SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
องคการและการจัดการองคการ
๑.๑ บทนํา
การติดตอกับหนวยงาน เชน สถาบันการเงิน บริษัทจําหนายสินคา
ในประเทศ โรงพยาบาล หรือการสํารองที่นั่งในเที่ยวบินตาง ๆ กับสาย
การบิน ทําใหเราเห็นอยางหนึ่งวาหนวยงานเหลานี้ดําเนินงานอยางเปน
ระบบและจัดเปนองคการประเภทหนึง ในการบริหารงานขององคการให
่
ราบรื่ น จํ า เป น ต อ งอาศั ย การจั ด การภายในและการสื่ อ สารกั บ กลุ  ม
เปาหมายภายนอกองคการ ในบทนี้ขอกลาวถึงความหมายขององคการ
ลักษณะขององคการ ประเภทขององคการ และการจัดการองคการซึ่ง
เปนเรื่องของภายในองคการ

๑.๒ ความหมายขององคการ
ในศตวรรษที่ ๑๙ กอนจะมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial
revolution) สินคาสวนใหญผลิตโดยกลุมบุคคลขนาดเล็กหรือเปน
ผลผลิตจากรายบุคคล ครอบครัว กระบวนการผลิตสินคาอาศัยแรงงาน
ที่มีฝมือและผลิตสินคาตั้งแตเริ่มตนจนจบ การผลิตหรือดําเนินกิจการ
ลักษณะนี้สะทอนใหเห็นรูปแบบขององคการซึ่งตางจากองคการที่เปน
แหลงผลิตสินคาในปจจุบันมาก (Miller, 2009: 18) กลาวอีกนัยหนึ่ง
ก็ คื อ การผลิ ต ในอดี ต เกี่ ย วข อ งกั บ ความเป น องค ก ารน อ ยหรื อ เป น
กระบวนการผลิตซึ่งใชความรูดานองคการนอย
เมื่อการผลิตเปลี่ ยนจากเพื่อยังชีพไปสู การค าทํ าให ต องอาศั ย
เทคโนโลยี สงผลตอขนาดขององคการการผลิต องคการตองปรับเปลี่ยน
และเกิดองคการที่มีความพรอมตอการผลิต
องค ก ารที่ มี ค วามสมบู ร ณ พ ร อ มควรมี ลั ก ษณะอย า งไร ใน
สวนนี้ขอกลาวถึงความหมายขององคการ ธงชัย สันติวงษ (๒๕๔๑ : ๑)
กลาววาองคการคือหนวยทางสังคมที่รูจักกันและมีการประสานเขาดวย
กั น เป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย ว พร อ มกั บ การมี ข อบเขตซึ่ ง สามารถแยกชั ด
เปนเอกเทศได โดยในเวลาเดียวกันก็จะมีหนาที่หรือประกอบกิจกรรม
อยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนงานที่ทําอยางตอเนื่องโดยมีจุดมุงหมายเพื่อ
ใหบรรลุเปาหมายหรือชุดของเปาหมายรวมกัน
นักวิชาการตางประเทศ เชน Papa, Daniels and Spiker (2008:
1-2) กลาววา องคการคือรูปแบบของความพยายามของมนุษยที่มี
ความละเอียดและซับซอน องคการไมไดทําหนาที่เพียงกลไกซึ่งทําให
การกระทําหรือการปฏิบัติชัดเจนและเกิดความรวมมือประสานงานกัน
เทานั้น แตยังเปนพื้นที่ที่ทําใหเกิดความขัดแยงและสับสนดวย

๑.๓ ลักษณะขององคการ
หนวยงานหรือสถานที่ใดจะจัดเปนองคการไดควรมีองคประกอบ
หลายอยาง เสนาะ ติเยาว (๒๕๓๘: ๑๗-๑๙) กลาววา องคการประเภท
ตาง ๆ ตองมีองคประกอบ ๕ ประการดังนี้

๒
๑.๓.๑ โครงสราง
โครงสรางขององคการเปนตัวกําหนดความสัมพันธของบุคคล
ในองคการ ทําใหทราบวาพนักงานคนหนึ่งอยูใตบังคับบัญชาของใคร
โครงสรางองคการกําหนดหนาที่ของแตละคน ความสัมพันธของคน
ในองคการ เมื่อคนในองคการตองมีความสัมพันธกัน องคการจึงตองมี
กฎระเบียบเพื่อควบคุมใหความสัมพันธนั้นเกิดขึ้นในทิศทางที่องคการ
ตองการ
องคการแตละแหงอาจกําหนดความสัมพันธในรูปแบบตางกัน เชน
องคการหนึ่งอาจมีความสัมพันธเรียบงาย ในขณะที่องคการขนาดใหญ
บางแหงทีมพนักงานจํานวนมากอาจกําหนดโครงสรางองคการในลักษณะ
่ี
ซับซอน
กลาวโดยสรุป โครงสรางขององคการระบุความสัมพันธซึ่ง ทําให
เห็นวาพนักงานในองคการมีหนาที่อะไรและตองปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ
ใคร ความสําคัญของโครงสรางองคการคือเปนตัวกําหนดใหองคการดําเนิน
ไปในทิศทางที่องคการตองการ
๑.๓.๒ วัตถุประสงค
องคการตองกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน พนักงานใน
องคการจําเปนตองรูวาหนวยงานที่ตนสังกัดมีวัตถุประสงคอยางไร เพื่อ
จะไดทราบวาเขาควรปฏิบตงานอยางไรจนมีสวนผลักดันใหองคการบรรลุ
ัิ

ตามวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ ง ไว เช น องค ก ารมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เป น ผู  นํ า
การสงออกสินคาเครื่องนุงหมหรือการผลิตนวัตกรรมการสื่อสาร
๑.๓.๓ การแบงงานและหนาที่
องคการตองมีการแบงงานเพื่อใหหนวยตาง ๆ ขององคการปฏิบัติ
งานกันอยางสมดุล ไมใหหนวยใดหนวยหนึ่งปฏิบัติงานมากเกินไปหรือ
๓
นอยเกินไป การแบงงานและหนาที่มี ๒ อยาง คือ การแบงงานใน
แนวดิ่งและการแบงงานในแนวนอน
การแบงงานในแนวดิ่ง เปนการแบงงานใหเห็นถึงระดับสายงาน
การบังคับบัญชา ทําใหทราบวาใครตองทํางานอะไร ใครรับผิดชอบงานใด
และใครตองปฏิบัติงานดวยการขึ้นตรงตอใครหรือรับคําสั่งจากใคร
การแบ ง งานในแนวนอน เป น การแบ ง งานตามความถนั ด
ของแตละคน การแบงงานลักษณะนี้ทําใหแตละคนมีหนาที่นอยแต
ปริมาณงานมาก เชน พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมบางคนมีความถนัด
ในการออกแบบเสื้อ พนักงานคนนั้นก็จะออกแบบเสื้ออยางเดียว ไม
ทําหนาที่อื่นแตตองออกแบบเสื้อหลายอยางและทํางานใหกับลูกคา
หลายคน
๑.๓.๔ ความเปนพลวัต
คําวาพลวัตมีความหมายวา การเปลียนแปลง ประเด็นนีหมายความ
่
้
วาองคการมีการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงขององคการมีสาเหตุดังนี้
การขยายกิจการหรือการเติบโต หมายความวา ขอบเขตหนาทีของ
่
องคการขยายหรือองคการเติบโต เมือองคการเติบโต ทุกอยางในองคการ
่
และภารกิจขององคการตองขยายตัว บางองคการมีรายไดและกําไรมาก
จนตองขยายกิจการเติบโตขึ้นเปนเงาตามตัว เชน บริษัทซึ่งเคยผลิตแต
อาหารประเภทนมเนย ปจจุบนอาจขยายกิจการดวยการเปดโรงเรียนสอน
ั
ทําขนมอบ เชน ขนมปง ขนมเคก และขนมไทยอื่น ๆ
กิจการถดถอย หมายถึง องคการหดตัวลงหรือกิจการไมเจริญเพราะ
ขาดทุน เชน สายการบินบางแหงตองปดตัวลงเนื่องจากราคานํ้ามัน
เชื้อเพลิงสูง มีผูโดยสารสนใจใชบริการนอย และในขณะเดียวกันองคการ
๔
มีพนักงานจํานวนมากจึงทําใหรายไดนอยกวารายจาย สายการบินนี้
จึงตองเลิกใหบริการและปดกิจการ
การปรับตัว หมายถึง การทําใหองคการกาวทันกับสภาวการณ
ปจจุบันหรือโลกภายนอก เชน การปรับเปลี่ยนเรื่องการใชเทคโนโลยี
การนํานวัตกรรม (innovation) มาใชในองคการ ผูบริหารตองจัดอบรม
พนักงานเพื่อเตรียมพรอมพนักงานใหเขาใจการเปลี่ยนแปลงของระบบ
สาเหตุ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให อ งค ก ารป จ จุ บั น ต อ งเปลี่ ย นแปลงคื อ
ความก า วหน า ด า นเทคโนโลยี การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ หรื อ
การเมือง
๑.๓.๕ ขอมูล
ในองคการตองมีขอมูลและใชประโยชนจากขอมูล เชน พนักงานใน

ฝายตาง ๆ ขององคการตองแลกเปลี่ยนขอมูลเพื่อใหการดําเนินงาน
เกิดขึนอยางราบรืน เชน ฝายการตลาดตองใหขอมูลกับฝายประชาสัมพันธ
้
่

เพื่อนําไปเขียนลงในขาวแจกใหแกสื่อมวลชนที่รวมงานแถลงขาวและ
เผยแพรตอไป
นอกจากนี้องคการยังตองอาศัยขอมูลจากภายนอกดวย เช น
บริษัทสงออกสินคาไปยังประเทศในแถบยุโรปควรทราบขอมูลเกี่ยวกับ
การสงออกไมวาจะเปนกฎระเบียบเกียวกับคุณภาพสินคา วิธการสงสินคา

่
ี
และวิธีการชําระเงิน องคการจึงตองขอขอมูลจากหนวยงานภายนอก
เชน กระทรวงพาณิชยหรือกระทรวงอุตสาหกรรม

๑.๔ ประเภทขององคการ
ในการแบงประเภทขององคการ เราสามารถใชเกณฑไดหลายอยาง
ในสาขาสังคมวิทยาแบงองคการออกเปน ๓ อยาง แตในหนังสือเลมนี้
๕
ยึดเกณฑการแบงตามแนวคิดของเลวิส (Lewis, 1980: 4-6) ซึ่งแบง
องคการออกเปน ๒ ประเภทหลัก คือ องคการทางการและองคการไมเปน
ทางการ
๑.๔.๑ องคการทางการ
องคการทางการ (formal organization) หรือที่บางคนเรียกวา
องคการรูปนัย มีใหเห็นอยูหลายแหงในประเทศไทย เปนองคการซึ่งมี
โครงสรางองคการ มีระบบการบริหารและสายงานบังคับบัญชาชัดเจน
เปนตนวาในองคการเอกชน มีผูอํานวยการเปนผูบริหารสูงสุด รองลงมา
เปนผูชวยผูอํานวยการ ผูจัดการฝายตาง ๆ เชน ฝายการตลาด ฝายลูกคา
สัมพันธ ฝายตางประเทศ ฝายบัญชีและการเงิน และฝายทรัพยากรบุคคล
ดังปรากฏตามภาพที่ ๑.๑
ผูอํานวยการ
ผูชวยผูอานวยการ
 ํ

ฝายการตลาด ฝายลูกคาสัมพันธ ฝายตางประเทศ ฝายบัญชีและ
การเงิน

ภาพที่ ๑.๑ โครงสรางองคการทางการ

๖

ฝายทรัพยากร
บุคคล
เลวิส (Lewis, 1980: 4) ยืนยันวา ผูจดการ (manager) ขององคการ
ั
ชอบองคการทางการมาก เพราะสามารถควบคุมไดเนื่องจากมีระบบการ
บริหารและการบังคับบัญชารองรับ การประพฤติตนหรือปฏิบตงานไมเปน
ัิ
ไปตามความคาดหวังขององคการยอมไดรับการตําหนิหรือโทษ
การใหคณและใหโทษแกพนักงานในองคการทางการนีถอวาเปนสิง
ุ
้ื
่
สําคัญ พนักงานสวนใหญซึ่งปฏิบัติงานในองคการประเภทนี้ทราบกันดี
เชน พนักงานฝายการตลาดจะไดรบเงินพิเศษเมือเขาขายสินคาใหองคการ
ั
่
ไดตามเปาหมายหรือสามารถเพิ่มจํานวนลูกคาของบัตรเครดิตไดตาม
เงื่อนไขขององคการ
๑.๔.๒ องคการไมเปนทางการ
องค ก ารไม เ ป น ทางการ (informal organization) มั ก เป น
ส ว นหนึ่ ง ขององค ก ารที่ เ ป น ทางการ ตั ว อย า ง พนั ก งานในโรงงาน
อุตสาหกรรม ซึ่งเปนองคการทางการอาจไมไดปฏิบัติงานและสื่อสารกัน
ตามสายงานการบังคับบัญชาเทานั้น แตยังสื่อสารกันในกลุมและรวม
กลุมกันเพื่อดําเนินกิจกรรมบางอยางรวมกัน เชน ซื้ออาหาร ทํากับขาว
ไปตลาด เลนกีฬา นัดไปชมภาพยนตรในวันหยุดหรือคุยเรื่องของละคร
โทรทัศนซงชมรวมกันในคืนทีผานมา การรวมกลุมเชนนีทาใหเกิดองคการ
ึ่
่

้ ํ
ไมเปนทางการ
การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกันทําใหกลุมมีลกษณะเปนองคการ
 ั
ขนาดเล็กและมีโครงสรางไมเปนทางการ บางคนเรียกองคการลักษณะนี้
วา องคการอรูปนัย
พยอม วงศสารศรี (๒๕๓๘ : ๑๗-๑๘) กลาววา องคการประเภทนี้
อาจเรียกวาองคการไรรูปแบบ เพราะไมมีโครงสราง ไมมีการกําหนดกฎ
ระเบียบ กฎเกณฑหรือขอบังคับอยางเปนเรืองเปนราว ปราศจากการแบง
่
๗
หนาที่การทํางานอยางชัดเจน ไมมีสายงานการสั่งการหรือบังคับบัญชา
คนที่มารวมกันในองคการไรรูปแบบนี้มาดวยความสนใจ สมัครใจและมุง
หวังผลประโยชนบางอยาง บางครั้งหลายคนมารวมเพราะเกิดจากความ
พอใจ ความศรัทธาตอสมาชิกในกลุม เชน ผูนํา ผูมีความคิดเห็นนาสนใจ
องคการประเภทนี้ไมมีหลักการ อาจมีขั้นตอนการทํางานแตไมเขมงวด
องคการประเภทนี้ใหความสําคัญเรื่องของความสัมพันธ

๑.๕ การจัดการองคการ
องคการจะดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ไดดวยการจัดการ การจัดการ
หมายถึง การทําใหเรื่องใดเรื่องหนึ่งสําเร็จตามที่คาดหวังหรือการปฏิบัติ
หรือกระทําตอกิจกรรม บุคคล เหตุการณ สถานที่หรือสิ่งของเพื่อให
สิ่งเหลานี้เกิดผลตามที่วางแผนไว
เมื่อพิจารณาคําวาการจัดการแลว การจัดการองคการจึงหมายถึง
การทําใหบุคคลซึ่งอยูในที่ทํางานปฏิบัติงานตามหนาที่ของตน และ
ประสานงานกันเพื่อใหองคการบรรลุวัตถุประสงค การจัดการองคการ
เกิดขึ้นเพราะการกําหนดหนาที่ตาง ๆ ภายในองคการตามโครงสราง
การจัดการ การจัดคนเขาทํางาน การสั่งการและการควบคุม
๑.๕.๑ โครงสรางขององคการ
สมยศ นาวีการ (๒๕๔๔ : ๘) กลาววา “โครงสรางแสดงให
เห็นถึงความสัมพันธอยางมีเหตุผลระหวางหนาที่ตาง ๆ ในองคการ”
เราจะทราบโครงสร า งขององค ก ารจากผั ง แสดงโครงสร า งองค ก าร
(organisation chart)
โครงสรางขององคการทําใหสมาชิกในองคการและกลุมตาง ๆ
นอกองคการทราบสายงานการบังคับบัญชา การสื่อสารในองคการ
และนอกองคการเปนตนวามีฝายใดในองคการที่ติดตอกับหนวยงาน
๘
ภายนอก เชน ฝายตางประเทศตองติดตอกับหนวยงานอืนในตางประเทศ
่
หรือฝายประชาสัมพันธตองสรางความสัมพันธกับสื่อมวลชน
โครงสรางองคการมีหนาที่สําคัญคือเปนแนวทางใหคนในองคการ
ปฏิบัติงานดังที่ผูเขียนกลาวไวในเรื่องลักษณะขององคการ
๑.๕.๒ การจัดการ
องคการจะประสบความสําเร็จไดจําเปนตองอาศัยกระบวนการ
จัดการที่ดี เชน การวางแผนและตัดสินใจดวยการกลั่นกรองจากฝาย
ตาง ๆ ทีเกียวของ การกลันกรองทําใหเรืองตาง ๆ ผานการพิจารณาอยาง
่ ่
่
่
รอบคอบ มีการคํานึงถึงผลกระทบ ผลไดและผลเสียที่จะเกิดขึ้น
การจั ด การเป น เทคนิ ค ที่ พั ฒ นาคนในองค ก ารให มี จิ ต สํ า นึ ก
รวมกันในการปฏิบัติงานและเกิดความรูสึกที่ดีตอองคการ องคการควร
สรางขวัญและกําลังใจใหแกพนักงานเพื่อใหเขารูสึกวามีความมั่นคง
เมื่อรูสึกเชนนี้ เขาก็จะมีความตั้งใจและมีความตองการชวยเหลือองคการ
องคการตองอาศัยการจัดการเพื่อกําหนดขอบเขตการทํางาน เชน
ทําใหแตละคนรูวาเขามีภารกิจอะไร สิ่งใดเปนงานของเขาและสิ่งใดมิได
อยูในความดูแลของเขา ขจัดการทํางานซํ้าซอนทําใหงานดําเนินไปอยาง
รวดเร็ว
๑.๕.๓ การจัดคนเขาทํางาน
องคการตองวิเคราะหงานเพื่อจะไดสรรหาบุคลากรไดตรงกับ
ลักษณะงาน สรรหาคนเพื่อเขาทํางานโดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ความรูวา
ตรงกับงานหรือไม นอกจากนี้ยังพิจารณาจากบุคลิกภาพ ความสนใจ
ความตั้งใจในการทํางาน และความเหมาะสมกับคาตอบแทนที่องคการ
กําหนดไว
๙
หลั ง จากที่ อ งค ก ารคั ด เลื อ กบุ ค ลากรแล ว ก็ จ ะปฐมนิ เ ทศให
พนักงานเขาใจในองคการ เชน โครงสรางองคการ กฎระเบียบและขอหาม
ตาง ๆ ที่องคการกําหนดขึ้น
ที่กลาวมาคือขั้นตอนอยางคราวของการจัดหาคนเขาทํางาน ซึ่งมี
ความสําคัญเพราะคนเหลานีมผลตอการเติบโตขององคการ หากองคการ
้ี
รับพนักงานที่ไมเหมาะสมกับองคการ เชน พนักงานมีความรูไมตรงกับ
ลักษณะงาน ก็จะทําใหการทํางานไมราบรื่น มีความผิดพลาด พนักงาน
เกิดความเบื่อหนาย ไมอยากทํางาน ขาดขวัญและกําลังใจในการทํางาน
องคการก็ไดรบผลกระทบ เชน ตองใชงบประมาณในการอบรมใหพนักงาน
ั
ที่รับเขามาสามารถทํางานไดคุมกับคาตอบแทน ทําใหองคการเสียเงิน
และเวลา นอกจากนี้องคการยังไมสามารถเลิกจางพนักงานที่มีคุณสมบัติ
ไมตรงไดอยางงายดาย เพราะการเลิกจางเกี่ยวของกับการจายคาชดเชย
และอาจเกิดการฟองรอง มีผลทางกฎหมาย
๑.๕.๔ การสั่งการและการควบคุม
เมื่อองคการเปนสถานที่ที่มีคนหลายประเภท มีระดับการศึกษา
ความรูและความคิดตางกัน องคการจึงตองมีการจัดการดวยการสั่งการ
และการควบคุม
การสั่งการเปนการใชอํานาจตามที่องคการกําหนด การสั่งการมัก
เกิดขึ้นจากผูมีประสบการณและมีอํานาจมากไปยังผูใตบังคับบัญชา
ที่มีความรูหรือประสบการณนอยกวา
การควบคุ ม เป น กลไกในการจั ด การองค ก าร กล า วคื อ เป น
การวัดและการแกไขการปฏิบัติงานของคนในองคการ หากองคการ
ขาดการควบคุมจะเกิดอะไรขึ้น พนักงานบางคนอาจจะเขาทํางานสาย
ดังนั้น การควบคุมจึงเปนตัวกําหนดและวัดความตรงตอเวลาและระยะ
เวลาการทํางานของพนักงานวาครบตามที่องคการกําหนดหรือไม
๑๐

Más contenido relacionado

Similar a 9789740331841

Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริตรายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริตWatcharasak Chantong
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดfreelance
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
Supply Chain Visibility
Supply Chain VisibilitySupply Chain Visibility
Supply Chain VisibilityM-Focus
 
บทที่ 15 การจัดการร
บทที่ 15 การจัดการรบทที่ 15 การจัดการร
บทที่ 15 การจัดการรPrapaporn Boonplord
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 

Similar a 9789740331841 (20)

Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริตรายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Group5
Group5Group5
Group5
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Supply Chain Visibility
Supply Chain VisibilitySupply Chain Visibility
Supply Chain Visibility
 
บทที่ 15 การจัดการร
บทที่ 15 การจัดการรบทที่ 15 การจัดการร
บทที่ 15 การจัดการร
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 

Más de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Más de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331841

  • 1. องคการและการจัดการองคการ ๑.๑ บทนํา การติดตอกับหนวยงาน เชน สถาบันการเงิน บริษัทจําหนายสินคา ในประเทศ โรงพยาบาล หรือการสํารองที่นั่งในเที่ยวบินตาง ๆ กับสาย การบิน ทําใหเราเห็นอยางหนึ่งวาหนวยงานเหลานี้ดําเนินงานอยางเปน ระบบและจัดเปนองคการประเภทหนึง ในการบริหารงานขององคการให ่ ราบรื่ น จํ า เป น ต อ งอาศั ย การจั ด การภายในและการสื่ อ สารกั บ กลุ  ม เปาหมายภายนอกองคการ ในบทนี้ขอกลาวถึงความหมายขององคการ ลักษณะขององคการ ประเภทขององคการ และการจัดการองคการซึ่ง เปนเรื่องของภายในองคการ ๑.๒ ความหมายขององคการ ในศตวรรษที่ ๑๙ กอนจะมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial revolution) สินคาสวนใหญผลิตโดยกลุมบุคคลขนาดเล็กหรือเปน ผลผลิตจากรายบุคคล ครอบครัว กระบวนการผลิตสินคาอาศัยแรงงาน ที่มีฝมือและผลิตสินคาตั้งแตเริ่มตนจนจบ การผลิตหรือดําเนินกิจการ ลักษณะนี้สะทอนใหเห็นรูปแบบขององคการซึ่งตางจากองคการที่เปน
  • 2. แหลงผลิตสินคาในปจจุบันมาก (Miller, 2009: 18) กลาวอีกนัยหนึ่ง ก็ คื อ การผลิ ต ในอดี ต เกี่ ย วข อ งกั บ ความเป น องค ก ารน อ ยหรื อ เป น กระบวนการผลิตซึ่งใชความรูดานองคการนอย เมื่อการผลิตเปลี่ ยนจากเพื่อยังชีพไปสู การค าทํ าให ต องอาศั ย เทคโนโลยี สงผลตอขนาดขององคการการผลิต องคการตองปรับเปลี่ยน และเกิดองคการที่มีความพรอมตอการผลิต องค ก ารที่ มี ค วามสมบู ร ณ พ ร อ มควรมี ลั ก ษณะอย า งไร ใน สวนนี้ขอกลาวถึงความหมายขององคการ ธงชัย สันติวงษ (๒๕๔๑ : ๑) กลาววาองคการคือหนวยทางสังคมที่รูจักกันและมีการประสานเขาดวย กั น เป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย ว พร อ มกั บ การมี ข อบเขตซึ่ ง สามารถแยกชั ด เปนเอกเทศได โดยในเวลาเดียวกันก็จะมีหนาที่หรือประกอบกิจกรรม อยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนงานที่ทําอยางตอเนื่องโดยมีจุดมุงหมายเพื่อ ใหบรรลุเปาหมายหรือชุดของเปาหมายรวมกัน นักวิชาการตางประเทศ เชน Papa, Daniels and Spiker (2008: 1-2) กลาววา องคการคือรูปแบบของความพยายามของมนุษยที่มี ความละเอียดและซับซอน องคการไมไดทําหนาที่เพียงกลไกซึ่งทําให การกระทําหรือการปฏิบัติชัดเจนและเกิดความรวมมือประสานงานกัน เทานั้น แตยังเปนพื้นที่ที่ทําใหเกิดความขัดแยงและสับสนดวย ๑.๓ ลักษณะขององคการ หนวยงานหรือสถานที่ใดจะจัดเปนองคการไดควรมีองคประกอบ หลายอยาง เสนาะ ติเยาว (๒๕๓๘: ๑๗-๑๙) กลาววา องคการประเภท ตาง ๆ ตองมีองคประกอบ ๕ ประการดังนี้ ๒
  • 3. ๑.๓.๑ โครงสราง โครงสรางขององคการเปนตัวกําหนดความสัมพันธของบุคคล ในองคการ ทําใหทราบวาพนักงานคนหนึ่งอยูใตบังคับบัญชาของใคร โครงสรางองคการกําหนดหนาที่ของแตละคน ความสัมพันธของคน ในองคการ เมื่อคนในองคการตองมีความสัมพันธกัน องคการจึงตองมี กฎระเบียบเพื่อควบคุมใหความสัมพันธนั้นเกิดขึ้นในทิศทางที่องคการ ตองการ องคการแตละแหงอาจกําหนดความสัมพันธในรูปแบบตางกัน เชน องคการหนึ่งอาจมีความสัมพันธเรียบงาย ในขณะที่องคการขนาดใหญ บางแหงทีมพนักงานจํานวนมากอาจกําหนดโครงสรางองคการในลักษณะ ่ี ซับซอน กลาวโดยสรุป โครงสรางขององคการระบุความสัมพันธซึ่ง ทําให เห็นวาพนักงานในองคการมีหนาที่อะไรและตองปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ ใคร ความสําคัญของโครงสรางองคการคือเปนตัวกําหนดใหองคการดําเนิน ไปในทิศทางที่องคการตองการ ๑.๓.๒ วัตถุประสงค องคการตองกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน พนักงานใน องคการจําเปนตองรูวาหนวยงานที่ตนสังกัดมีวัตถุประสงคอยางไร เพื่อ จะไดทราบวาเขาควรปฏิบตงานอยางไรจนมีสวนผลักดันใหองคการบรรลุ ัิ  ตามวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ ง ไว เช น องค ก ารมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เป น ผู  นํ า การสงออกสินคาเครื่องนุงหมหรือการผลิตนวัตกรรมการสื่อสาร ๑.๓.๓ การแบงงานและหนาที่ องคการตองมีการแบงงานเพื่อใหหนวยตาง ๆ ขององคการปฏิบัติ งานกันอยางสมดุล ไมใหหนวยใดหนวยหนึ่งปฏิบัติงานมากเกินไปหรือ ๓
  • 4. นอยเกินไป การแบงงานและหนาที่มี ๒ อยาง คือ การแบงงานใน แนวดิ่งและการแบงงานในแนวนอน การแบงงานในแนวดิ่ง เปนการแบงงานใหเห็นถึงระดับสายงาน การบังคับบัญชา ทําใหทราบวาใครตองทํางานอะไร ใครรับผิดชอบงานใด และใครตองปฏิบัติงานดวยการขึ้นตรงตอใครหรือรับคําสั่งจากใคร การแบ ง งานในแนวนอน เป น การแบ ง งานตามความถนั ด ของแตละคน การแบงงานลักษณะนี้ทําใหแตละคนมีหนาที่นอยแต ปริมาณงานมาก เชน พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมบางคนมีความถนัด ในการออกแบบเสื้อ พนักงานคนนั้นก็จะออกแบบเสื้ออยางเดียว ไม ทําหนาที่อื่นแตตองออกแบบเสื้อหลายอยางและทํางานใหกับลูกคา หลายคน ๑.๓.๔ ความเปนพลวัต คําวาพลวัตมีความหมายวา การเปลียนแปลง ประเด็นนีหมายความ ่ ้ วาองคการมีการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงขององคการมีสาเหตุดังนี้ การขยายกิจการหรือการเติบโต หมายความวา ขอบเขตหนาทีของ ่ องคการขยายหรือองคการเติบโต เมือองคการเติบโต ทุกอยางในองคการ ่ และภารกิจขององคการตองขยายตัว บางองคการมีรายไดและกําไรมาก จนตองขยายกิจการเติบโตขึ้นเปนเงาตามตัว เชน บริษัทซึ่งเคยผลิตแต อาหารประเภทนมเนย ปจจุบนอาจขยายกิจการดวยการเปดโรงเรียนสอน ั ทําขนมอบ เชน ขนมปง ขนมเคก และขนมไทยอื่น ๆ กิจการถดถอย หมายถึง องคการหดตัวลงหรือกิจการไมเจริญเพราะ ขาดทุน เชน สายการบินบางแหงตองปดตัวลงเนื่องจากราคานํ้ามัน เชื้อเพลิงสูง มีผูโดยสารสนใจใชบริการนอย และในขณะเดียวกันองคการ ๔
  • 5. มีพนักงานจํานวนมากจึงทําใหรายไดนอยกวารายจาย สายการบินนี้ จึงตองเลิกใหบริการและปดกิจการ การปรับตัว หมายถึง การทําใหองคการกาวทันกับสภาวการณ ปจจุบันหรือโลกภายนอก เชน การปรับเปลี่ยนเรื่องการใชเทคโนโลยี การนํานวัตกรรม (innovation) มาใชในองคการ ผูบริหารตองจัดอบรม พนักงานเพื่อเตรียมพรอมพนักงานใหเขาใจการเปลี่ยนแปลงของระบบ สาเหตุ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให อ งค ก ารป จ จุ บั น ต อ งเปลี่ ย นแปลงคื อ ความก า วหน า ด า นเทคโนโลยี การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ หรื อ การเมือง ๑.๓.๕ ขอมูล ในองคการตองมีขอมูลและใชประโยชนจากขอมูล เชน พนักงานใน  ฝายตาง ๆ ขององคการตองแลกเปลี่ยนขอมูลเพื่อใหการดําเนินงาน เกิดขึนอยางราบรืน เชน ฝายการตลาดตองใหขอมูลกับฝายประชาสัมพันธ ้ ่  เพื่อนําไปเขียนลงในขาวแจกใหแกสื่อมวลชนที่รวมงานแถลงขาวและ เผยแพรตอไป นอกจากนี้องคการยังตองอาศัยขอมูลจากภายนอกดวย เช น บริษัทสงออกสินคาไปยังประเทศในแถบยุโรปควรทราบขอมูลเกี่ยวกับ การสงออกไมวาจะเปนกฎระเบียบเกียวกับคุณภาพสินคา วิธการสงสินคา  ่ ี และวิธีการชําระเงิน องคการจึงตองขอขอมูลจากหนวยงานภายนอก เชน กระทรวงพาณิชยหรือกระทรวงอุตสาหกรรม ๑.๔ ประเภทขององคการ ในการแบงประเภทขององคการ เราสามารถใชเกณฑไดหลายอยาง ในสาขาสังคมวิทยาแบงองคการออกเปน ๓ อยาง แตในหนังสือเลมนี้ ๕
  • 6. ยึดเกณฑการแบงตามแนวคิดของเลวิส (Lewis, 1980: 4-6) ซึ่งแบง องคการออกเปน ๒ ประเภทหลัก คือ องคการทางการและองคการไมเปน ทางการ ๑.๔.๑ องคการทางการ องคการทางการ (formal organization) หรือที่บางคนเรียกวา องคการรูปนัย มีใหเห็นอยูหลายแหงในประเทศไทย เปนองคการซึ่งมี โครงสรางองคการ มีระบบการบริหารและสายงานบังคับบัญชาชัดเจน เปนตนวาในองคการเอกชน มีผูอํานวยการเปนผูบริหารสูงสุด รองลงมา เปนผูชวยผูอํานวยการ ผูจัดการฝายตาง ๆ เชน ฝายการตลาด ฝายลูกคา สัมพันธ ฝายตางประเทศ ฝายบัญชีและการเงิน และฝายทรัพยากรบุคคล ดังปรากฏตามภาพที่ ๑.๑ ผูอํานวยการ ผูชวยผูอานวยการ  ํ ฝายการตลาด ฝายลูกคาสัมพันธ ฝายตางประเทศ ฝายบัญชีและ การเงิน ภาพที่ ๑.๑ โครงสรางองคการทางการ ๖ ฝายทรัพยากร บุคคล
  • 7. เลวิส (Lewis, 1980: 4) ยืนยันวา ผูจดการ (manager) ขององคการ ั ชอบองคการทางการมาก เพราะสามารถควบคุมไดเนื่องจากมีระบบการ บริหารและการบังคับบัญชารองรับ การประพฤติตนหรือปฏิบตงานไมเปน ัิ ไปตามความคาดหวังขององคการยอมไดรับการตําหนิหรือโทษ การใหคณและใหโทษแกพนักงานในองคการทางการนีถอวาเปนสิง ุ ้ื ่ สําคัญ พนักงานสวนใหญซึ่งปฏิบัติงานในองคการประเภทนี้ทราบกันดี เชน พนักงานฝายการตลาดจะไดรบเงินพิเศษเมือเขาขายสินคาใหองคการ ั ่ ไดตามเปาหมายหรือสามารถเพิ่มจํานวนลูกคาของบัตรเครดิตไดตาม เงื่อนไขขององคการ ๑.๔.๒ องคการไมเปนทางการ องค ก ารไม เ ป น ทางการ (informal organization) มั ก เป น ส ว นหนึ่ ง ขององค ก ารที่ เ ป น ทางการ ตั ว อย า ง พนั ก งานในโรงงาน อุตสาหกรรม ซึ่งเปนองคการทางการอาจไมไดปฏิบัติงานและสื่อสารกัน ตามสายงานการบังคับบัญชาเทานั้น แตยังสื่อสารกันในกลุมและรวม กลุมกันเพื่อดําเนินกิจกรรมบางอยางรวมกัน เชน ซื้ออาหาร ทํากับขาว ไปตลาด เลนกีฬา นัดไปชมภาพยนตรในวันหยุดหรือคุยเรื่องของละคร โทรทัศนซงชมรวมกันในคืนทีผานมา การรวมกลุมเชนนีทาใหเกิดองคการ ึ่ ่  ้ ํ ไมเปนทางการ การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกันทําใหกลุมมีลกษณะเปนองคการ  ั ขนาดเล็กและมีโครงสรางไมเปนทางการ บางคนเรียกองคการลักษณะนี้ วา องคการอรูปนัย พยอม วงศสารศรี (๒๕๓๘ : ๑๗-๑๘) กลาววา องคการประเภทนี้ อาจเรียกวาองคการไรรูปแบบ เพราะไมมีโครงสราง ไมมีการกําหนดกฎ ระเบียบ กฎเกณฑหรือขอบังคับอยางเปนเรืองเปนราว ปราศจากการแบง ่ ๗
  • 8. หนาที่การทํางานอยางชัดเจน ไมมีสายงานการสั่งการหรือบังคับบัญชา คนที่มารวมกันในองคการไรรูปแบบนี้มาดวยความสนใจ สมัครใจและมุง หวังผลประโยชนบางอยาง บางครั้งหลายคนมารวมเพราะเกิดจากความ พอใจ ความศรัทธาตอสมาชิกในกลุม เชน ผูนํา ผูมีความคิดเห็นนาสนใจ องคการประเภทนี้ไมมีหลักการ อาจมีขั้นตอนการทํางานแตไมเขมงวด องคการประเภทนี้ใหความสําคัญเรื่องของความสัมพันธ ๑.๕ การจัดการองคการ องคการจะดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ไดดวยการจัดการ การจัดการ หมายถึง การทําใหเรื่องใดเรื่องหนึ่งสําเร็จตามที่คาดหวังหรือการปฏิบัติ หรือกระทําตอกิจกรรม บุคคล เหตุการณ สถานที่หรือสิ่งของเพื่อให สิ่งเหลานี้เกิดผลตามที่วางแผนไว เมื่อพิจารณาคําวาการจัดการแลว การจัดการองคการจึงหมายถึง การทําใหบุคคลซึ่งอยูในที่ทํางานปฏิบัติงานตามหนาที่ของตน และ ประสานงานกันเพื่อใหองคการบรรลุวัตถุประสงค การจัดการองคการ เกิดขึ้นเพราะการกําหนดหนาที่ตาง ๆ ภายในองคการตามโครงสราง การจัดการ การจัดคนเขาทํางาน การสั่งการและการควบคุม ๑.๕.๑ โครงสรางขององคการ สมยศ นาวีการ (๒๕๔๔ : ๘) กลาววา “โครงสรางแสดงให เห็นถึงความสัมพันธอยางมีเหตุผลระหวางหนาที่ตาง ๆ ในองคการ” เราจะทราบโครงสร า งขององค ก ารจากผั ง แสดงโครงสร า งองค ก าร (organisation chart) โครงสรางขององคการทําใหสมาชิกในองคการและกลุมตาง ๆ นอกองคการทราบสายงานการบังคับบัญชา การสื่อสารในองคการ และนอกองคการเปนตนวามีฝายใดในองคการที่ติดตอกับหนวยงาน ๘
  • 9. ภายนอก เชน ฝายตางประเทศตองติดตอกับหนวยงานอืนในตางประเทศ ่ หรือฝายประชาสัมพันธตองสรางความสัมพันธกับสื่อมวลชน โครงสรางองคการมีหนาที่สําคัญคือเปนแนวทางใหคนในองคการ ปฏิบัติงานดังที่ผูเขียนกลาวไวในเรื่องลักษณะขององคการ ๑.๕.๒ การจัดการ องคการจะประสบความสําเร็จไดจําเปนตองอาศัยกระบวนการ จัดการที่ดี เชน การวางแผนและตัดสินใจดวยการกลั่นกรองจากฝาย ตาง ๆ ทีเกียวของ การกลันกรองทําใหเรืองตาง ๆ ผานการพิจารณาอยาง ่ ่ ่ ่ รอบคอบ มีการคํานึงถึงผลกระทบ ผลไดและผลเสียที่จะเกิดขึ้น การจั ด การเป น เทคนิ ค ที่ พั ฒ นาคนในองค ก ารให มี จิ ต สํ า นึ ก รวมกันในการปฏิบัติงานและเกิดความรูสึกที่ดีตอองคการ องคการควร สรางขวัญและกําลังใจใหแกพนักงานเพื่อใหเขารูสึกวามีความมั่นคง เมื่อรูสึกเชนนี้ เขาก็จะมีความตั้งใจและมีความตองการชวยเหลือองคการ องคการตองอาศัยการจัดการเพื่อกําหนดขอบเขตการทํางาน เชน ทําใหแตละคนรูวาเขามีภารกิจอะไร สิ่งใดเปนงานของเขาและสิ่งใดมิได อยูในความดูแลของเขา ขจัดการทํางานซํ้าซอนทําใหงานดําเนินไปอยาง รวดเร็ว ๑.๕.๓ การจัดคนเขาทํางาน องคการตองวิเคราะหงานเพื่อจะไดสรรหาบุคลากรไดตรงกับ ลักษณะงาน สรรหาคนเพื่อเขาทํางานโดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ความรูวา ตรงกับงานหรือไม นอกจากนี้ยังพิจารณาจากบุคลิกภาพ ความสนใจ ความตั้งใจในการทํางาน และความเหมาะสมกับคาตอบแทนที่องคการ กําหนดไว ๙
  • 10. หลั ง จากที่ อ งค ก ารคั ด เลื อ กบุ ค ลากรแล ว ก็ จ ะปฐมนิ เ ทศให พนักงานเขาใจในองคการ เชน โครงสรางองคการ กฎระเบียบและขอหาม ตาง ๆ ที่องคการกําหนดขึ้น ที่กลาวมาคือขั้นตอนอยางคราวของการจัดหาคนเขาทํางาน ซึ่งมี ความสําคัญเพราะคนเหลานีมผลตอการเติบโตขององคการ หากองคการ ้ี รับพนักงานที่ไมเหมาะสมกับองคการ เชน พนักงานมีความรูไมตรงกับ ลักษณะงาน ก็จะทําใหการทํางานไมราบรื่น มีความผิดพลาด พนักงาน เกิดความเบื่อหนาย ไมอยากทํางาน ขาดขวัญและกําลังใจในการทํางาน องคการก็ไดรบผลกระทบ เชน ตองใชงบประมาณในการอบรมใหพนักงาน ั ที่รับเขามาสามารถทํางานไดคุมกับคาตอบแทน ทําใหองคการเสียเงิน และเวลา นอกจากนี้องคการยังไมสามารถเลิกจางพนักงานที่มีคุณสมบัติ ไมตรงไดอยางงายดาย เพราะการเลิกจางเกี่ยวของกับการจายคาชดเชย และอาจเกิดการฟองรอง มีผลทางกฎหมาย ๑.๕.๔ การสั่งการและการควบคุม เมื่อองคการเปนสถานที่ที่มีคนหลายประเภท มีระดับการศึกษา ความรูและความคิดตางกัน องคการจึงตองมีการจัดการดวยการสั่งการ และการควบคุม การสั่งการเปนการใชอํานาจตามที่องคการกําหนด การสั่งการมัก เกิดขึ้นจากผูมีประสบการณและมีอํานาจมากไปยังผูใตบังคับบัญชา ที่มีความรูหรือประสบการณนอยกวา การควบคุ ม เป น กลไกในการจั ด การองค ก าร กล า วคื อ เป น การวัดและการแกไขการปฏิบัติงานของคนในองคการ หากองคการ ขาดการควบคุมจะเกิดอะไรขึ้น พนักงานบางคนอาจจะเขาทํางานสาย ดังนั้น การควบคุมจึงเปนตัวกําหนดและวัดความตรงตอเวลาและระยะ เวลาการทํางานของพนักงานวาครบตามที่องคการกําหนดหรือไม ๑๐