างผู้ที่มีความ รู้ภาษาต่างประเทศเพื่อท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ กระทั่ง พ.ศ. 2535 ได้ มีพระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ โดยมีกฎข้อบังคับให้ ผู้ที่จะประกอบอาชีพมัคคุเทศก์จะต้องมีใบอนุญาตการเป็นมัคคุเทศก์ และมีความรูตามหลักสูตรทีสำนักพัฒนาการท่องเทียวภายใต้กระทรวง ้ ่� ่ การท่องเที่ยวและกีฬาก�ำหนด และมัคคุเทศก์ทุกคนจะต้องติดบัตร มัคคุเทศก์ในเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่
  • 3. 3 มัคคุเทศก์นับเป็นอาชีพสงวนที่ส�ำคัญ ซึ่งมีไว้ส�ำหรับผู้ประกอบ อาชีพชาวไทยที่จะต้องมีคุณสมบัติ มีความรู้และความสามารถ รวม ไปถึงต้องศึกษาในวิชาชีพนี้มาโดยตรง หรือผ่านกระบวนการอบรม ทดสอบ เลือกสรรกลั่นกรอง จนได้วุฒิบัตรใบประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ เพราะมัคคุเทศก์เป็นผู้มีความส�ำคัญต่อประเทศชาติ เป็นผู้เผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงาม ความเป็นเอกลักษณ์ของแหล่ง ท่องเที่ยวและสร้างสรรค์ประเทศชาติ ท�ำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ ใหม่ ๆ รวมไปถึงประสบการณ์ ความสนุกสนานเพลิดเพลินตามวัตถุ ประสงค์ในการเดินทางท่องเทียวในแต่ละครัง มัคคุเทศก์จะมีสวนท�ำให้ ่ ้ ่ นักท่องเทียวประทับใจในสถานทีทองเทียวและกล่าวถึงสิงอันดีงามและ ่ ่ ่ ่ ่ ส่งผลต่อภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ มัคคุเทศก์ (Guide) ค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ได้มีค�ำจ�ำกัดความไว้หลากหลาย ในที่นี้จะ พิจารณาความหมายของค�ำว่ามัคคุเทศก์ไว้ 2 ลักษณะ คือ ความหมาย ตามศัพท์ และความหมายตามกฎหมาย ดังนี้ ความหมายของค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ตามศัพท์ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า มัคคุเทศก์ หมายถึง ผู้น�ำทาง ผู้ชี้ทาง ผู้บอกทาง ผู้น�ำเที่ยว ความหมายตามศั พ ท์ ข องค� ำ ว่ า “มั ค คุ เ ทศก์ ” ในเชิ ง ภาษา มัคคุเทศก์มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีว่า มคฺค + อุทฺเทสก แปลว่า ผู้น�ำทาง ผู้อธิบายทาง (มคฺค = ทาง, อุทฺเทสก = ผู้น�ำ ผู้อธิบาย) และ ตามความหมายที่คนส่วนใหญ่เข้าใจนั้น มัคคุเทศก์จะหมายถึงผู้ที่ท�ำ
  • 4. 4 หน้าที่น�ำผู้อื่นไปยังสถานที่ต่าง ๆ และให้ค�ำอธิบายแนะน�ำเกี่ยวกับ สถานที่นั้น ๆ ส่วนความหมายของค�ำว่า “มัคคุเทศก์” ในเชิงกฎหมายตาม ความในพระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 มาตราที่ 4 ได้กล่าวไว้ว่า มัคคุเทศก์ หมายถึง ผู้ให้บริการเป็นปกติ ธุระในการน�ำนักท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่าง ๆ โดยให้บริการเกี่ยวกับ ค�ำแนะน�ำและความรู้ด้านต่าง ๆ แก่นักท่องเที่ยว จากความหมายข้างต้นที่กล่าวมา มัคคุเทศก์มีงานส�ำคัญ 2 ประการ คือ การน�ำนักท่องเที่ยวและการให้ความรู้โดยการอธิบายน�ำ ชมสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งแต่ละประเทศจะมีข้อก�ำหนดตามกฎหมายให้ อาชีพมัคคุเทศก์ เป็นอาชีพสงวนส�ำหรับบุคคลที่มีสัญชาติของประเทศ นั้น ๆ จึงจะประกอบอาชีพได้ (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.),
  • 5. 5 2551) ส่วนค�ำในภาษาอังกฤษ มัคคุเทศก์ มีความหมายตรงกับค�ำว่า Guide หรือ Tour Guide หรือ Tourist Guide แต่โดยปกติแล้วทั้ง 3 ค�ำ หมายถึง มัคคุเทศก์ที่ท�ำหน้าที่น�ำชมสถานที่ต่าง ๆ ส่วน Courier และ Tour Leader จะใช้กับหัวหน้าทัวร์ที่คอย อ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวในด้านการเดินทาง การจัดท�ำ บัตรที่นั่ง การจัดห้องพัก การอ�ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับเอกสาร พิธีการตรวจคนเข้าเมือง ส่วนหัวหน้าทัวร์ที่น�ำนักท่องเที่ยวไปบาง ประเทศ เช่น ประเทศแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย จะต้อง ท�ำหน้าที่มัคคุเทศก์รวมไปถึงอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวด้าน การพักแรม ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการเดินทาง และด้าน อื่น ๆ หัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) ค�ำว่า “หัวหน้าทัวร์” “ผู้น�ำเที่ยว” ในพระราชบัญญัติธุรกิจ น�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 มาตราที่ 4 ได้ระบุความหมายของ ค�ำว่า ผู้น�ำเที่ยว แยกต่างหากอย่างชัดเจน โดยผู้น�ำเที่ยวหมายถึงผู้รับ ผิดชอบในการดูแล และอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวในการ เดินทางไปท่องเที่ยวในต่างประเทศ ส่วนหัวหน้าทัวร์เป็นภาษาพูดที่ เรียกผู้น�ำเที่ยวนั่นเอง และมัคคุเทศก์กับผู้น�ำเที่ยวจึงไม่ใช่บุคคลคน เดียวกันหากแต่จะท�ำหน้าที่คล้าย ๆ กัน คือ มัคคุเทศก์จะท�ำหน้าที่ บรรยายให้ความรู้ และน�ำเที่ยวในประเทศ ส่วนหัวหน้าทัวร์หรือผู้น�ำ เทียวจะท�ำหน้าทีอำนวยความสะดวก และน�ำนักท่องเทียวไปท่องเทียว ่ ่� ่ ่
  • 6. 6 ยังต่างถิ่นหรือต่างประเทศ ดังนั้น จากความหมายข้างต้นผู้ที่ท�ำหน้าที่น�ำนักท่องเที่ยวไปยัง ที่ ต่าง ๆ โดยไม่ได้ให้ความรู้ จึงยังไม่สามารถเรียกว่ามัคคุเทศก์ได้ เช่น ผู้รับส่งนักท่องเที่ยวจากท่าอากาศยานไปยังโรงแรมอย่างเดียวเราเรียก บุคคลผูนวา “ผูรบ-ส่งนักท่องเทียว” (Transfer Personal) แต่ทำหน้าที่ ้ ี้ ่ ้ ั ่ � ให้ข้อมูลความรู้ในระหว่างการรับส่งนักท่องเที่ยวไปพร้อมกันนั้น ก็ สามารถเรียกได้ว่า “มัคคุเทศก์ระหว่างรับ-ส่ง” (Transfer Guide) ในบางครั้งเราก็ควรแยกความหมายและหน้าที่ระหว่างมัคคุเทศก์ (Guide) กับหัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) ออกจากกันให้ชัดเจน เนื่องมาจากในหลายประเทศมีกฎหมายก�ำหนดให้ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็น มัคคุเทศก์ต้องเป็นคนสัญชาติของตนเท่านั้น เช่นเดียวกับประเทศไทย ซึ่งถ้าใช้ค�ำ 2 ค�ำนี้มาปะปนกันอาจจะท�ำให้เกิดความสับสนได้ เนื่อง
  • 7. 7 จากมัคคุเทศก์มักเป็นคนท้องถิ่นหรือคนที่มีสัญชาติในประเทศนั้น ๆ สามารถพูดภาษาของนักท่องเที่ยวหรือสื่อสารกับนักท่องเที่ยวได้เข้าใจ เป็นบุคคลที่สามารถบรรยายเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่นไม่ว่าจะ เป็นประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต โบราณสถาน โบราณ วัตถุ  แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ งานของมัคคุเทศก์จะจ�ำกัดอยู่ใน ขอบเขตการให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ส่วนหัวหน้าทัวร์จะเป็นผู้น�ำกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่เรียกกันโดยรวมว่า “ลูกทัวร์” หัวหน้าทัวร์จะท�ำหน้าที่ รับผิดชอบการเดินทางของนักท่องเที่ยวลูกทัวร์ตั้งแต่เริมต้นทีสนามบิน ่ ่ ต้นทางจนเดินทางกลับถึงสนามบิน เดิมงานเอกสารที่เกี่ยวการเดินทาง ทั้งหมด ได้แก่ ใบตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) (Immigration Form) ใบ ส�ำแดงสินค้า (Custom Declare) บัญชีรายชื่อจัดห้องพัก (Rooming List) และเป็นผู้ประสานงานกับมัคคุเทศก์ท้องถิ่น (Local Guide) ต้อง รับผิดชอบงานเกือบตลอด 24 ชั่วโมง (ฉันทัช วรรณถนอม, 2551) ความแตกต่างระหว่างมัคคุเทศก์กับหัวหน้าทัวร์ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนจึงขอยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นหน้าที่และ ความแตกต่างระหว่างมัคคุเทศก์กับหัวหน้าทัวร์ในการจัดน�ำกลุ่มนัก ท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวต่างประเทศที่เรียกว่าการท่องเที่ยวแบบ Outbound สมมุติว่าน�ำนักท่องเที่ยวไปประเทศเวียดนาม ผู้ที่จะท�ำหน้าที่ เป็นหัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) คือ ผูทเี่ ป็นตัวแทนของบริษทท่องเทียว ้ ั ่ ที่เป็นคนไทยน�ำนักท่องเที่ยวชาวไทยไปยังประเทศเวียดนาม เมื่อเดิน ทางถึงประเทศเวียดนาม ผู้ที่จะท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ (Guide) คือ ตัวแทนของบริษัทน�ำเที่ยวของประเทศเวียดนาม ซึ่งก็คือ มัคคุเทศก์
  • 8. 8 คนเวียดนามที่สามารถพูดภาษาไทยได้ และมีบัตรมัคคุเทศก์ในการ น�ำเที่ยวที่รัฐบาลเวียดนามให้การรับรอง หรือที่เราเรียกว่า มัคคุเทศก์ ท้องถิ่น (Local Guide) มัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่น�ำเที่ยวชาวไทยในประเทศเวียดนามนี้โดย มากสามารถพูดสื่อหรืออธิบายเป็นภาษาไทยได้  เนื่องจากอาจเป็น คนไทยที่ไปประกอบวิชาชีพหรือมีครอบครัวกับชาวเวียดนาม หรือ อาจเป็นคนสัญชาติเวียดนามที่ฝึกพูดภาษาไทยเพื่อประกอบวิชาชีพ การน�ำเที่ยวโดยเฉพาะ หัวหน้าทัวร์ (Tour Leader) ถึงแม้จะมีหน้าที่หลักในการอ�ำนวย ความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ แต่ก็ควรมีความรู้เกี่ยวกับ ประเทศที่ไปเยือนด้วยเพื่อที่จะได้อธิบายให้นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ได้รับ ทราบข้อมูลต่าง ๆ ขณะเดินทางท่องเที่ยว เพราะในบางประเทศ
  • 9. 9 ระหว่างการเดินทาง บางช่วงจะไม่มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นไปด้วย นอกจาก นี้หัวหน้าทัวร์อาจท�ำหน้าที่ในการแปลความจากมัคคุเทศก์ท้องถิ่น (Local Guide) ให้นักท่องเที่ยวลูกทัวร์ได้เข้ าใจมากขึ้น เนื่องจาก บางครั้งมัคคุเทศก์ท้องถิ่นอาจสื่อสารไม่ชัดเจน ในบางโอกาสโดย เฉพาะช่วงเทศกาล มัคคุเทศก์ท้องถิ่นอาจขาดแคลน ดังนั้น ผู้ที่ท�ำ หน้าที่หัวหน้าทัวร์ต้องท�ำหน้าที่ทั้ง 2 อย่างควบคู่กันไปให้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้วา หัวหน้าทัวร์กบมัคคุเทศก์ ่ ั ท้องถินเป็นบุคคลทีมความส�ำคัญไม่แพ้กน เพราะทังสองจะต้องช่วยกัน ่ ่ี ั ้ ท�ำให้การเดินทางท่องเที่ยวเป็นไปด้วยความราบรื่น ท�ำให้นักท่องเที่ยว ลูกทัวร์ได้รับความรู้ สนุกสนาน และถึงแม้ว่ามัคคุเทศก์ท้องถิ่นจะ ท�ำงานในช่วงระยะเวลาอันสั้นและไม่ได้อยู่กับนักท่องเที่ยวตลอดเวลา เหมือนหัวหน้าทัวร์แต่มัคคุเทศก์ท้องถิ่นก็ยังคงความส�ำคัญอยู่เพราะ เป็นคนท้องถินทีมความรูทกเรือง ดังนัน หัวหน้าทัวร์จงจ�ำเป็นต้องอาศัย ่ ่ี ้ ุ ่ ้ ึ มัคคุเทศก์ท้องถิ่นเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลือในทุก ๆ ด้าน หาก ขาดมัคคุเทศก์ท้องถิ่น หัวหน้าทัวร์ก็ไม่สามารถที่จะให้ข้อมูลได้ครบ ถ้วน และน�ำนักท่องเที่ยวไปยังสถานท่องเที่ยวที่รับประทานอาหาร ของที่ระลึก และที่ส�ำคัญในหลายประเทศอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพ สงวนมีไว้ส�ำหรับคนในประเทศนั้น ๆ หัวหน้าทัวร์ไม่สามารถท�ำหน้าที่ เป็นมัคคุเทศก์ เพราะจะเป็นการท�ำผิดกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ส่วนการน�ำเที่ยวแบบภายในประเทศ (Domestic) หรือการน�ำ นักท่องเที่ยวชาวไทยเที่ยวในประเทศ บุคคลที่ท�ำหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ กับหัวหน้าทัวร์มักเป็นบุคคลคนเดียวกันจะน�ำนักท่องเที่ยวคนไทย เที่ยวในประเทศ จึงไม่จ�ำเป็นที่จะต้องให้ใครมาท�ำหน้าที่ให้ข้อมูล
  • 10. 10 ความรูใด ๆ อีก เพราะมัคคุเทศก์ไทยย่อมมีความรูดเี กียวกับประเทศไทย ้ ้ ่ อยู่แล้ว ยกเว้นต้องเข้าไปเที่ยวในสถานที่ที่เฉพาะ และต้องอาศัยผู้รู้ เฉพาะด้าน หรือต้องเข้าไปในสถานที่ที่ก�ำหนดให้ใช้บริการน�ำเที่ยวจาก เจ้าหน้าที่ของแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ เท่านั้น เช่น การเข้าไปในพระที่นั่ง วิมานเมฆ การเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์บางแห่ง และเขตพื้นที่ในบางจุดของ อุทยานแห่งชาติ จากความหมายเกี่ยวกับมัคคุเทศก์ข้างต้นยังมีค�ำอีกหลายค�ำ ที่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกับค�ำว่ามัคคุเทศก์ (Guide) แต่ อาจใช้เรียกเป็นชื่อเฉพาะหรือเรียกตามลักษณะของการน�ำเที่ยว อย่าง เช่น มัคคุเทศก์ในประเทศ (Domestic Guide) คือ ผูทนำคนไทยเทียว ้ ี่ � ่ ในประเทศ หรือเป็นการน�ำเทียวบุคคลทีมถนพ�ำนักถาวรในประเทศไทย ่ ่ ี ิ่ เดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของตนเอง