SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
๑.๑ ประเด็นปญหาเรื่องการใหทานของพระเวสสันดร



      พระเวสสันดรบําเพ็ญทานบารมีโดยบริจาคพระโอรสพระธิดา และพระชายา ใหแก
พราหมณชูชกเพือนําไปเปนทาสรับใช ในทางพระพุทธศาสนาถือวาเปนการใหทานระดับกลางคือ
              ่
ขั้นอุปทานบารมี ซึ่งพระโพธิสัตวทงหลายนิยมกระทําและบัณฑิตก็สรรเสริญการกระทําเชนนี้
                                 ั้
เพราะผลของการกระทําอยางนีจะเปนปจจัยใหไดสมโพธิญาณซึ่งจะเปนประโยชนตอชาวโลก
                          ้                  ั
อยางมหาศาล แตในทางสังคมของฆราวาสถือวาเปนสิ่งที่กระทําไดยากอยางยิง และถูกมองวา
                                                                      ่
เปนเรื่องที่ไมถูกตอง เพราะนําความทุกขมาใหบุตรธิดาและพระชายาของตน และขัดกับจริยธรรม
ในฐานะของบิดาที่ตองดูแลบุตรธิดาและภรรยาใหมความสุข
                                            ี

ประเด็นดังกลาวนี้พระยามิลินทกษัตริยแหงโยนกไดตั้งขอสงสัยและถามพระนาคเสนเมือประมาณ
                                                                               ่
๒,๐๔๖ ปมาแลว ขอสงสัย ประเด็นคําถามและคําตอบของนักปราชญทั้งสองไดดําเนินไปอยาง
ดุเดือดชนิดที่ฝายหนึ่งเอาเกียรติยศและศักดิ์ศรีของความเปนพระราชามาเปนเดิมพัน และอีกฝาย
หนึ่งก็เอาความมั่นคงของพระพุทธศาสนาเปนประกัน แมวาเรื่องนี้จะผานมาแลวสองพันกวาปก็
ตาม แตยังดูเหมือนวาคุกรุนอยูตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากวาเปนประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรมซึ่ง
เกี่ยวของโดยตรงกับวิถชีวิตมนุษยในสังคม โดยเฉพาะการทําหนาที่ของบิดามารดาตอบุตรธิดา
                      ี
สามีตอภรรยาเพือแลกกับอุดมการณสูงสุดคือสัมโพธิญาณ โดยพระยามิลินทสวมบทบาทของ
               ่
สังคมผูครองเรือน สวนพระนาคเสนสวมบทบาทตัวแทนทางศาสนาที่จะตองตอบปญหาใหกระจาง
ไมทิ้งหลักพุทธธรรม และไมสรางปญหาสังคมภายหลัง เพราะถาพระนาคเสนตอบปญหานี้ผิด
จากแนวพุทธศาสนา นั่นก็แสดงวาปริยัติธรรมถูกทาทายตอการพิสจนจากกระแสสังคม จะสงผล
                                                          ู
ตอการปฏิบัติศาสนา ปฏิเวธธรรมก็จะเปลาประโยชน แตเหตุการณนี้ไดผานบทพิสูจนไปไดดวยดี
วีรธรรมของนักปราชญทั้งสองที่ไดทําไวยังอยูในความทรงจําของชาวพุทธตลอดมา
อยางไรก็ตาม แมวาเรื่องนี้จะผานมานานแลว แตก็ยังมีชาวพุทธจํานวนมากที่ยังกังขาและตั้ง
คําถามอยูตลอดเวลาวาเปนการกระทําไมถูกตอง และเมื่อผนวกกับเรื่องสิทธิมนุษยชนแลวยิ่งมี
ประเด็นใหถกเถียงอีกมากมาย ผูเขียนคิดวาถาไดนําเรื่องนีมาอภิปรายกันอีกครังหนึ่งในแงวชาการ
                                                          ้                 ้           ิ
นาจะเปนประโยชนตอสังคมและเปนการปกปองพระพุทธศาสนา ชวยใหชาวพุทธทั้งหลายได
มองเห็นคุณคาของการใหทานของพระเวสสันดร ตลอดจนวีรธรรมที่พระนาคเสนและพระยามิลินท
ไดกระทําไวซงเปนความพยายามอยางยิงที่จะปกปองพระพุทธศาสนาใหคงอยูคูโลกตอไป
             ึ่                    ่

      การใหทานถือวาเปนการบําเพ็ญบารมีอยางหนึ่งในบรรดาบารมี ๑๐ อยางใน
พระพุทธศาสนา พระโพธิสัตวทั้งหลายลวนบําเพ็ญทานบารมีเปนอันดับแรก กอนที่จะบําเพ็ญ
บารมีอยางอื่น เพราะทานบารมีเริ่มจากการสละสิงของภายนอกจนกระทั่งสละสิงของภายใน จาก
                                            ่                       ่
สิ่งของที่หยาบจนถึงขั้นละเอียดถึงขนาดสละไดแมกระทั่งชีวิตของตน ทั้งนี้เพื่อใหบารมีสมบูรณ
และที่สําคัญเพื่อใหไดมาซึ่งสัพพัญุตญาณ อันเปนเปาหมายหลักของพระโพธิสัตวนั่นเอง[๑]

       การใหทานของคนทั่วไปนั้นถือเปนเรืองปกติของมนุษยผูดํารงชีวิตอยูในสังคม เปนการให
                                         ่
ทานที่สละไดไมยากนักเพราะสิงของที่ใหทานนั้นไมใหญโตและมีคานอย แตการใหทานของพระ
                            ่
โพธิสัตวทั้งหลายโดยเฉพาะพระเวสสันดรที่ยอมสละพระชายา พระโอรสและพระธิดาเพื่อใหเปน
ทาสแกพราหมณชูชกนั้นเปนสิ่งที่กระทําไดยากยิ่ง เพราะนอกจากจะสูญเสียสิงอันเปนที่รักแลว
                                                                       ่
พราหมณเฒายังแสดงอํานาจบาทใหญเฆี่ยนตีพระโอรสและพระธิดาตอหนาตอตาอยางไรความ
ปราณี ซึ่งสถานการณอยางนี้ยอมสรางความเจ็บปวดรวดราวทางจิตใจของผูเปนบิดาอยางมาก
ถาเปนสามัญชนคงกระทําไดยากหรืออาจทําไมไดเลย แตพระเวสสันดรไดผานการทดสอบและ
พิสูจนถงความมีพระทัยแนวแนมั่นคงในการใหทานอยางดีเยี่ยมจนประสบความสําเร็จมาแลว
        ึ

       แมวาการกระทําของพระเวสสันดรจะไดรับการยอมรับวาเปนการกระทําทีบัณฑิต
                                                                       ่
สรรเสริญ เปนแบบอยางที่ดในแงของศาสนาก็ตาม แตในทางสังคมของฆราวาสและสามัญสํานึก
                         ี
ของบิดามารดาโดยทั่วไปแลวกลับมองวาเปนการกระทําที่ไมถูกตองเพราะนําความทุกขมาใหบุตร
ธิดาซึ่งไมรูเห็นและไมเขาใจอุดมการณของบิดา ยิ่งไปกวานั้น บทบาทของพระเวสสันดรในฐานะ
บิดาที่ตองดูแลบุตรธิดาใหมีความสุขและหนาที่ในความเปนสามีที่พึงปฏิบัติตอภรรยาก็ถูกละเลย
ไป สายใยแหงความสัมพันธทางครอบครัวถูกตัดขาด ภาพลักษณของสถาบันครอบครัวไมมั่นคง
ขาดความอุนเชนนี้แลว นักการศาสนาจะกลาวไดอยางไรวาเปนสิงที่ถูกตองเหมาะสม เปน
                                                            ่
แบบอยางที่ดีแกสังคมควรกระทําตาม

       เวสสันดรชาดกเปนชาดกหนึ่งในทศชาติวาดวยการบําเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร
ซึ่งเปนชาติสุดทายกอนจะบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เนื้อความของเวสสันดรชาดก กลาวถึงการ
บริจาคทานของพระเวสสันดร จนในที่สุดตองถูกไลออกจากพระราชวังไปอยูปาและในที่นั้น
พระองคก็ไดพระโอรสและพระชายแกพราหมณและพระอินทรทมาขอ อันเปนการบําเพ็ญทานที่ทํา
                                                   ี่
ไดยากยิ่ง และเปนที่มาของคติโพธิสัตวที่วา ถาหากจะบําเพ็ญเพียรเพือความเปนพระโพธิสัตวตอง
                                                                    ่
สามารถสละไดทุกสิ่งโดยไมเวนแมกระทั้งชีวิตของตนเองก็ใหได

       เวสสันดรชาดก มีอิทธิพลตอสังคมไทยแทบทุกภาคของเมืองไทย จะเห็นไดจากการนิยม
นําเอาเรื่องพระเวสสันดรมาเทศนและเรียกชือวา เทศนมหาชาติบาง เทศนผเวสบาง ตามแตละ
                                        ่
ทองถิ่น มีคตินิยมอยางหนึ่งวา ถาหากใครไดฟงการเทศนเรื่องพระเวสสันดรชาดกจบไดภายในวัน
                                             
เดียวจะมีผลานิสงสมากมาย

พระมหาสงา ไชยวงศ กลาวถึงอิทธิพลของพระเวสสันดรชาดกตอสังคมไทยและการใหทานตาม
คติแหงพระเวสสันดร วา

   ในชวงกรุงรัตนโกสินทรตอนตน มีการสอนเรืองการสรางบุญกุศลในทางศาสนาที่ไดบุญมาก
                                           ่
คือการบริจาคทาน… การทําทานในสังคมไทย สวนหนึ่งมาจากการสอนเรื่องชาดกใน
พระพุทธศาสนา ซึ่งเปนเรื่องการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว ชาดกไดเขามามีอิทธิพลตอวิถีชีวิต
ของคนไทยมาหลายยุค หลายสมัย นับแตผูนําประเทศจนถึงชาวบานธรรมดา เพราะเปนเรื่องที่
สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได และมีตัวอยางใหเปนเปนรูปธรรมอยางชัดเจน เชน
ภาพสลักตางๆ หรือภาพปนโบราณที่เลาเรืองราว ซึงนักโบราณคดีไดสันนิษฐานจากลักษณะทาง
                                       ่       ่
ประติมาณวิทยาวา เปนชาดกในพระพุทธศาสนา

จริยธรรมที่เปนเอกลักษณของเรือง (เวสสันดรชาดก) อยูที่เนนใหเห็นอานุภาพของความเสียสละ
                              ่
ไมเห็นแกตัว ปลูกฝงนิสัยเรืองความเมตตากรุณาตอกัน เห็นใจกัน ผูรับฟงก็จะมีนสัยโนมเอียงไป
                             ่                                                ิ
ทางพระเวสสันดร เพราะตองการเอาอยาง เมื่อเปนเชนนี้ ความโลภ ความเห็นแกตัวก็จะนอยลง รัก
ที่จะเสียสละเอือเฟอกัน มีการปลูกฝงใหเห็นภาพ และปรารถนาสังคมในอุดมคติอยางในสมัยพระ
               ้
อริยเมตไตรย โดยใชการสรางแรงจูงใจวา แมไมไดทําทาน แตใครก็ตามที่ตังใจฟงธรรมเวสสันดร
ตั้งแตตนจนจบ ๑๓ กัณฑก็สามารถปรารถนาพระนิพพาน หรือไปเกิดในสมัยพระศรีอริยเมตไตรย
ไดเชนกัน[๒]

            นอกจากจริยธรรมที่ปรากฏในพระเวสสันดรชาดก ซึ่งเนนที่ความเสียสละเพือ
                                                                             ่
ประโยชนแกสวนรวม คนไทยยังไดนําหลักจริยธรรมเหลานี้มาปฏิบัติและจากลักษณะของความ
เปนคนใจบุญสุนทานนี่เอง เชื่อวา พระเวสสันดรชาดกนาจะมีอิทธิพลตอลักษณะนิสัยในความเปน
ผูมักใหทานและความเปนผูมีใจโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผ ซึ่งในเรืองนี้ พระมหาบุญทัน อานนฺโท
                                                                  ่
กลาววา

           ๑. เวสสันดรชาดกเปนพระพุทธวจนะทีพระพุทธเจาทรงแสดงแกพระภิกษุสงฆพุทธ
                                           ่
บริษัท ณ นิโครธาราม ในกรุงกบิลพัสดุ และเมือผูใดไดสดับก็ยอมเกิดสิรสวัสดิมงคล เปนกุศลบุญ
                                           ่                       ิ
ราศี

           ๒. บุคคลสดับเวสสันดรชาดกอันประดับดวยพระคาถาหนึ่งพัน ในวันและราตรีเดียวให
จบและใหบูชาดวยประทีป ธูป เทียน ธงฉัตร สารพัดดอกไม ดอกบัว ดอกผักตบ เปนตน ใหครบ
จํานวนถวนสิ่งละพัน ดวยอานิสงสนั้นจะชักนําใหสมมโนรถตามปรารถนา ผูมั่งมุงหมายใครจะพบ
ศาสนาพระศรีอริยเมตไตรย[๓]

      อิทธิพลของความเชื่อเกี่ยวกับการบําเพ็ญทานบารมี สืบเนื่องจากสุโขทัยจนถึงอยุธยาและ
รัตนโกสินทร คตินิยมการทําบุญตามพระเวสสันดรโพธิสัตวก็ยังคงอยูเสมอ และการฟงเทศน
มหาชาติไมไดจํากัดอยูแคประชาชนเทานั้น แมองคพระมหากษัตริยก็มีพิธีเทศนตามพิธีหลวง และ
นอกจากนั้น ยังมีพระมหากษัตริยบางพระองคถือคติตามพระเวสสันดรโพธิสัตวและไดถวายทาน
                             
ดุจวาบําเพ็ญบารมีเพื่อโพธิญาณ

        เพื่อความเขาใจถูกตองรวมกันและเปนประโยชนทางดานการศึกษาของชาวพุทธ ผูเขียน
จึงไดศึกษาวิเคราะหเรืองนี้โดยไดตั้งวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้
                       ่

๑.๒ วัตถุประสงคในการศึกษา          การวิเคราะหประเด็นเรื่องการใหทานของพระเวสสันดรครังนี้
                                                                                       ้
เพื่อศึกษาเกณฑตัดสินดานพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทานของพระเวสสันดรวาถูกตอง
เหมาะสมหรือไม

๑.๓ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผูเขียนไดตั้งความคาดหวังจากงานวิเคราะหครั้งนี้ โดยหวังวาจะ
เกิดประโยชน คือ ทําใหทราบเกณฑตัดสินดานพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทานของพระ
เวสสันดรวาถูกตองเหมาะสมหรือไม อันจะนําไปสูการประยุกตใชในสังคมตอไป

๑.๔ วิธีการดําเนินการวิจัย งานวิจัยนี้มีกรอบการศึกษาวิจัยเฉพาะเชิงเอกสาร
(Documentary Research) โดยศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับการใหทานจากเอกสาร
ขอมูลขั้นปฐมภูมิ(Primary Sources)ไดแกคัมภีรสําคัญของพระพุทธศาสนาคือพระวินัย
                                              
ปฎก(Vinaya Pitaka) พระสุตตันตปฎก(Suttanta Pitaka) และพระอภิธรรมปฎก
และศึกษาคนควาขอมูล แนวการอธิบายพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทาน และประเด็นที่
เกี่ยวของอื่นๆ จากเอกสารขั้นทุติยภูมิ(Secondary Sources) ไดแก คัมภีรอรรถกถา
เอกสารงานวิจัย วิทยานิพนธ หนังสือ ตําราและผลงานทางวิชาการของนักการศาสนาและ
นักวิชาการทั่วไปทังชาวไทยและชาวตางประเทศ อันเปนวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับ
                  ้
งานวิจัยฉบับนี้

หลังจากคนควาขอมูลไดแลวก็จะเก็บรวบรวมและจัดลําดับขอมูลจากทีไดศึกษาคนควา นําขอมูล
                                                                ่
ที่ไดมาศึกษาวิเคราะหในเชิงสังคมศาสตร พิสจนทดสอบตามที่ไดตั้งสมมติฐานเอาไว สุดทายก็จะ
                                           ู
ไดสรุปผลการวิเคราะหวิจัยและนําเสนอขอมูลจากเอกสารที่ไดศึกษาคนควาตอไป

อนึ่ง งานวิจัยนี้เนื่องจากจํากัดดวยเรื่องเวลาจึงอาจมีขอบกพรองอยูมาก ผูวิจัยจึงขอนอมรับคําติ
                                                                   
ชมจากครูอาจารยผูเปนปราชญทั้งหลายไดกรุณาชี้แนะในสวนที่บกพรอง เพื่อจะไดนําไปปรับปรุง
แกไขใหสมบูรณตอไป




สวนที่ ๒. หลักคําสอนเรื่องทานในพระพุทธศาสนา
๒.๑ หลักคําสอน ๒ ระดับ




พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนที่มงใหมนุษยพงปฏิบัติเพื่อความสุขแกตนเองและผูอื่น ตาม
                            ุ         ึ
แนวทางแหงอริยมรรคซึงเปนหนทางสายเดียวเพื่อการเขาถึงเปาหมายสูงสุดคือพระนิพพานอันเปน
                    ่
บรมสุข และเปนอุดมคติของชีวิตตามหลักพุทธธรรม โดยแบงคําสอนออกเปน ๒ ประเภท คือ

๑) คําสอนแนวสัจธรรมสําหรับสอนกลุมอนาคาริก

๒) คําสอนแนวศีลธรรมสําหรับสอนกลุมอาคาริก
                                

๑. คําสอนแนวสัจธรรม พระพุทธองคทรงสอนกลุมที่เปนอนาคาริก เชนพระปญจวัคคียดวยการให
หลีกจากการทรมานตน และการเติมกามสุขใหแกชวิตจนเกิดความมัวเมา แลวสอนใหปฏิบัติตาม
                                         ี
มัชฌิมาปฏิปทาคือทางเดินชีวิตอันประเสริฐเพือความพนทุกขอันประกอบดวยสัมมาทิฏฐิเปนตน
                                          ่
[๔]

๒. คําสอนแนวศีลธรรม พระองคทรงสอนกลุมอาคาริกคือชนผูครองเรือน โดยปรับระดับคําสอน
จากแนวสัจจธรรมซึงเปนนามธรรมมาเปนรูปธรรม โดยทรงสอนอนุปพพิกถาแกยสกุลบุตร บิดา
                ่                                      ุ
มารดาและภรรยาของเขา ตลอดทั้งเพื่อน ๕๔ คน จนกระทั่งทานเหลานั้นไดบรรลุธรรมเปนพระ
อรหันต เนื้อหาในอนุปุพพีกถาไดกลาวถึงทาน ศีล สวรรค โทษของกาม และอานิสงสของการออก
บวช ทั้งนี้เพื่อเปนการฟอกจิตของผูที่เคยครองเรือนใหสามารถขจัดความหวงใยเรืองทรัพยสินกอน
                                                                            ่
จากนั้นจึงสอนเรืองศีล สวรรค โทษของกามและการออกกจากกามเปนลําดับไป แมในที่แหงอื่น
                ่
พระองคก็ทรงสอนในลักษณะเดียวกัน[๕] ดังเชนในบุญกิริยาวัตถุสูตร พระพุทธองคก็ไดตรัสสอน
เรื่องทานมัย ศีลมัย และภาวนามัย[๖]

คําสอนทั้งสองแนวดังกลาวนี้พระพุทธองคทรงปรับประยุกตใหเขากับจริตของบุคคล เขากับปญหา
ชีวิตของเขาจึงจะแกปญหาชีวิตของเขาได เปรียบเหมือนนายแพทยผรักษาคนไขรจักโรคของคนไข
                                                            ู         ู
แลวเยียวยา อาการปวยจึงจะหาย

๒.๒ ความหมายและคําสอนเรื่องทาน ที่ปรากฏในพระไตรปฎก อรรถกถา

        คําวา ทาน หมายถึงการให การเสียสละวัตถุสิ่งของ ๆ ตนเพื่อประโยชนแกคนอื่น เปนการ
ใหที่ประกอบดวยเจตนาดี การใหปจจัย ๔ เพื่อประโยชนแกการดําเนินชีวิต การใหพระสงฆเพือ
                                                                                       ่
ตองการบุญและบํารุงศาสนา ความหมายของทานครอบคลุมทั้งผูให ผูรบ และสิงของที่ใหทุกอยาง
                                                              ั      ่
และทานก็รวมอยูในคําสอนแนวศีลธรรม

คําสอนแนวศีลธรรมซึงมีความสําคัญตอบุคคลทั้งในระดับปจเจกและสังคม โดยพระองคตรัสวา
                  ่
“คนผูหวังประโยชนควรศึกษาบุญนี้ที่ใหผลอันเลิศ อํานวยความสุขให คือ ควรบําเพ็ญทาน ควร
ประพฤติธรรมเสมอตนเสมอปลาย (ธรรมจริยสมจริยา) ควรเจริญเมตตาภาวนา บัณฑิตครั้นเจริญ
ธรรม ๓ ประการนี้ที่เปนเหตุใหเกิดความสุขแลว ยอมเขาถึงโลกที่เปนสุข ที่ไมมีการเบียดเบียน[๗]
ทานมีความสัมพันธโดยความเปนธรรมที่มอุปการะแกกันระหวางศีลและภาวนา มีคําแสดงลําดับ
                                    ี
ความสัมพันธของทาน ศีล และภาวนาไววา ทานมีอุปการะมากแกศีลและทําไดงาย เพราะฉะนั้น
ทานจึงเปนเบืองตนแหงศีล ทานอันศีลกําหนด จึงมีผลมาก มีอานิสงสมาก ดังนั้น ศีลจึงอยูใน
             ้
ลําดับตอจากทาน

นี้แสดงใหเห็นวาทานเปนการทําบุญที่สําคัญประการแรกสําหรับคฤหัสถ ทั้งนี้เนื่องจากคฤหัสถยัง
ตองดํารงชีวิตอยูในสังคมและอาศัยปจจัย ๔ เปนเครื่องเลี้ยงชีวิต ปจจัยเหลานี้เปนสิงจําเปน
                                                                                   ่
สําหรับการมีชีวิต เมื่อทุกคนตองการปจจัย ๔ เพื่อการดํารงชีวิตเชนเดียวกัน การขวนขวายเพื่อการ
ไดมาซึงสิงเหลานี้จงเปนสิ่งที่จําเปนตองกระทําอยูเสมอ เพราะเมื่อชีวิตยังดําเนินไปตราบใด ความ
       ่ ่          ึ
จําเปนที่จะใชปจจัยเหลานี้ก็ยังมีอยูตราบนั้น เมื่อเงือนไขของการมีชีวิตขึ้นอยูกับความตองการทาง
                                                         ่
วัตถุ การแสวงหาความมั่นคงแกชีวิตเพื่อชีวิตที่ดี มีความสุขสบายตลอดไปจึงเปนอุดมคติของการ
มีชีวิตในปจจุบันชาติ ซึ่งกรณีนี้เห็นไดชัดเจนในสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลกระแสวัตถุนิยมดังเชน
ในปจจุบัน

มองในระดับสังคม ทานเปนกลไกลควบคุมสังคมใหดําเนินไปดวยความสงบเรียบรอย สวนใน
ระดับปจเจกบุคคล ทานนอกจากจะเปนขอปฏิบัติทางกาย วาจาแลว ยังสงผลถึงสภาวะแหงจิตใจ
ของผูใหทาน กลาวคือผูใหยอมไดรบความสุข ความอิมเอิบ ความสบายใจ ขจัดความตระหนี่
                                 ั              ่
ความเห็นแกตัว ความอิจฉาริษยา และความโลภในทรัพยสินของผูอื่น เมื่อหมั่นใหทานเปนนิตย สิ่ง
                                                        
เหลานี้จะถูกขจัดออกไปและในที่สุดก็จะเปนผูยินดีในการให มีสีหนาและผิวพรรณผองใสดังที่
เรียกวาอิ่มบุญ การใหทานจึงเปนการพัฒนาจิตใจสวนปจเจกบุคคลใหเบาบางจากอกุศลธรรม
ทั้งหลาย และเปนทางเพือการปฏิบัตบุญกิริยาขั้นอืน ๆ ตอไป
                      ่         ิ              ่

นอกจากนี้ ทานยังมีความสําคัญและเปนหลักธรรมประการแรกในหลักคําสอนอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อการ
ขัดเกลาและบรรเทาความตระหนี่ ความยึดติดในวัตถุ ความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปน
กิเลสอยางหยาบใหเบาบางกอนจะปฏิบัติธรรมในระดับอื่น ๆ เชน บุญกิริยาวัตถุ ๓[๘] ซึ่ง
ประกอบดวยทานมัยเปนอันดับแรก จากนั้นจึงเปนเรื่องของศีลและภาวนาตอไปจนถึงทิฏุชุกรรม
สังคหวัตถุ ๔ ก็เริ่มจากทาน จากนั้นจึงเปนความเปนผูมีวาจานารัก การประพฤติสิ่งที่เปน
ประโยชนและความเปนผูมีตนสม่ําเสมอ[๙] อนุปุพพีกถา ก็ประกอบดวย ทานกถา สีลกถา สัคค
กถา กามาทีนวกถา เนกขัมมานิสังสกถา ธรรมหมวดนี้ พระพุทธองคทรงแสดงแกคฤหัสถเปน
ประการแรก กอนจะแสดงหลักธรรมประการอื่น ๆ เหตุผลก็คือเพือเปนการปูพื้นฐานจากสิงที่เปน
                                                       ่                     ่
รูปธรรมทีงายที่สุดไปสูสงที่เปนนามธรรมยากขึ้นไปตามลําดับ มีขอความกลาวไวในอัมพัฏฐสูตร
         ่               ิ่
ดังนี้วาพระผูมีพระภาคเจาไดตรัสแสดงอนุปุพพิกถาแกพราหมณโปกขรสาติ ครั้นแสดงจบแลวทรง
              
ทราบวามีจิตคลอง มีจิตออน มีจิตปราศจากนิวรณ มีจิตสูง มีจิตผองใสแลว จึงทรงประกาศอริยสัจ
๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค จนกระทั่งพราหมณไดดวงตาเห็นธรรมอันปราศจากธุลี ปราศจาก
มลทินไดเกิดขึ้นแลวแกพราหมณโปกขรสาติวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้ง
มวลลวนมีความดับไปเปนธรรมดา ณ ที่นั่งนั้นแล เหมือนผาทีสะอาดปราศจากมลทิน ควรที่จะรับ
                                                        ่
น้ํายอมเปนอยางดี ฉะนั้น[๑๐] แมในบารมี ๑๐ ก็ประกอบดวยทานบารมีเปนขอแรก จากนั้นจึง
เปน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตาและ อุเบกขาบารมี

ในอรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎกกลาวถึงลักษณะของทานในประการอื่นๆ โดยลักษณะแหง
การบําเพ็ญบารมีไววา ทานจะชือวาบริสุทธิผองแผวเพราะปราศจากความกําหนดไทยธรรมและ
                             ่           ์
ปฏิคาหกเปนตน อันกิเลสทั้งหลาย มีตัณหา มานะ ทิฏฐิ เปนตน ไมเขาไปกระทบ และกลาววาสิงที่
                                                                                       ่
เปนปฏิปกขตอการใหทานคือความตระหนี่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เพราะทาน
ประกอบดวยคุณคืออโลภะ อโทสะ อโมหะ ในไทยธรรม ปฏิคาหกและผลของทาน สวนขอปฏิบัติ
ของการใหทาน คือการทําความอนุเคราะหสัตวทั้งหลายโดยสวนมาก ดวยการสละเครื่องอุปกรณ
ความสุข รางกายและชีวิต ดวยการกําจัดภัย และการชี้แจงธรรม[๑๑]

    กลาวโดยสรุป การใหทานเปนการบําเพ็ญบุญหรือการทําความดีสําหรับคฤหัสถหรือผูครอง
เรือนประการหนึ่ง ตามหลักบุญกิริยาวัตถุ ทายกผูตองการบําเพ็ญบุญตองเริมจากการใหทาน เพื่อ
                                                                      ่
ดําเนินไปสูศีล และภาวนาในที่สุด การใหทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนาตามหลักบุญ
กิริยาวัตถุจึงเปนการพัฒนาจิตใจอยางเปนขันตอน มีความสัมพันธสืบเนื่องกันจากระดับที่บุคคล
                                          ้
สามารถทําไดโดยงาย ไปถึงระดับที่ตองอาศัยความเพียรอยางแรงกลา บุคคลผูสามารถเจริญ
สมาธิภาวนาจนใจสงบแนวแนควรแกการงานนั้น จิตใจของบุคคลนั้น ตองไดรบการฝกฝนในขั้น
                                                                   ั
การใหทาน และการรักษาศีลเพื่อขจัดความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปนรากเหงาของ
อกุศลมาเปนอยางดี ซึ่งถาบุคคลไมสามารถชําระศีลอันเปนการบําเพ็ญเพียรทางกายใหบริสุทธิ์ ก็
ไมอาจจะยังสมาธิภาวนาใหเกิดและไมอาจจะบรรลุฌาน วิปสสนา (ญาณ) มรรคและผลใด ๆ ได

ทานในระดับปจเจกบุคคล จึงเปนไปเพื่อขจัดความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปนเหตุเกิด
แหงอกุศลมูล สวนทานในระดับสังคม เปนหลักปฏิบัติการฝกจิตใจใหมีความเอื้อเฟอเผือแผ รูจัก
                                                                             ่
การแบงปน ไมแกงแยง ชิงดีชงเดน ไมกอใหเกิดการทะเลาะวิวาท เปนเหตุสรางความบาดหมาง
                             ิ
ใหแกคนในสังคม เมื่อทุกคนรูจักการใหแกผูอื่น ผูใหยอมเปนที่รัก และทุกคนจะรูสึกถึงความ
ปลอดภัยในชีวิต การงาน และการใชชีวิตที่ไมตองหวาดระแวง ยอมนํามาซึงความสุขทั้งตอตนเอง
                                                                   ่
และสังคม นอกจากทานในระดับสังคมหรือประโยชนตอผูอื่นแลว ในระดับทีสูงขึ้นไป สําหรับผูที่มี
                                                                  ่
ความเสียสละเพือสังคมอยางยอดเยี่ยม ทานยังเปนคุณธรรมสําหรับการสรางบารมีเพื่อการบรรลุ
              ่
คุณธรรมในระดับทีสูงขึ้นไป ดังเชน ทานอุปบารมีทพระพุทธองคทรงบําเพ็ญมาเมือครั้ง
                ่                             ี่                        ่
เสวยพระชาติเปนพระเวสสันดร ไดทรงใหพระนางมัทรีผูเปนมเหสี กัณหา และชาลีบุตรธิดาเปน
ทานแกชูชก ซึ่งเปนทานที่กระทําไดยากยิ่ง ทานจึงมีความสําคัญทั้งในระดับปจเจกบุคคล และใน
ระดับสังคม

        ๒.๓ ประเภทของทาน

ประเภทของทานตามหลักพระพุทธศาสนาอาจแบงได ๔ ประเภท คือ

๒.๓.๑ ประเภทที่จัดตามปฏิคาหก มี ๒ ไดแก

๑) ปาฏิปุคคลิกทาน การใหทานเจาะจงผูรับ
                                   

๒) สังฆทาน การใหทานแกสงฆ มุงที่หมูคณะ

๒.๓.๒ ประเภทที่จัดตามสิ่งของที่ใหทาน มี ๓ ไดแก
๑) อามิสทาน การใหทานดวยสิ่งของ

๒) ธรรมทาน การใหทานดวยการแนะนําศิลปวิทยา รวมถึงใหธรรมเปนทาน

๓) อภัยทาน การใหทานโดยการใหอภัย

๒.๓.๓ ประเภทที่จัดตามเปาหมายในการใหทาน มี ๒ ไดแก

๑) วัฏฏทาน หรือวัฏฏคามีทาน การใหทานที่ปรารถนามนุษยสมบัติและสวรรคสมบัติ

๒) วิวัฏฏทาน หรือวิวัฏฏคามีทาน การใหทานที่ปรารถนาออกจากทุกขในสังสารวัฏ

๒.๓.๔ ประเภทที่จัดตามลักษณะและวิธีการใหทาน มี ๓ ไดแก

๑) ทานทาส การใหทานโดยที่ผูใหยังเปนถูกกิเลสครอบงํา และใหในสิงที่เลวแกคนอื่น
                                                                ่

๒) ทานสหาย การใหทานที่เสมอกับสิงที่ตนมี
                                ่

๓) ทานบดี การใหทานที่ประณีตกวาสิ่งที่ตนมี

กลาวโดยสรุป ทานประเภทแรกมุงถึงบุคคลผูจะรับทานโดยมีขอบเขตกวางแคบตางกัน ประเภทที่
                           
สองมุงกลาวถึงสิงของที่จะใหทานซึ่งมีทั้งใหวัตถุและใหธรรม ประเภทที่สามมุงถึงเปาหมายของ
               ่
การใหทาน สวนประเภทที่สมุงถึงบุคคลผูใหทานโดยจัดตามสภาพของจิตใจที่ยังมีกิเลสมากนอย
                        ี่
ตางกัน มองโดยสรุปก็มีเพียงสามประเภทเทานั้น คือผูใหทาน ผูรบทาน วัตถุทาน สวนเปาหมาย
                                                              ั
ทานนั้นขึ้นอยูกับผูใหทานเปนสําคัญ เพราะกระบวนการใหทานบุคคลผูใหยอมแสดงบทบาท
                                                                      
สําคัญกวาองคประกอบอยางอื่น ในที่นี้จะไมขอกลาวรายละเอียด เพราะจะทําใหประเด็นกวาง
เกินไป ผูเขียนจึงงดการอธิบายประเภทของทานไวเพียงเทานี้กอน ผูสนใจรายละเอียดเอียด
เกี่ยวกับประเภทของของทานโปรดศึกษาไดจากในทักขิณาวิภังคสูตร [๑๒] ศึกษาความหมายของ
ทานและประเภทของทานในคัมภีรมงคลัตถทีป[๑๓] ในทุติยทานสูตร[๑๔] ในทานสูตร[๑๕] คัมภีร
                            ั
ปรมัตถทีปนี อรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎก[๑๖] ขุททกนิกาย ธรรมบท[๑๗]ในทานวรรค
แหงอังคุตตรนิกาย”[๑๘] ศึกษาอภัยทานในอรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎก[๑๙]

๒.๔ องคประกอบของทาน

โดยทั่วไป องคประกอบของทาน มี ๓ สวนคือ ผูใหทาน ผูรับทาน และวัตถุทาน โดยเรียกตาม
ภาษาพระวา ทายก คือ ผูใหทาน ๒) ปฏิคาหก คือ ผูรับทาน              ๓) ไทยธรรรม คือ วัตถุที่ให
ทาน[๒๐] หากขาดสวนใดสวนหนึ่งการใหทานยอมไมครบองคประกอบ และการวินิจฉัยคุณคา
ของทานยึดเอาองคประกอบหลักทั้ง ๓ เหลานี้เปนเกณฑ

๒.๔.๑ องคประกอบของทายก มี ๓ ประการคือ

๑. บุพพเจตนา หมายถึงทายกยอมเปนผูยินดี กอนที่จะใหทานลวงหนา ๑ เดือนหรือ ๑๕ วัน วา
เราจักใหทาน เจตนาในสวนนี้เกิดขึ้นตั้งแตเกิดความคิดเชนนี้ จนถึงขณะจัดแจงเครื่องอุปกรณ
สําหรับใหทานกอนมุญจนเจตนา ทายกยอมมีจิตยินดีในขณะนั้นวา เราจักฝงขุมทรัพยอันเปนเหตุ
แหงสมบัติที่สามารถจะติดตามเราไปได

๒. มุญจนเจตนา หมายถึง ขณะที่ใหทาน ยอมมีใจยินดีในทานที่ตนกําลังใหนั้น เจตนาในขณะ
กําลังใหนี้ เกิดขึ้นเมื่อทายกบรรจงวางไทยธรรมในมือของทักขิไณยบุคคล ทําจิตใหเลือมใสวา เรา
                                                                               ่
กําลังทําการถือเอาสิ่งที่เปนแกนสาร มีสาระจากทรัพยที่ไมมีสาระไมมีแกนสาร

๓. อปราปรเจตนา หมายถึงหลังจากใหทานแลว ทายกยอมยินดีเสมอ ๆ เมื่อระลึกถึงทานที่ตนได
ใหแลว เจตนาในสวนนี้ เกิดขึ้นหลังจากทายกบริจาคไทยธรรมแกทักขิไณยบุคคลแลว มีจิตใจชื่น
บาน เกิดปติโสมนัสวา ทานที่ชื่อวาบัณฑิตบัญญัติไว เราก็ไดปฏิบัติตามแลว ทานของเราสําเร็จ
ประโยชนดวยดีแลว
สิ่งสําคัญประการหนึ่งก็คือ เจตนาทั้ง ๓ ประการนี้ จะบริบูรณครบองคไดเมือทายกนั้น
                                                                                ่
ประกอบดวยสัมมาทิฏฐิ มีความเชื่อในกรรมและผลของกรรม คือเชื่อวาทานเปนความดี
พระพุทธเจาเปนตนทรงบัญญัติไว ทานที่ทําแลวมีผล บุญกรรมทีบุคคลบําเพ็ญแลวยอมมีผล
                                                           ่

     ๒.๔.๒ องคประกอบของปฏิคาหก มี ๓ ประการคือ

๑. เปนผูปราศราคะหรือเปนผูปฏิบัติเพือกําจัดราคะ
                                     ่

๒. เปนผูปราศโทสะหรือเปนผูปฏิบัติเพื่อกําจัดโทสะ

๓. เปนผูปราศโมหะหรือเปนผูปฏิบัติเพื่อกําจัดโมหะ
                            

องคของปฏิคาหกทั้ง ๓ ประการนี้ไมไดจํากัดอยูเฉพาะพระอรหันตเทานั้นวาเปนผูถึงพรอมดวย
องคของปฏิคาหก แมทานที่ถวายแกพระอนาคามี พระสกทาคามี พระโสดาบัน กระทั่งสามเณร
ผูรบใช ถึงบวชในวันนั้น ก็ชื่อวา บวชเพื่อโสดาปตติมรรค ฉะนั้น ทานที่ถวายแกสามเณรก็ถือไดวา
    ั
ถวายแกทานผูปฏิบัติเพือกําจัดราคะ โทสะ โมหะเชนกัน ทานที่ประกอบดวยองค ๖ คือ องคของ
                        ่
ทายก ๓ และปฏิคาหก ๓ เหลานี้นับวามีผลมาก มีอานิสงสมาก

๒.๔.๓ องคประกอบของวัตถุทาน มี ๓ คือ

               ๑) เปนของสะอาด ไดมาโดยบริสุทธิ์

๒) เปนของประณีต

               ๓) เปนของที่เหมาะสม สมควรแกผรับ
                                             ู

สิ่งที่ควรเนนเปนพิเศษในที่นี้คือ จาคเจตนา คือเจตนาเปนเหตุใหบริจาคทาน บุคคลเมื่อจะใหทาน
ตองประกอบดวยเจตนาที่มีศรัทธา มีหิริจงใหทาน และทานที่ใหนั้นเปนทานที่ไมมีโทษ จาคเจตนา
                                      ึ
เหลานี้จึงเรียกวาเปนทาน เจตนาเปนเหตุบริจาคทานแกผูอื่น ซึ่งมีปญญาเครื่องรูดีเปนเบืองหนา
                                                                                          ้
ประกอบดวยวัตถุ ๑๐ มี ขาวเปนตนชื่อวาทาน หรือความไมโลภ ที่ประกอบดวยเจตนาเปนเหตุให
บริจาคทานนั้น ก็เรียกวา ทานเชนกัน [๒๑] ทานที่ทายกเปนผูมสัมมาทิฏฐิ คือเปนผูมีความเชือวา
                                                           ี                           ่
ทานที่ทายกใหแลวยอมมีผล ทานเปนความดี ทานผูรมีพระพุทธเจาเปนตน สรรเสริญไวและ
                                                ู
บัญญัติไวแลว ทานในสวนนี้ จึงหมายเอาเจตนาเปนเหตุใหคนบริจาคทาน ซึ่งเปนไปทางใจ
(เจตสิกทาน) ลักษณะของทานที่มุงเจตนาเปนหลักนี้ เปนเกณฑหลักสําหรับตัดสินคาทางจริยะ
ของทานประการหนึ่ง ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดอีกครังหนึ่งในเกณฑตัดสินเรื่องทาน
                                             ้

ประการตอมา คือ วิรัติ คือการงดเวน ไดชื่อวาทาน เพราะเมื่อบุคคลประกอบดวยวิรัติ ยอมจะงด
เวนจากเจตนาแหงบุคคลผูทุศีล ไดแก ความกลัว และความขลาดเปนตน ขอนี้ จะเห็นไดจากการ
ใหอภัยแกบุคคลอื่น เปนตน วิรัติมี ๓ อยางคือ ๑) สัมปตตวิรัติ งดเวนสิ่งที่มาถึงเขาโดยมิได
สมาทาน สมาทานวิรัติงดเวนเพราะการสมาทาน และสมุจเฉทวิรัติงดเวนโดยสิ้นเชิง[๒๒]วิรัติ
ประการสุดทายนี้เปนวิรัติของพระอริยสาวกผูไดสําเร็จอริยมรรคและอริยผลแลว เพราะภัยและเวร
ทั้ง ๕ ของพระอริยสาวกเปนอันสงบแลว ตั้งแตวิรัตนั้นประกอบพรอมดวยอริยมรรคกลาวคือการ
                                                ิ
บรรลุมรรคผล

ประการสุดทายคือ ไทยธรรม ไดชื่อวาทาน เพราะบุคคลเมื่อจะใหก็ยอมใหขาวและน้ําเปนตนเปน
                                                              
ทาน เมื่อหมายถึงวัตถุสําหรับใหทาน จึงเรียกวาวัตถุนั้นวา เปนไทยธรรม

ทานมี ๓ อยางดังที่กลาวมาแลว แตโดยเนื้อความมีเพียง ๒ อยางคือ ธรรมที่เกี่ยวเนื่องทางใจ
(เจตสิกธรรม) และไทยธรรม เมื่อกลาวโดยสรุปแลว ในมังคลัตถทีปนี หมายความเฉพาะจาค
เจตนาเทานั้นวาเปนทาน

๒.๕ เหตุเกิดแหงทาน ลักษณะเฉพาะและวิธีการใหทาน
การใหทานเปนพิธีกรรมที่ผนวกอยูกับประเพณีพิธีกรรมทางศาสนา และขนบธรรมเนียม จารีต
ประเพณีทางสังคมจากคติความเชื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากศาสนา ซึ่งแตละทองถิ่นมีคติความเชื่อ
ตางกัน แตโดยเนื้อหาสาระแลว ทานยอมมีคุณคา และมีเปาหมายรวมกัน ตางกันแตเพียงเหตุ
ปจจัยทีมาเทานั้น
        ่

ในทานูปปปตติสูตร พระองคตรัสเหตุที่ทําใหคนใหทานเพราะเขาปรารถนามนุษยสมบัติ สวรรค
สมบัติ พรหมสมบัติ การที่เขาปรารถนาอยางนั้นเพราะเขาเห็นกษัตริย พราหมณ คหบดีผูพรัง
                                                                                   ่
พรอมดวยกามคุณ ๕ ไดฟงเรื่องสวรรค ๖ ชั้นและพรหมชั้นสูง[๒๓]            คนบางกลุมก็ใหทาน
เพราะความกลัว เพราะหวังผลตอบแทนทางดานโลกธรรม[๒๔] บางคนใหทานเพราะนึกวาเปน
บุพการีชนคือใหเพื่อรักษาวงศตระกูลดั้งเดิม บางคนใหทานเพราะตองการเขาถึงสุคติภพ บางคน
ใหทานเพราะตองการอบรมจิตใหเบิกบาน และบางคนใหทานเพื่อประดับปรุงแตงจิต [๒๕] แต
อยางไรก็ตาม ความปรารถนาเหลานี้ จะสําเร็จไดกดวยจิตที่บริสุทธิ์ แตจิตอธิษฐานภาวนาที่นอม
                                              ็
ไปเพือสิงเหลานี้ จัดวายังเปนไปเพือโลกียะสมบัติ
     ่ ่                            ่

กลาวโดยสรุป เหตุแหงการใหทานมี ๕ ระดับ คือ

๑) การใหเพราะถึงแกอคติอยางใดอยางหนึงจัดอยูในระดับที่ไมดีนัก
                                       ่      

๒) การใหตามประเพณีเปนธรรมเนียมปฏิบัติของวงศสกุล จัดอยูในระดับปานกลางแตโอกาสที่จะ
ผิดพลาดมีมากเนื่องจากเปนการยึดถือตามประเพณี

๓) เปนการใหเพราะหวังสภาวะที่ดีขึ้นหรืออุปธิอยูในระดับกลาง

๔) เปนการใหเพราะเห็นวาการใหนั้นเปนสิงที่ดี ขอนี้จัดอยูในเกณฑดี
                                         ่

๕) เปนการใหทานในฝายดีกวาทุกขอ เพราะเปนการใหทานเพื่อพัฒนาจิตใจ
สวนลักษณะของการใหหรือวิธีการใหทานนั้น พระพุทธองคตรัสไวทงในฝายดีและในฝายที่ไมดี
                                                            ั้
ลักษณะและวิธีการใหทานในฝายดี คือ ทายกยอมใหแกผูมาสูถิ่นของตน ผูเตรียมจะไป ใหทาน
สมัยขาวแพง ใหขาวใหมแกผมีศีล และใหผลไมใหมแกผูมีศล[๒๖] วิธีการการใหโดยเนนที่ทายก
                           ู                            ี
คือใหโดยเคารพออนนอม       ใหดวยมือตนเอง ใหของไมเปนเดน เห็นผลที่จะมาถึงให [๒๗]

ในสัปปุรสทาน พระองคทรงแสดงลักษณะและวิธการใหทานโดยแยกเปนสิ่งที่ให ปฏิคาหกผูรบ
        ิ                              ี                                        ั
ทานและเจตนาของทายกผูใหทานรวมเปน ๘ ประการ ๑)ใหของที่สะอาด ๒)ใหของประณีต ๓) ให
เหมาะสมกับกาละ ๔)           ใหของสมควร เปนประโยชน ๕)         พิจารณากอนแลวจึงให เลือกให
ในบุญญเขตที่ดี ๖) ใหอยางสม่ําเสมอ เปนนิจทาน ๗)           เมื่อให ทําจิตใหผองใส ๘) ครั้นให
แลว จิตใจเบิกบาน[๒๘]

        ทรงสรุปผลของทานที่กระทําดีแลววาสัตบุรษครั้นใหทานดวยศรัทธาแลวยอมเปนผูมงคั่ง
                                               ุ                                     ั่
มีทรัพยมาก มีโภคะมากและเปนผูมรูปสวยงาม นาดู นาเลื่อมใส ประกอบดวยผิวพรรณงามยิงนัก
                                ี                                                 ่
ในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล (บังเกิดขึ้น) …เปนผูมีบุตรภรรยา ทาส คนใชหรือคนงาน เปนผูเชือฟง
                                                                                      ่
เงี่ยโสตลงสดับคําสั่งตังใจใครรู ในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล …ยอมเปนผูมีความตองการที่เกิดขึ้นตาม
                       ้
กาลบริบรณ ในที่ ที่ทานนั้นเผล็ดผล …เปนผูมีจิตนอมไปเพือบริโภคกามคุณ ๕ สูงยิ่งขึ้น ในที่ ที่
       ู                                               ่
ทานนั้นเผล็ดผล …เปนผูมีโภคทรัพยไมมีภยันตรายมาแตที่ไหนๆคือ จากไฟ จากน้ํา จากพระราชา
จากโจร จากคนไมเปนที่รัก หรือจากทายาทในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล[๒๙]

        สวนลักษณะของการใหทานที่ไมดีโดยรูปแบบและวิธีการใหทานนั้น พึงศึกษาไดจาก
ลักษณะที่ตรงกันขามที่กลาวมาในฝายขางดี ในอสัปปุริสทานสูตร[๓๐]
๒.๖ การบําเพ็ญทานบารมี

            เพื่อใหประเด็นที่จะอภิปรายชัดเจนขึ้นในที่นี้จึงมาศึกษา บารมี ในพระไตรปฎก คัมภีร
ปกรณพิเศษ อรรถกถา และคัมภีรอื่น ๆ ทั้งความหมายในคัมภีรเหลานั้นก็ยอมจะแตกตางกันไป
ในที่นี้จะกลาวเฉพาะความหมายของคําวา บารมี ที่เกี่ยวของกับทานบารมีที่ตองการศึกษาใน
บทความนี้

        บารมี คือคุณความดีที่ควรบําเพ็ญมี ๑๐ อยาง ไดแก ทานบารมี ศีล เนกขัมมะ ปญญา
วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา คุณความดีที่ไดบําเพ็ญมา คุณสมบัติที่ทําใหยิ่งใหญ
[๓๑]

พระธรรมปาละใหความหมายวา บารมีคือคุณธรรมทั้งหลาย มีทานเปนตน กําหนดดวยความเปน
ผูฉลาดในอุบาย คือกรุณาอันตัณหา มานะ และทิฏฐิไมเขาไปกําจัด[๓๒]

        พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ใหความหมายไววา ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่ประพฤติ
ฏิบัติอยางยิงยวดคือความดีที่บําเพ็ญอยางพิเศษ เพื่อบรรลุซงจุดหมายอันสูง เชน ความเปน
             ่                                            ึ่
พระพุทธเจา และความเปนมหาสาวกเปนตน[๓๓]

        และไดอธิบายโดยศัพทความวา คําวาบารมีนั้น โดยตัวศัพทแปลวา ความจบถวน ภาวะที่
ยอดยิ่ง สุดยอด เต็มเปยม หมายถึงคุณความดีที่บําเพ็ญอยางยอดยิ่งของพระโพธิสัตว ไมวาจะ
เปนมหาโพธิสัตว (ทานผูมุงตอการตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา) ปจเจกพุทธเจา (ทานผูมงตอ
                                                                                           ุ
การตรัสรูเปนพระปจเจกพุทธเจา) หรือสาวกโพธิสัตว (ทานผูมุงตอการตรัสรูเปนพระอรหันตสาวก)
ก็ตาม แตโดยทั่วไป จะหมายถึงมหาโพธิสัตว คือทานผูมุงตอการตรัสรูเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
การใหทานที่เปนการบําเพ็ญทานบารมี จะตองเปนการใหทานที่ตองสังสมสืบเนื่องโดยตลอดโดย
                                                               ่
ไมขาดสาย เปนการบําเพ็ญที่เกิดจากการอธิษฐานจิต มีการทําอภินิหาร เพื่อมุงหวังพระ
                                                                        
สัพพัญุตญาณในอนาคตกาล แลวปฏิบัติตามความตั้งใจจนกวาจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง

โดยสรุป ลักษณะของการบําเพ็ญทานบารมี มีดังนี้

๑.      ใหแกคนหรือสัตว เพื่อประโยชนแกเขาในชีวิตที่เปนจริง

๒.     ใหดวยจิตใจเสียสละแทจริง โดยไมหวังอะไรตอบแทน

๓.     การใหนั้น เปนสวนหนึ่งของการกาวไปในกระบวนการฝกฝนพัฒนาตนใหปญญาเจริญ
สมบูรณ เพื่อจะไดบําเพ็ญประโยชนสุขแกสรรพสัตวไดบริบูรณ

๔.     ผูใหจะเปนใครก็ได ไมวาจนมี ใหญโตหรือต่ําตอย ขอสําคัญอยูที่วา

ความเขมแข็งเด็ดเดี่ยวมุงแนวแนไปในกระบวนการศึกษาพัฒนาตน

ความหมายของทานบารมีมักจะพบในชาดกเรืองตาง ๆ โดยเฉพาะในอรรถกถาชาดก สุเมธดาบส
                                   ่
โพธิสัตว ไดเลือกทานบารมีเปนประการแรกกอนจะบําเพ็ญสีลบารมี และบารมีประการอื่น ๆ ตอไป
ดังปรากฏขอความวา

... พระโพธิสัตว ลุกขึ้นจากที่ประทับ ในเวลาที่เทวดาและมนุษยทั้งหลายหลีกไปแลว ประทับนังคู
                                                                                       ่
บัลลังกบนกองดอกไมดวยความดําริวา เราจักพิจารณา (เลือกเฟน) บารมีทั้งหลาย

... พระโพธิสัตว ตกลงพระทัยดังนี้วา เราจะตองเปนพระพุทธเจาอยางแนนอน เพื่อจะไตรตรองถึง
ธรรมทังหลาย ที่เปนเครื่องกระทําความเปนพระพุทธเจา จึงพิจารณาธรรมธาตุทงสิ้นตามลําดับวา
      ้                                                                ั้
ธรรมที่เปนเครื่องกระทําความเปนพระพุทธเจามีอยู ณ ที่ไหนหนอแล อยูเบื้องบนหรือเบืองลาง อยู
                                                                                   ้
ในทิศ หรือทิศเฉียงทั้งหลาย ไดทอดพระเนตรเห็นทานบารมี อันเปนบารมีประการแรกที่พระ
โพธิสัตวองคกอน ๆ ไดประพฤติปฏิบัติกันมาแลว จึงแนะนําตนเองดังนี้วา ดูกอนสุเมธบัณฑิต ทาน
ควรบําเพ็ญทานบารมีเปนประการแรกใหบริบูรณนับตั้งแตบัดนี้เปนตนไป เปรียบเสมือนหมอน้ําที่
คว่ํา ยอมหลั่งน้ําออกจนหมดไมมีเหลือ ทานก็จักตองไมแลเหลียวถึงทรัพยสมบัติ
ยศฐาบรรดาศักดิ์ บุตร ภรรยา หรืออวัยวะนอยใหญ ใหทานแกผูขอทั้งหลายที่พบเขา ทําใหถึงที่สุด
ตามที่คนเหลานันตองการโดยไมใหเหลือ นั่งที่โคนตนโพธิแลวจะตองเปนพระพุทธเจา พระ
               ้
โพธิสัตวนั้นจึงอธิษฐานทานบารมีเปนประการแรกอยางหนักแนน

... พระโพธิสัตวพิจารณาเห็นบารมี ๑๐ อุปปารมี ๑๐ และปรมัตถปารมี ๑๐ อยางนี้วา การบริจาค
ขาวของเครื่องใชทั่วไป ชื่อ ทานปารมี การบริจาคอวัยวะ ชื่อวา ทานอุปปารมี การบริจาคชีวิต ชื่อ
วา ทานปรมัตถปารมี.[๓๔]

การที่พระโพธิสัตวเลือกทานบารมีเปนประการแรกนั้น ยอมแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการให
ทาน เนื่องจากการใหทานนี้เปนธรรมที่ตรงขามกับความโลภ และมัจฉริยะ (ความตระหนี่) เมื่อ
บุคคลใหทานยอมสามารถขจัดความโลภ ความตระหนี่ในใจตนเอง ไมยืดมั่นถือมั่น ไมยึดติดกับ
วัตถุ หรือแมกระทั้งบุตร ธิดา และภรรยา สามี ซึ่งเปนสิ่งที่จะตองละใหไดในระดับเริ่มตนกอนที่จะ
บําเพ็ญบารมีในขั้นอื่น ๆ ที่สูงขึ้นไป ทานบารมีนี้มี ๓ ระดับคือ ระดับบารมี ระดับอุปบารมี และ
ระดับ ปรมัตถบารมี

๑) ทานบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละทรัพย ในขุททกนิกาย จริยาปฎก กลาวถึงการ
บําเพ็ญทานบารมีของมหาโควินทพราหมณโพธิสัตวที่ไดบริจาคมหาทานรอยลานแสนโกฏิ เพื่อ
พระสัพพัญุตญาณ[๓๕]

          ๒) ทานอุปบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละอวัยวะ เชนดวงตา และโลหิต ในการ
บําเพ็ญทานอุปบารมีนี้ ในขุททกนิกาย จริยาปฎก กลาวถึงพระจริยาของพระเจาสีวราชโพธิสัตวที่
                                                                          ี
ใหทานพระเนตรขางหนึ่งแกทาวสักกะ การใหทานครั้งนี้ก็เพื่อสัพพัญุตญาณ[๓๖]
๓) ทานปรมัตถบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละชีวิต ในสสปณฑิตจริยา กลาวถึง
การบําเพ็ญทานปรมัตถปารมีของสสบัณฑิตพระโพธิสัตวที่อุทิศรางกายใหเปนทานแกพราหมณ
[๓๗]

           การใหทานของพระโพธิสัตวนี้ถือวาเปนการกระทําที่ทําไดยาก เพราะไมมีความเสียดายใน
สิ่งที่ตนให มีจิตยินดีและมองเห็นประโยชนตอสรรพสัตวจึงไดใหทาน โดยเฉพาะทานในระดับที่สอง
                                          
คือทานอุปบารมี และปรมัตถบารมียิ่งเปนทานที่ทําไดยาก เพราะมีการสละอวัยวะบางสวน เชน
ตา เปนตน หรือการบริจาคอวัยวะใหกับผูที่ตองการเปลี่ยนถายอวัยวะเพื่อใหใชงานไดตามปกติ
โดยความสมัครใจ มิใชการแลกเปลี่ยน เหลานี้จัดเปนทานอุปบารมี

สวนการบําเพ็ญปรมัตถบารมี เปนการบําเพ็ญทานขั้นสูงสุดในบรรดาการบําเพ็ญบารมีดวยการให
ทาน เนื่องจากการบําเพ็ญปรมัตถบารมีนี้ ตองสละชีวิตของตนเพื่อผูอื่น การยอมสละชีวิตของตน
เพื่อผูอื่นในสังคมปจจุบันนี้ อาจจะทําไดโดยการยอมตายเพื่อผูมีพระคุณ และผูที่เปนที่รักของตน
                                                           
แตการบําเพ็ญปรมัตถบารมี จะตองเปนการสละชีวตที่ตนเองยินดี พรอมใจ ไมถูกบังคับ และสละ
                                            ิ
ไดกับทุกคน ไมวาจะเปนมิตรหรือศัตรู และตองทําไปเพื่อมุงหวังพระสัพพัญุตญาณเพียงสิ่งเดียว
เทานั้น

            ๒.๗ เปาหมายของการใหทาน

เปาหมายของการใหทานในพระพุทธศาสนา แบงได ๓ ระดับคือ

๒.๗.๑ เปาหมายระดับตน คือสิ่งที่บุคคลพึงมี พึงไดในปจจุบัน กลาวคือประโยชนที่จะไดรับในชาติ
นี้ เชน ทรัพยสิน เงินทอง สุขภาพอนามัย ความมีศิลปวิทยา ยศฐาบรรดาศักดิ์ ญาติมิตรสหายและ
ความผาสุกอยางอื่นที่มนุษยพงมีพึงไดทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม
                            ึ
สิ่งเหลานีลวนเปนเรืองของโลกธรรมที่จําเปนสําหรับฆราวาสวิสัย แมจะเปนเรืองของวัตถุ แต
           ้          ่                                                    ่
ความสุขที่เกิดจากวัตถุเหลานี้ก็เปนหนทางแหงการแสวงหาความสุขที่ดี ละเอียดและเปนบรมสุข
ในระดับตอไปได เพราะถาหากบุคคลไมไดรบความสุขหรืออานิสงสแหงการทําบุญใหทาน หรือ
                                       ั
การกระทําของตน ความพยายามเพื่อไปสูสภาวะทีสูงกวาที่เปนอยูยอมไมอาจจะเกิดขึ้นได
                                          ่

           ๒.๗.๒ เปาหมายระดับกลาง เปนจุดหมายที่สูงขึ้นมาอีกระดับหนึง เปนประโยชนใน
                                                                     ่
ดานในหรือประโยชนดานคุณคาของชีวิต เปนหลักประกันชีวิตเมือละโลกนี้ไปแลว ไดแก ความ
                                                           ่
เจริญงอกงามแหงชีวิตจิตใจ สัมปรายิกัตถะประโยชน ๔ ประการ ประกอบดวยศรัทธา เชื่อในสิ่งที่
ควรเชื่อตามหลักพระพุทธศาสนา ถึงพรอมดวยศีล คือรักษากายวาจาเรียบรอย ถึงพรอมดวยการ
บริจาค คือสละแบงปน และถึงพรอมดวยปญญา รูจักบาปบุญคุณโทษ

       ทานในระดับนี้ อยูในระดับที่สูงกวาระดับวัตถุหรือความสุขทางรางกาย กลาวคือเปน
จุดหมายที่เนนเรื่องของจิตใจ เปนการพัฒนาจิตใจเพื่อไปสูระดับทีสูงขึ้น เพราะนอกจากทรัพย
                                                             ่
สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศในโลกปจจุบันนีแลว ทานในระดับนี้ จะเปนการเตรียมความพรอมเพือ
                                        ้                                             ่
การเขาถึงสุคติโลกสวรรคอันเปนสัมปรายภพ

๒.๗.๓ เปาหมายขั้นสูงสุด คือประโยชนสงสุดในทางพระพุทธศาสนา กลาวคือความเปนผูรูแจง
                                     ู
สภาวะของสิงทั้งหลายตามความเปนจริง อยูจบพรหมจรรย ไมมีกจที่จะตองทําอีกตอไปแลว การ
          ่                                              ิ
ดําเนินชีวิตเพื่อเขาถึงจุดหมายขั้นนี้ ก็คือการดําเนินตามทางสายกลางที่เรียกวา มัชฌิมาปฏิปทา
อันเปนทางสายกลางระหวางความหลงมัวเมาในกามสุข และการปฏิบัติตนใหลําบากโดยเปลา
ประโยชน

       ทานในกระบวนการพัฒนาตามหลักอริยมรรค ๘ นี้ ปรากฏอยู ๒ ระดับคือ ในระดับ
ปญญา กลาวคือสัมมาทิฏฐิ ที่หมายถึงความรูในสิงที่เปนกุศลและกุศลมูล กับอกุศลและอกุศลมูล
                                              ่
และเห็นไตรลักษณ ความรูวา ทานที่บุคคลใหแลวยอมมีผล (สัมมาทิฏฐิกะ) เปนตนและรูวาการ
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์

More Related Content

What's hot

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 

What's hot (20)

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 

Viewers also liked

3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
กำลังจะตาย
กำลังจะตายกำลังจะตาย
กำลังจะตายTongsamut vorasan
 
กลอนเบาหวาน
กลอนเบาหวานกลอนเบาหวาน
กลอนเบาหวานTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕Tongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรTongsamut vorasan
 
ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01Wataustin Austin
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒Tongsamut vorasan
 
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖Tongsamut vorasan
 
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายTongsamut vorasan
 

Viewers also liked (10)

3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
กำลังจะตาย
กำลังจะตายกำลังจะตาย
กำลังจะตาย
 
กลอนเบาหวาน
กลอนเบาหวานกลอนเบาหวาน
กลอนเบาหวาน
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 08
 
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕สุภีร์ ทุมทอง   อินทรีย์ ๕
สุภีร์ ทุมทอง อินทรีย์ ๕
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
 
ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
 
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
 
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
 

Similar to เวสสันดรวิเคราะห์

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้Kasetsart University
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำYota Bhikkhu
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 

Similar to เวสสันดรวิเคราะห์ (20)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำ
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

เวสสันดรวิเคราะห์

  • 1. ๑.๑ ประเด็นปญหาเรื่องการใหทานของพระเวสสันดร พระเวสสันดรบําเพ็ญทานบารมีโดยบริจาคพระโอรสพระธิดา และพระชายา ใหแก พราหมณชูชกเพือนําไปเปนทาสรับใช ในทางพระพุทธศาสนาถือวาเปนการใหทานระดับกลางคือ ่ ขั้นอุปทานบารมี ซึ่งพระโพธิสัตวทงหลายนิยมกระทําและบัณฑิตก็สรรเสริญการกระทําเชนนี้ ั้ เพราะผลของการกระทําอยางนีจะเปนปจจัยใหไดสมโพธิญาณซึ่งจะเปนประโยชนตอชาวโลก ้ ั อยางมหาศาล แตในทางสังคมของฆราวาสถือวาเปนสิ่งที่กระทําไดยากอยางยิง และถูกมองวา ่ เปนเรื่องที่ไมถูกตอง เพราะนําความทุกขมาใหบุตรธิดาและพระชายาของตน และขัดกับจริยธรรม ในฐานะของบิดาที่ตองดูแลบุตรธิดาและภรรยาใหมความสุข ี ประเด็นดังกลาวนี้พระยามิลินทกษัตริยแหงโยนกไดตั้งขอสงสัยและถามพระนาคเสนเมือประมาณ ่ ๒,๐๔๖ ปมาแลว ขอสงสัย ประเด็นคําถามและคําตอบของนักปราชญทั้งสองไดดําเนินไปอยาง ดุเดือดชนิดที่ฝายหนึ่งเอาเกียรติยศและศักดิ์ศรีของความเปนพระราชามาเปนเดิมพัน และอีกฝาย หนึ่งก็เอาความมั่นคงของพระพุทธศาสนาเปนประกัน แมวาเรื่องนี้จะผานมาแลวสองพันกวาปก็ ตาม แตยังดูเหมือนวาคุกรุนอยูตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากวาเปนประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรมซึ่ง เกี่ยวของโดยตรงกับวิถชีวิตมนุษยในสังคม โดยเฉพาะการทําหนาที่ของบิดามารดาตอบุตรธิดา ี สามีตอภรรยาเพือแลกกับอุดมการณสูงสุดคือสัมโพธิญาณ โดยพระยามิลินทสวมบทบาทของ ่ สังคมผูครองเรือน สวนพระนาคเสนสวมบทบาทตัวแทนทางศาสนาที่จะตองตอบปญหาใหกระจาง ไมทิ้งหลักพุทธธรรม และไมสรางปญหาสังคมภายหลัง เพราะถาพระนาคเสนตอบปญหานี้ผิด จากแนวพุทธศาสนา นั่นก็แสดงวาปริยัติธรรมถูกทาทายตอการพิสจนจากกระแสสังคม จะสงผล ู ตอการปฏิบัติศาสนา ปฏิเวธธรรมก็จะเปลาประโยชน แตเหตุการณนี้ไดผานบทพิสูจนไปไดดวยดี วีรธรรมของนักปราชญทั้งสองที่ไดทําไวยังอยูในความทรงจําของชาวพุทธตลอดมา
  • 2. อยางไรก็ตาม แมวาเรื่องนี้จะผานมานานแลว แตก็ยังมีชาวพุทธจํานวนมากที่ยังกังขาและตั้ง คําถามอยูตลอดเวลาวาเปนการกระทําไมถูกตอง และเมื่อผนวกกับเรื่องสิทธิมนุษยชนแลวยิ่งมี ประเด็นใหถกเถียงอีกมากมาย ผูเขียนคิดวาถาไดนําเรื่องนีมาอภิปรายกันอีกครังหนึ่งในแงวชาการ ้ ้ ิ นาจะเปนประโยชนตอสังคมและเปนการปกปองพระพุทธศาสนา ชวยใหชาวพุทธทั้งหลายได มองเห็นคุณคาของการใหทานของพระเวสสันดร ตลอดจนวีรธรรมที่พระนาคเสนและพระยามิลินท ไดกระทําไวซงเปนความพยายามอยางยิงที่จะปกปองพระพุทธศาสนาใหคงอยูคูโลกตอไป ึ่ ่ การใหทานถือวาเปนการบําเพ็ญบารมีอยางหนึ่งในบรรดาบารมี ๑๐ อยางใน พระพุทธศาสนา พระโพธิสัตวทั้งหลายลวนบําเพ็ญทานบารมีเปนอันดับแรก กอนที่จะบําเพ็ญ บารมีอยางอื่น เพราะทานบารมีเริ่มจากการสละสิงของภายนอกจนกระทั่งสละสิงของภายใน จาก ่ ่ สิ่งของที่หยาบจนถึงขั้นละเอียดถึงขนาดสละไดแมกระทั่งชีวิตของตน ทั้งนี้เพื่อใหบารมีสมบูรณ และที่สําคัญเพื่อใหไดมาซึ่งสัพพัญุตญาณ อันเปนเปาหมายหลักของพระโพธิสัตวนั่นเอง[๑] การใหทานของคนทั่วไปนั้นถือเปนเรืองปกติของมนุษยผูดํารงชีวิตอยูในสังคม เปนการให ่ ทานที่สละไดไมยากนักเพราะสิงของที่ใหทานนั้นไมใหญโตและมีคานอย แตการใหทานของพระ ่ โพธิสัตวทั้งหลายโดยเฉพาะพระเวสสันดรที่ยอมสละพระชายา พระโอรสและพระธิดาเพื่อใหเปน ทาสแกพราหมณชูชกนั้นเปนสิ่งที่กระทําไดยากยิ่ง เพราะนอกจากจะสูญเสียสิงอันเปนที่รักแลว ่ พราหมณเฒายังแสดงอํานาจบาทใหญเฆี่ยนตีพระโอรสและพระธิดาตอหนาตอตาอยางไรความ ปราณี ซึ่งสถานการณอยางนี้ยอมสรางความเจ็บปวดรวดราวทางจิตใจของผูเปนบิดาอยางมาก ถาเปนสามัญชนคงกระทําไดยากหรืออาจทําไมไดเลย แตพระเวสสันดรไดผานการทดสอบและ พิสูจนถงความมีพระทัยแนวแนมั่นคงในการใหทานอยางดีเยี่ยมจนประสบความสําเร็จมาแลว ึ แมวาการกระทําของพระเวสสันดรจะไดรับการยอมรับวาเปนการกระทําทีบัณฑิต ่ สรรเสริญ เปนแบบอยางที่ดในแงของศาสนาก็ตาม แตในทางสังคมของฆราวาสและสามัญสํานึก ี
  • 3. ของบิดามารดาโดยทั่วไปแลวกลับมองวาเปนการกระทําที่ไมถูกตองเพราะนําความทุกขมาใหบุตร ธิดาซึ่งไมรูเห็นและไมเขาใจอุดมการณของบิดา ยิ่งไปกวานั้น บทบาทของพระเวสสันดรในฐานะ บิดาที่ตองดูแลบุตรธิดาใหมีความสุขและหนาที่ในความเปนสามีที่พึงปฏิบัติตอภรรยาก็ถูกละเลย ไป สายใยแหงความสัมพันธทางครอบครัวถูกตัดขาด ภาพลักษณของสถาบันครอบครัวไมมั่นคง ขาดความอุนเชนนี้แลว นักการศาสนาจะกลาวไดอยางไรวาเปนสิงที่ถูกตองเหมาะสม เปน ่ แบบอยางที่ดีแกสังคมควรกระทําตาม เวสสันดรชาดกเปนชาดกหนึ่งในทศชาติวาดวยการบําเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร ซึ่งเปนชาติสุดทายกอนจะบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เนื้อความของเวสสันดรชาดก กลาวถึงการ บริจาคทานของพระเวสสันดร จนในที่สุดตองถูกไลออกจากพระราชวังไปอยูปาและในที่นั้น พระองคก็ไดพระโอรสและพระชายแกพราหมณและพระอินทรทมาขอ อันเปนการบําเพ็ญทานที่ทํา ี่ ไดยากยิ่ง และเปนที่มาของคติโพธิสัตวที่วา ถาหากจะบําเพ็ญเพียรเพือความเปนพระโพธิสัตวตอง ่ สามารถสละไดทุกสิ่งโดยไมเวนแมกระทั้งชีวิตของตนเองก็ใหได เวสสันดรชาดก มีอิทธิพลตอสังคมไทยแทบทุกภาคของเมืองไทย จะเห็นไดจากการนิยม นําเอาเรื่องพระเวสสันดรมาเทศนและเรียกชือวา เทศนมหาชาติบาง เทศนผเวสบาง ตามแตละ ่ ทองถิ่น มีคตินิยมอยางหนึ่งวา ถาหากใครไดฟงการเทศนเรื่องพระเวสสันดรชาดกจบไดภายในวัน  เดียวจะมีผลานิสงสมากมาย พระมหาสงา ไชยวงศ กลาวถึงอิทธิพลของพระเวสสันดรชาดกตอสังคมไทยและการใหทานตาม คติแหงพระเวสสันดร วา ในชวงกรุงรัตนโกสินทรตอนตน มีการสอนเรืองการสรางบุญกุศลในทางศาสนาที่ไดบุญมาก ่ คือการบริจาคทาน… การทําทานในสังคมไทย สวนหนึ่งมาจากการสอนเรื่องชาดกใน พระพุทธศาสนา ซึ่งเปนเรื่องการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว ชาดกไดเขามามีอิทธิพลตอวิถีชีวิต
  • 4. ของคนไทยมาหลายยุค หลายสมัย นับแตผูนําประเทศจนถึงชาวบานธรรมดา เพราะเปนเรื่องที่ สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได และมีตัวอยางใหเปนเปนรูปธรรมอยางชัดเจน เชน ภาพสลักตางๆ หรือภาพปนโบราณที่เลาเรืองราว ซึงนักโบราณคดีไดสันนิษฐานจากลักษณะทาง ่ ่ ประติมาณวิทยาวา เปนชาดกในพระพุทธศาสนา จริยธรรมที่เปนเอกลักษณของเรือง (เวสสันดรชาดก) อยูที่เนนใหเห็นอานุภาพของความเสียสละ ่ ไมเห็นแกตัว ปลูกฝงนิสัยเรืองความเมตตากรุณาตอกัน เห็นใจกัน ผูรับฟงก็จะมีนสัยโนมเอียงไป ่ ิ ทางพระเวสสันดร เพราะตองการเอาอยาง เมื่อเปนเชนนี้ ความโลภ ความเห็นแกตัวก็จะนอยลง รัก ที่จะเสียสละเอือเฟอกัน มีการปลูกฝงใหเห็นภาพ และปรารถนาสังคมในอุดมคติอยางในสมัยพระ ้ อริยเมตไตรย โดยใชการสรางแรงจูงใจวา แมไมไดทําทาน แตใครก็ตามที่ตังใจฟงธรรมเวสสันดร ตั้งแตตนจนจบ ๑๓ กัณฑก็สามารถปรารถนาพระนิพพาน หรือไปเกิดในสมัยพระศรีอริยเมตไตรย ไดเชนกัน[๒] นอกจากจริยธรรมที่ปรากฏในพระเวสสันดรชาดก ซึ่งเนนที่ความเสียสละเพือ ่ ประโยชนแกสวนรวม คนไทยยังไดนําหลักจริยธรรมเหลานี้มาปฏิบัติและจากลักษณะของความ เปนคนใจบุญสุนทานนี่เอง เชื่อวา พระเวสสันดรชาดกนาจะมีอิทธิพลตอลักษณะนิสัยในความเปน ผูมักใหทานและความเปนผูมีใจโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผ ซึ่งในเรืองนี้ พระมหาบุญทัน อานนฺโท   ่ กลาววา ๑. เวสสันดรชาดกเปนพระพุทธวจนะทีพระพุทธเจาทรงแสดงแกพระภิกษุสงฆพุทธ ่ บริษัท ณ นิโครธาราม ในกรุงกบิลพัสดุ และเมือผูใดไดสดับก็ยอมเกิดสิรสวัสดิมงคล เปนกุศลบุญ ่  ิ ราศี ๒. บุคคลสดับเวสสันดรชาดกอันประดับดวยพระคาถาหนึ่งพัน ในวันและราตรีเดียวให จบและใหบูชาดวยประทีป ธูป เทียน ธงฉัตร สารพัดดอกไม ดอกบัว ดอกผักตบ เปนตน ใหครบ
  • 5. จํานวนถวนสิ่งละพัน ดวยอานิสงสนั้นจะชักนําใหสมมโนรถตามปรารถนา ผูมั่งมุงหมายใครจะพบ ศาสนาพระศรีอริยเมตไตรย[๓] อิทธิพลของความเชื่อเกี่ยวกับการบําเพ็ญทานบารมี สืบเนื่องจากสุโขทัยจนถึงอยุธยาและ รัตนโกสินทร คตินิยมการทําบุญตามพระเวสสันดรโพธิสัตวก็ยังคงอยูเสมอ และการฟงเทศน มหาชาติไมไดจํากัดอยูแคประชาชนเทานั้น แมองคพระมหากษัตริยก็มีพิธีเทศนตามพิธีหลวง และ นอกจากนั้น ยังมีพระมหากษัตริยบางพระองคถือคติตามพระเวสสันดรโพธิสัตวและไดถวายทาน  ดุจวาบําเพ็ญบารมีเพื่อโพธิญาณ เพื่อความเขาใจถูกตองรวมกันและเปนประโยชนทางดานการศึกษาของชาวพุทธ ผูเขียน จึงไดศึกษาวิเคราะหเรืองนี้โดยไดตั้งวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้ ่ ๑.๒ วัตถุประสงคในการศึกษา การวิเคราะหประเด็นเรื่องการใหทานของพระเวสสันดรครังนี้ ้ เพื่อศึกษาเกณฑตัดสินดานพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทานของพระเวสสันดรวาถูกตอง เหมาะสมหรือไม ๑.๓ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผูเขียนไดตั้งความคาดหวังจากงานวิเคราะหครั้งนี้ โดยหวังวาจะ เกิดประโยชน คือ ทําใหทราบเกณฑตัดสินดานพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทานของพระ เวสสันดรวาถูกตองเหมาะสมหรือไม อันจะนําไปสูการประยุกตใชในสังคมตอไป ๑.๔ วิธีการดําเนินการวิจัย งานวิจัยนี้มีกรอบการศึกษาวิจัยเฉพาะเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับการใหทานจากเอกสาร ขอมูลขั้นปฐมภูมิ(Primary Sources)ไดแกคัมภีรสําคัญของพระพุทธศาสนาคือพระวินัย  ปฎก(Vinaya Pitaka) พระสุตตันตปฎก(Suttanta Pitaka) และพระอภิธรรมปฎก และศึกษาคนควาขอมูล แนวการอธิบายพุทธจริยศาสตรเกี่ยวกับการใหทาน และประเด็นที่
  • 6. เกี่ยวของอื่นๆ จากเอกสารขั้นทุติยภูมิ(Secondary Sources) ไดแก คัมภีรอรรถกถา เอกสารงานวิจัย วิทยานิพนธ หนังสือ ตําราและผลงานทางวิชาการของนักการศาสนาและ นักวิชาการทั่วไปทังชาวไทยและชาวตางประเทศ อันเปนวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับ ้ งานวิจัยฉบับนี้ หลังจากคนควาขอมูลไดแลวก็จะเก็บรวบรวมและจัดลําดับขอมูลจากทีไดศึกษาคนควา นําขอมูล ่ ที่ไดมาศึกษาวิเคราะหในเชิงสังคมศาสตร พิสจนทดสอบตามที่ไดตั้งสมมติฐานเอาไว สุดทายก็จะ ู ไดสรุปผลการวิเคราะหวิจัยและนําเสนอขอมูลจากเอกสารที่ไดศึกษาคนควาตอไป อนึ่ง งานวิจัยนี้เนื่องจากจํากัดดวยเรื่องเวลาจึงอาจมีขอบกพรองอยูมาก ผูวิจัยจึงขอนอมรับคําติ  ชมจากครูอาจารยผูเปนปราชญทั้งหลายไดกรุณาชี้แนะในสวนที่บกพรอง เพื่อจะไดนําไปปรับปรุง แกไขใหสมบูรณตอไป สวนที่ ๒. หลักคําสอนเรื่องทานในพระพุทธศาสนา
  • 7. ๒.๑ หลักคําสอน ๒ ระดับ พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนที่มงใหมนุษยพงปฏิบัติเพื่อความสุขแกตนเองและผูอื่น ตาม ุ ึ แนวทางแหงอริยมรรคซึงเปนหนทางสายเดียวเพื่อการเขาถึงเปาหมายสูงสุดคือพระนิพพานอันเปน ่ บรมสุข และเปนอุดมคติของชีวิตตามหลักพุทธธรรม โดยแบงคําสอนออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑) คําสอนแนวสัจธรรมสําหรับสอนกลุมอนาคาริก ๒) คําสอนแนวศีลธรรมสําหรับสอนกลุมอาคาริก  ๑. คําสอนแนวสัจธรรม พระพุทธองคทรงสอนกลุมที่เปนอนาคาริก เชนพระปญจวัคคียดวยการให หลีกจากการทรมานตน และการเติมกามสุขใหแกชวิตจนเกิดความมัวเมา แลวสอนใหปฏิบัติตาม ี มัชฌิมาปฏิปทาคือทางเดินชีวิตอันประเสริฐเพือความพนทุกขอันประกอบดวยสัมมาทิฏฐิเปนตน ่ [๔] ๒. คําสอนแนวศีลธรรม พระองคทรงสอนกลุมอาคาริกคือชนผูครองเรือน โดยปรับระดับคําสอน จากแนวสัจจธรรมซึงเปนนามธรรมมาเปนรูปธรรม โดยทรงสอนอนุปพพิกถาแกยสกุลบุตร บิดา ่ ุ มารดาและภรรยาของเขา ตลอดทั้งเพื่อน ๕๔ คน จนกระทั่งทานเหลานั้นไดบรรลุธรรมเปนพระ อรหันต เนื้อหาในอนุปุพพีกถาไดกลาวถึงทาน ศีล สวรรค โทษของกาม และอานิสงสของการออก บวช ทั้งนี้เพื่อเปนการฟอกจิตของผูที่เคยครองเรือนใหสามารถขจัดความหวงใยเรืองทรัพยสินกอน ่ จากนั้นจึงสอนเรืองศีล สวรรค โทษของกามและการออกกจากกามเปนลําดับไป แมในที่แหงอื่น ่
  • 8. พระองคก็ทรงสอนในลักษณะเดียวกัน[๕] ดังเชนในบุญกิริยาวัตถุสูตร พระพุทธองคก็ไดตรัสสอน เรื่องทานมัย ศีลมัย และภาวนามัย[๖] คําสอนทั้งสองแนวดังกลาวนี้พระพุทธองคทรงปรับประยุกตใหเขากับจริตของบุคคล เขากับปญหา ชีวิตของเขาจึงจะแกปญหาชีวิตของเขาได เปรียบเหมือนนายแพทยผรักษาคนไขรจักโรคของคนไข ู ู แลวเยียวยา อาการปวยจึงจะหาย ๒.๒ ความหมายและคําสอนเรื่องทาน ที่ปรากฏในพระไตรปฎก อรรถกถา คําวา ทาน หมายถึงการให การเสียสละวัตถุสิ่งของ ๆ ตนเพื่อประโยชนแกคนอื่น เปนการ ใหที่ประกอบดวยเจตนาดี การใหปจจัย ๔ เพื่อประโยชนแกการดําเนินชีวิต การใหพระสงฆเพือ ่ ตองการบุญและบํารุงศาสนา ความหมายของทานครอบคลุมทั้งผูให ผูรบ และสิงของที่ใหทุกอยาง ั ่ และทานก็รวมอยูในคําสอนแนวศีลธรรม คําสอนแนวศีลธรรมซึงมีความสําคัญตอบุคคลทั้งในระดับปจเจกและสังคม โดยพระองคตรัสวา ่ “คนผูหวังประโยชนควรศึกษาบุญนี้ที่ใหผลอันเลิศ อํานวยความสุขให คือ ควรบําเพ็ญทาน ควร ประพฤติธรรมเสมอตนเสมอปลาย (ธรรมจริยสมจริยา) ควรเจริญเมตตาภาวนา บัณฑิตครั้นเจริญ ธรรม ๓ ประการนี้ที่เปนเหตุใหเกิดความสุขแลว ยอมเขาถึงโลกที่เปนสุข ที่ไมมีการเบียดเบียน[๗] ทานมีความสัมพันธโดยความเปนธรรมที่มอุปการะแกกันระหวางศีลและภาวนา มีคําแสดงลําดับ ี ความสัมพันธของทาน ศีล และภาวนาไววา ทานมีอุปการะมากแกศีลและทําไดงาย เพราะฉะนั้น ทานจึงเปนเบืองตนแหงศีล ทานอันศีลกําหนด จึงมีผลมาก มีอานิสงสมาก ดังนั้น ศีลจึงอยูใน ้ ลําดับตอจากทาน นี้แสดงใหเห็นวาทานเปนการทําบุญที่สําคัญประการแรกสําหรับคฤหัสถ ทั้งนี้เนื่องจากคฤหัสถยัง ตองดํารงชีวิตอยูในสังคมและอาศัยปจจัย ๔ เปนเครื่องเลี้ยงชีวิต ปจจัยเหลานี้เปนสิงจําเปน  ่
  • 9. สําหรับการมีชีวิต เมื่อทุกคนตองการปจจัย ๔ เพื่อการดํารงชีวิตเชนเดียวกัน การขวนขวายเพื่อการ ไดมาซึงสิงเหลานี้จงเปนสิ่งที่จําเปนตองกระทําอยูเสมอ เพราะเมื่อชีวิตยังดําเนินไปตราบใด ความ ่ ่ ึ จําเปนที่จะใชปจจัยเหลานี้ก็ยังมีอยูตราบนั้น เมื่อเงือนไขของการมีชีวิตขึ้นอยูกับความตองการทาง ่ วัตถุ การแสวงหาความมั่นคงแกชีวิตเพื่อชีวิตที่ดี มีความสุขสบายตลอดไปจึงเปนอุดมคติของการ มีชีวิตในปจจุบันชาติ ซึ่งกรณีนี้เห็นไดชัดเจนในสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลกระแสวัตถุนิยมดังเชน ในปจจุบัน มองในระดับสังคม ทานเปนกลไกลควบคุมสังคมใหดําเนินไปดวยความสงบเรียบรอย สวนใน ระดับปจเจกบุคคล ทานนอกจากจะเปนขอปฏิบัติทางกาย วาจาแลว ยังสงผลถึงสภาวะแหงจิตใจ ของผูใหทาน กลาวคือผูใหยอมไดรบความสุข ความอิมเอิบ ความสบายใจ ขจัดความตระหนี่  ั ่ ความเห็นแกตัว ความอิจฉาริษยา และความโลภในทรัพยสินของผูอื่น เมื่อหมั่นใหทานเปนนิตย สิ่ง  เหลานี้จะถูกขจัดออกไปและในที่สุดก็จะเปนผูยินดีในการให มีสีหนาและผิวพรรณผองใสดังที่ เรียกวาอิ่มบุญ การใหทานจึงเปนการพัฒนาจิตใจสวนปจเจกบุคคลใหเบาบางจากอกุศลธรรม ทั้งหลาย และเปนทางเพือการปฏิบัตบุญกิริยาขั้นอืน ๆ ตอไป ่ ิ ่ นอกจากนี้ ทานยังมีความสําคัญและเปนหลักธรรมประการแรกในหลักคําสอนอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อการ ขัดเกลาและบรรเทาความตระหนี่ ความยึดติดในวัตถุ ความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปน กิเลสอยางหยาบใหเบาบางกอนจะปฏิบัติธรรมในระดับอื่น ๆ เชน บุญกิริยาวัตถุ ๓[๘] ซึ่ง ประกอบดวยทานมัยเปนอันดับแรก จากนั้นจึงเปนเรื่องของศีลและภาวนาตอไปจนถึงทิฏุชุกรรม สังคหวัตถุ ๔ ก็เริ่มจากทาน จากนั้นจึงเปนความเปนผูมีวาจานารัก การประพฤติสิ่งที่เปน ประโยชนและความเปนผูมีตนสม่ําเสมอ[๙] อนุปุพพีกถา ก็ประกอบดวย ทานกถา สีลกถา สัคค กถา กามาทีนวกถา เนกขัมมานิสังสกถา ธรรมหมวดนี้ พระพุทธองคทรงแสดงแกคฤหัสถเปน ประการแรก กอนจะแสดงหลักธรรมประการอื่น ๆ เหตุผลก็คือเพือเปนการปูพื้นฐานจากสิงที่เปน ่ ่ รูปธรรมทีงายที่สุดไปสูสงที่เปนนามธรรมยากขึ้นไปตามลําดับ มีขอความกลาวไวในอัมพัฏฐสูตร ่ ิ่
  • 10. ดังนี้วาพระผูมีพระภาคเจาไดตรัสแสดงอนุปุพพิกถาแกพราหมณโปกขรสาติ ครั้นแสดงจบแลวทรง  ทราบวามีจิตคลอง มีจิตออน มีจิตปราศจากนิวรณ มีจิตสูง มีจิตผองใสแลว จึงทรงประกาศอริยสัจ ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค จนกระทั่งพราหมณไดดวงตาเห็นธรรมอันปราศจากธุลี ปราศจาก มลทินไดเกิดขึ้นแลวแกพราหมณโปกขรสาติวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้ง มวลลวนมีความดับไปเปนธรรมดา ณ ที่นั่งนั้นแล เหมือนผาทีสะอาดปราศจากมลทิน ควรที่จะรับ ่ น้ํายอมเปนอยางดี ฉะนั้น[๑๐] แมในบารมี ๑๐ ก็ประกอบดวยทานบารมีเปนขอแรก จากนั้นจึง เปน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตาและ อุเบกขาบารมี ในอรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎกกลาวถึงลักษณะของทานในประการอื่นๆ โดยลักษณะแหง การบําเพ็ญบารมีไววา ทานจะชือวาบริสุทธิผองแผวเพราะปราศจากความกําหนดไทยธรรมและ ่ ์ ปฏิคาหกเปนตน อันกิเลสทั้งหลาย มีตัณหา มานะ ทิฏฐิ เปนตน ไมเขาไปกระทบ และกลาววาสิงที่ ่ เปนปฏิปกขตอการใหทานคือความตระหนี่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เพราะทาน ประกอบดวยคุณคืออโลภะ อโทสะ อโมหะ ในไทยธรรม ปฏิคาหกและผลของทาน สวนขอปฏิบัติ ของการใหทาน คือการทําความอนุเคราะหสัตวทั้งหลายโดยสวนมาก ดวยการสละเครื่องอุปกรณ ความสุข รางกายและชีวิต ดวยการกําจัดภัย และการชี้แจงธรรม[๑๑] กลาวโดยสรุป การใหทานเปนการบําเพ็ญบุญหรือการทําความดีสําหรับคฤหัสถหรือผูครอง เรือนประการหนึ่ง ตามหลักบุญกิริยาวัตถุ ทายกผูตองการบําเพ็ญบุญตองเริมจากการใหทาน เพื่อ ่ ดําเนินไปสูศีล และภาวนาในที่สุด การใหทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนาตามหลักบุญ กิริยาวัตถุจึงเปนการพัฒนาจิตใจอยางเปนขันตอน มีความสัมพันธสืบเนื่องกันจากระดับที่บุคคล ้ สามารถทําไดโดยงาย ไปถึงระดับที่ตองอาศัยความเพียรอยางแรงกลา บุคคลผูสามารถเจริญ สมาธิภาวนาจนใจสงบแนวแนควรแกการงานนั้น จิตใจของบุคคลนั้น ตองไดรบการฝกฝนในขั้น ั การใหทาน และการรักษาศีลเพื่อขจัดความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปนรากเหงาของ
  • 11. อกุศลมาเปนอยางดี ซึ่งถาบุคคลไมสามารถชําระศีลอันเปนการบําเพ็ญเพียรทางกายใหบริสุทธิ์ ก็ ไมอาจจะยังสมาธิภาวนาใหเกิดและไมอาจจะบรรลุฌาน วิปสสนา (ญาณ) มรรคและผลใด ๆ ได ทานในระดับปจเจกบุคคล จึงเปนไปเพื่อขจัดความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปนเหตุเกิด แหงอกุศลมูล สวนทานในระดับสังคม เปนหลักปฏิบัติการฝกจิตใจใหมีความเอื้อเฟอเผือแผ รูจัก  ่ การแบงปน ไมแกงแยง ชิงดีชงเดน ไมกอใหเกิดการทะเลาะวิวาท เปนเหตุสรางความบาดหมาง ิ ใหแกคนในสังคม เมื่อทุกคนรูจักการใหแกผูอื่น ผูใหยอมเปนที่รัก และทุกคนจะรูสึกถึงความ ปลอดภัยในชีวิต การงาน และการใชชีวิตที่ไมตองหวาดระแวง ยอมนํามาซึงความสุขทั้งตอตนเอง ่ และสังคม นอกจากทานในระดับสังคมหรือประโยชนตอผูอื่นแลว ในระดับทีสูงขึ้นไป สําหรับผูที่มี ่ ความเสียสละเพือสังคมอยางยอดเยี่ยม ทานยังเปนคุณธรรมสําหรับการสรางบารมีเพื่อการบรรลุ ่ คุณธรรมในระดับทีสูงขึ้นไป ดังเชน ทานอุปบารมีทพระพุทธองคทรงบําเพ็ญมาเมือครั้ง ่ ี่ ่ เสวยพระชาติเปนพระเวสสันดร ไดทรงใหพระนางมัทรีผูเปนมเหสี กัณหา และชาลีบุตรธิดาเปน ทานแกชูชก ซึ่งเปนทานที่กระทําไดยากยิ่ง ทานจึงมีความสําคัญทั้งในระดับปจเจกบุคคล และใน ระดับสังคม ๒.๓ ประเภทของทาน ประเภทของทานตามหลักพระพุทธศาสนาอาจแบงได ๔ ประเภท คือ ๒.๓.๑ ประเภทที่จัดตามปฏิคาหก มี ๒ ไดแก ๑) ปาฏิปุคคลิกทาน การใหทานเจาะจงผูรับ  ๒) สังฆทาน การใหทานแกสงฆ มุงที่หมูคณะ ๒.๓.๒ ประเภทที่จัดตามสิ่งของที่ใหทาน มี ๓ ไดแก
  • 12. ๑) อามิสทาน การใหทานดวยสิ่งของ ๒) ธรรมทาน การใหทานดวยการแนะนําศิลปวิทยา รวมถึงใหธรรมเปนทาน ๓) อภัยทาน การใหทานโดยการใหอภัย ๒.๓.๓ ประเภทที่จัดตามเปาหมายในการใหทาน มี ๒ ไดแก ๑) วัฏฏทาน หรือวัฏฏคามีทาน การใหทานที่ปรารถนามนุษยสมบัติและสวรรคสมบัติ ๒) วิวัฏฏทาน หรือวิวัฏฏคามีทาน การใหทานที่ปรารถนาออกจากทุกขในสังสารวัฏ ๒.๓.๔ ประเภทที่จัดตามลักษณะและวิธีการใหทาน มี ๓ ไดแก ๑) ทานทาส การใหทานโดยที่ผูใหยังเปนถูกกิเลสครอบงํา และใหในสิงที่เลวแกคนอื่น ่ ๒) ทานสหาย การใหทานที่เสมอกับสิงที่ตนมี ่ ๓) ทานบดี การใหทานที่ประณีตกวาสิ่งที่ตนมี กลาวโดยสรุป ทานประเภทแรกมุงถึงบุคคลผูจะรับทานโดยมีขอบเขตกวางแคบตางกัน ประเภทที่  สองมุงกลาวถึงสิงของที่จะใหทานซึ่งมีทั้งใหวัตถุและใหธรรม ประเภทที่สามมุงถึงเปาหมายของ  ่ การใหทาน สวนประเภทที่สมุงถึงบุคคลผูใหทานโดยจัดตามสภาพของจิตใจที่ยังมีกิเลสมากนอย ี่ ตางกัน มองโดยสรุปก็มีเพียงสามประเภทเทานั้น คือผูใหทาน ผูรบทาน วัตถุทาน สวนเปาหมาย ั ทานนั้นขึ้นอยูกับผูใหทานเปนสําคัญ เพราะกระบวนการใหทานบุคคลผูใหยอมแสดงบทบาท  สําคัญกวาองคประกอบอยางอื่น ในที่นี้จะไมขอกลาวรายละเอียด เพราะจะทําใหประเด็นกวาง เกินไป ผูเขียนจึงงดการอธิบายประเภทของทานไวเพียงเทานี้กอน ผูสนใจรายละเอียดเอียด เกี่ยวกับประเภทของของทานโปรดศึกษาไดจากในทักขิณาวิภังคสูตร [๑๒] ศึกษาความหมายของ ทานและประเภทของทานในคัมภีรมงคลัตถทีป[๑๓] ในทุติยทานสูตร[๑๔] ในทานสูตร[๑๕] คัมภีร ั
  • 13. ปรมัตถทีปนี อรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎก[๑๖] ขุททกนิกาย ธรรมบท[๑๗]ในทานวรรค แหงอังคุตตรนิกาย”[๑๘] ศึกษาอภัยทานในอรรถกถาแหงขุททกนิกาย จริยาปฎก[๑๙] ๒.๔ องคประกอบของทาน โดยทั่วไป องคประกอบของทาน มี ๓ สวนคือ ผูใหทาน ผูรับทาน และวัตถุทาน โดยเรียกตาม ภาษาพระวา ทายก คือ ผูใหทาน ๒) ปฏิคาหก คือ ผูรับทาน ๓) ไทยธรรรม คือ วัตถุที่ให ทาน[๒๐] หากขาดสวนใดสวนหนึ่งการใหทานยอมไมครบองคประกอบ และการวินิจฉัยคุณคา ของทานยึดเอาองคประกอบหลักทั้ง ๓ เหลานี้เปนเกณฑ ๒.๔.๑ องคประกอบของทายก มี ๓ ประการคือ ๑. บุพพเจตนา หมายถึงทายกยอมเปนผูยินดี กอนที่จะใหทานลวงหนา ๑ เดือนหรือ ๑๕ วัน วา เราจักใหทาน เจตนาในสวนนี้เกิดขึ้นตั้งแตเกิดความคิดเชนนี้ จนถึงขณะจัดแจงเครื่องอุปกรณ สําหรับใหทานกอนมุญจนเจตนา ทายกยอมมีจิตยินดีในขณะนั้นวา เราจักฝงขุมทรัพยอันเปนเหตุ แหงสมบัติที่สามารถจะติดตามเราไปได ๒. มุญจนเจตนา หมายถึง ขณะที่ใหทาน ยอมมีใจยินดีในทานที่ตนกําลังใหนั้น เจตนาในขณะ กําลังใหนี้ เกิดขึ้นเมื่อทายกบรรจงวางไทยธรรมในมือของทักขิไณยบุคคล ทําจิตใหเลือมใสวา เรา ่ กําลังทําการถือเอาสิ่งที่เปนแกนสาร มีสาระจากทรัพยที่ไมมีสาระไมมีแกนสาร ๓. อปราปรเจตนา หมายถึงหลังจากใหทานแลว ทายกยอมยินดีเสมอ ๆ เมื่อระลึกถึงทานที่ตนได ใหแลว เจตนาในสวนนี้ เกิดขึ้นหลังจากทายกบริจาคไทยธรรมแกทักขิไณยบุคคลแลว มีจิตใจชื่น บาน เกิดปติโสมนัสวา ทานที่ชื่อวาบัณฑิตบัญญัติไว เราก็ไดปฏิบัติตามแลว ทานของเราสําเร็จ ประโยชนดวยดีแลว
  • 14. สิ่งสําคัญประการหนึ่งก็คือ เจตนาทั้ง ๓ ประการนี้ จะบริบูรณครบองคไดเมือทายกนั้น ่ ประกอบดวยสัมมาทิฏฐิ มีความเชื่อในกรรมและผลของกรรม คือเชื่อวาทานเปนความดี พระพุทธเจาเปนตนทรงบัญญัติไว ทานที่ทําแลวมีผล บุญกรรมทีบุคคลบําเพ็ญแลวยอมมีผล ่ ๒.๔.๒ องคประกอบของปฏิคาหก มี ๓ ประการคือ ๑. เปนผูปราศราคะหรือเปนผูปฏิบัติเพือกําจัดราคะ  ่ ๒. เปนผูปราศโทสะหรือเปนผูปฏิบัติเพื่อกําจัดโทสะ ๓. เปนผูปราศโมหะหรือเปนผูปฏิบัติเพื่อกําจัดโมหะ  องคของปฏิคาหกทั้ง ๓ ประการนี้ไมไดจํากัดอยูเฉพาะพระอรหันตเทานั้นวาเปนผูถึงพรอมดวย องคของปฏิคาหก แมทานที่ถวายแกพระอนาคามี พระสกทาคามี พระโสดาบัน กระทั่งสามเณร ผูรบใช ถึงบวชในวันนั้น ก็ชื่อวา บวชเพื่อโสดาปตติมรรค ฉะนั้น ทานที่ถวายแกสามเณรก็ถือไดวา ั ถวายแกทานผูปฏิบัติเพือกําจัดราคะ โทสะ โมหะเชนกัน ทานที่ประกอบดวยองค ๖ คือ องคของ ่ ทายก ๓ และปฏิคาหก ๓ เหลานี้นับวามีผลมาก มีอานิสงสมาก ๒.๔.๓ องคประกอบของวัตถุทาน มี ๓ คือ ๑) เปนของสะอาด ไดมาโดยบริสุทธิ์ ๒) เปนของประณีต ๓) เปนของที่เหมาะสม สมควรแกผรับ ู สิ่งที่ควรเนนเปนพิเศษในที่นี้คือ จาคเจตนา คือเจตนาเปนเหตุใหบริจาคทาน บุคคลเมื่อจะใหทาน ตองประกอบดวยเจตนาที่มีศรัทธา มีหิริจงใหทาน และทานที่ใหนั้นเปนทานที่ไมมีโทษ จาคเจตนา ึ เหลานี้จึงเรียกวาเปนทาน เจตนาเปนเหตุบริจาคทานแกผูอื่น ซึ่งมีปญญาเครื่องรูดีเปนเบืองหนา ้
  • 15. ประกอบดวยวัตถุ ๑๐ มี ขาวเปนตนชื่อวาทาน หรือความไมโลภ ที่ประกอบดวยเจตนาเปนเหตุให บริจาคทานนั้น ก็เรียกวา ทานเชนกัน [๒๑] ทานที่ทายกเปนผูมสัมมาทิฏฐิ คือเปนผูมีความเชือวา ี  ่ ทานที่ทายกใหแลวยอมมีผล ทานเปนความดี ทานผูรมีพระพุทธเจาเปนตน สรรเสริญไวและ ู บัญญัติไวแลว ทานในสวนนี้ จึงหมายเอาเจตนาเปนเหตุใหคนบริจาคทาน ซึ่งเปนไปทางใจ (เจตสิกทาน) ลักษณะของทานที่มุงเจตนาเปนหลักนี้ เปนเกณฑหลักสําหรับตัดสินคาทางจริยะ ของทานประการหนึ่ง ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดอีกครังหนึ่งในเกณฑตัดสินเรื่องทาน ้ ประการตอมา คือ วิรัติ คือการงดเวน ไดชื่อวาทาน เพราะเมื่อบุคคลประกอบดวยวิรัติ ยอมจะงด เวนจากเจตนาแหงบุคคลผูทุศีล ไดแก ความกลัว และความขลาดเปนตน ขอนี้ จะเห็นไดจากการ ใหอภัยแกบุคคลอื่น เปนตน วิรัติมี ๓ อยางคือ ๑) สัมปตตวิรัติ งดเวนสิ่งที่มาถึงเขาโดยมิได สมาทาน สมาทานวิรัติงดเวนเพราะการสมาทาน และสมุจเฉทวิรัติงดเวนโดยสิ้นเชิง[๒๒]วิรัติ ประการสุดทายนี้เปนวิรัติของพระอริยสาวกผูไดสําเร็จอริยมรรคและอริยผลแลว เพราะภัยและเวร ทั้ง ๕ ของพระอริยสาวกเปนอันสงบแลว ตั้งแตวิรัตนั้นประกอบพรอมดวยอริยมรรคกลาวคือการ ิ บรรลุมรรคผล ประการสุดทายคือ ไทยธรรม ไดชื่อวาทาน เพราะบุคคลเมื่อจะใหก็ยอมใหขาวและน้ําเปนตนเปน  ทาน เมื่อหมายถึงวัตถุสําหรับใหทาน จึงเรียกวาวัตถุนั้นวา เปนไทยธรรม ทานมี ๓ อยางดังที่กลาวมาแลว แตโดยเนื้อความมีเพียง ๒ อยางคือ ธรรมที่เกี่ยวเนื่องทางใจ (เจตสิกธรรม) และไทยธรรม เมื่อกลาวโดยสรุปแลว ในมังคลัตถทีปนี หมายความเฉพาะจาค เจตนาเทานั้นวาเปนทาน ๒.๕ เหตุเกิดแหงทาน ลักษณะเฉพาะและวิธีการใหทาน
  • 16. การใหทานเปนพิธีกรรมที่ผนวกอยูกับประเพณีพิธีกรรมทางศาสนา และขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณีทางสังคมจากคติความเชื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากศาสนา ซึ่งแตละทองถิ่นมีคติความเชื่อ ตางกัน แตโดยเนื้อหาสาระแลว ทานยอมมีคุณคา และมีเปาหมายรวมกัน ตางกันแตเพียงเหตุ ปจจัยทีมาเทานั้น ่ ในทานูปปปตติสูตร พระองคตรัสเหตุที่ทําใหคนใหทานเพราะเขาปรารถนามนุษยสมบัติ สวรรค สมบัติ พรหมสมบัติ การที่เขาปรารถนาอยางนั้นเพราะเขาเห็นกษัตริย พราหมณ คหบดีผูพรัง ่ พรอมดวยกามคุณ ๕ ไดฟงเรื่องสวรรค ๖ ชั้นและพรหมชั้นสูง[๒๓] คนบางกลุมก็ใหทาน เพราะความกลัว เพราะหวังผลตอบแทนทางดานโลกธรรม[๒๔] บางคนใหทานเพราะนึกวาเปน บุพการีชนคือใหเพื่อรักษาวงศตระกูลดั้งเดิม บางคนใหทานเพราะตองการเขาถึงสุคติภพ บางคน ใหทานเพราะตองการอบรมจิตใหเบิกบาน และบางคนใหทานเพื่อประดับปรุงแตงจิต [๒๕] แต อยางไรก็ตาม ความปรารถนาเหลานี้ จะสําเร็จไดกดวยจิตที่บริสุทธิ์ แตจิตอธิษฐานภาวนาที่นอม ็ ไปเพือสิงเหลานี้ จัดวายังเปนไปเพือโลกียะสมบัติ ่ ่ ่ กลาวโดยสรุป เหตุแหงการใหทานมี ๕ ระดับ คือ ๑) การใหเพราะถึงแกอคติอยางใดอยางหนึงจัดอยูในระดับที่ไมดีนัก ่  ๒) การใหตามประเพณีเปนธรรมเนียมปฏิบัติของวงศสกุล จัดอยูในระดับปานกลางแตโอกาสที่จะ ผิดพลาดมีมากเนื่องจากเปนการยึดถือตามประเพณี ๓) เปนการใหเพราะหวังสภาวะที่ดีขึ้นหรืออุปธิอยูในระดับกลาง ๔) เปนการใหเพราะเห็นวาการใหนั้นเปนสิงที่ดี ขอนี้จัดอยูในเกณฑดี ่ ๕) เปนการใหทานในฝายดีกวาทุกขอ เพราะเปนการใหทานเพื่อพัฒนาจิตใจ
  • 17. สวนลักษณะของการใหหรือวิธีการใหทานนั้น พระพุทธองคตรัสไวทงในฝายดีและในฝายที่ไมดี ั้ ลักษณะและวิธีการใหทานในฝายดี คือ ทายกยอมใหแกผูมาสูถิ่นของตน ผูเตรียมจะไป ใหทาน สมัยขาวแพง ใหขาวใหมแกผมีศีล และใหผลไมใหมแกผูมีศล[๒๖] วิธีการการใหโดยเนนที่ทายก ู ี คือใหโดยเคารพออนนอม ใหดวยมือตนเอง ใหของไมเปนเดน เห็นผลที่จะมาถึงให [๒๗] ในสัปปุรสทาน พระองคทรงแสดงลักษณะและวิธการใหทานโดยแยกเปนสิ่งที่ให ปฏิคาหกผูรบ ิ ี ั ทานและเจตนาของทายกผูใหทานรวมเปน ๘ ประการ ๑)ใหของที่สะอาด ๒)ใหของประณีต ๓) ให เหมาะสมกับกาละ ๔) ใหของสมควร เปนประโยชน ๕) พิจารณากอนแลวจึงให เลือกให ในบุญญเขตที่ดี ๖) ใหอยางสม่ําเสมอ เปนนิจทาน ๗) เมื่อให ทําจิตใหผองใส ๘) ครั้นให แลว จิตใจเบิกบาน[๒๘] ทรงสรุปผลของทานที่กระทําดีแลววาสัตบุรษครั้นใหทานดวยศรัทธาแลวยอมเปนผูมงคั่ง ุ ั่ มีทรัพยมาก มีโภคะมากและเปนผูมรูปสวยงาม นาดู นาเลื่อมใส ประกอบดวยผิวพรรณงามยิงนัก ี ่ ในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล (บังเกิดขึ้น) …เปนผูมีบุตรภรรยา ทาส คนใชหรือคนงาน เปนผูเชือฟง ่ เงี่ยโสตลงสดับคําสั่งตังใจใครรู ในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล …ยอมเปนผูมีความตองการที่เกิดขึ้นตาม ้ กาลบริบรณ ในที่ ที่ทานนั้นเผล็ดผล …เปนผูมีจิตนอมไปเพือบริโภคกามคุณ ๕ สูงยิ่งขึ้น ในที่ ที่ ู  ่ ทานนั้นเผล็ดผล …เปนผูมีโภคทรัพยไมมีภยันตรายมาแตที่ไหนๆคือ จากไฟ จากน้ํา จากพระราชา จากโจร จากคนไมเปนที่รัก หรือจากทายาทในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล[๒๙] สวนลักษณะของการใหทานที่ไมดีโดยรูปแบบและวิธีการใหทานนั้น พึงศึกษาไดจาก ลักษณะที่ตรงกันขามที่กลาวมาในฝายขางดี ในอสัปปุริสทานสูตร[๓๐]
  • 18. ๒.๖ การบําเพ็ญทานบารมี เพื่อใหประเด็นที่จะอภิปรายชัดเจนขึ้นในที่นี้จึงมาศึกษา บารมี ในพระไตรปฎก คัมภีร ปกรณพิเศษ อรรถกถา และคัมภีรอื่น ๆ ทั้งความหมายในคัมภีรเหลานั้นก็ยอมจะแตกตางกันไป ในที่นี้จะกลาวเฉพาะความหมายของคําวา บารมี ที่เกี่ยวของกับทานบารมีที่ตองการศึกษาใน บทความนี้ บารมี คือคุณความดีที่ควรบําเพ็ญมี ๑๐ อยาง ไดแก ทานบารมี ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา คุณความดีที่ไดบําเพ็ญมา คุณสมบัติที่ทําใหยิ่งใหญ [๓๑] พระธรรมปาละใหความหมายวา บารมีคือคุณธรรมทั้งหลาย มีทานเปนตน กําหนดดวยความเปน ผูฉลาดในอุบาย คือกรุณาอันตัณหา มานะ และทิฏฐิไมเขาไปกําจัด[๓๒] พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ใหความหมายไววา ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่ประพฤติ ฏิบัติอยางยิงยวดคือความดีที่บําเพ็ญอยางพิเศษ เพื่อบรรลุซงจุดหมายอันสูง เชน ความเปน ่ ึ่ พระพุทธเจา และความเปนมหาสาวกเปนตน[๓๓] และไดอธิบายโดยศัพทความวา คําวาบารมีนั้น โดยตัวศัพทแปลวา ความจบถวน ภาวะที่ ยอดยิ่ง สุดยอด เต็มเปยม หมายถึงคุณความดีที่บําเพ็ญอยางยอดยิ่งของพระโพธิสัตว ไมวาจะ เปนมหาโพธิสัตว (ทานผูมุงตอการตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา) ปจเจกพุทธเจา (ทานผูมงตอ ุ การตรัสรูเปนพระปจเจกพุทธเจา) หรือสาวกโพธิสัตว (ทานผูมุงตอการตรัสรูเปนพระอรหันตสาวก) ก็ตาม แตโดยทั่วไป จะหมายถึงมหาโพธิสัตว คือทานผูมุงตอการตรัสรูเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
  • 19. การใหทานที่เปนการบําเพ็ญทานบารมี จะตองเปนการใหทานที่ตองสังสมสืบเนื่องโดยตลอดโดย ่ ไมขาดสาย เปนการบําเพ็ญที่เกิดจากการอธิษฐานจิต มีการทําอภินิหาร เพื่อมุงหวังพระ  สัพพัญุตญาณในอนาคตกาล แลวปฏิบัติตามความตั้งใจจนกวาจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง โดยสรุป ลักษณะของการบําเพ็ญทานบารมี มีดังนี้ ๑. ใหแกคนหรือสัตว เพื่อประโยชนแกเขาในชีวิตที่เปนจริง ๒. ใหดวยจิตใจเสียสละแทจริง โดยไมหวังอะไรตอบแทน ๓. การใหนั้น เปนสวนหนึ่งของการกาวไปในกระบวนการฝกฝนพัฒนาตนใหปญญาเจริญ สมบูรณ เพื่อจะไดบําเพ็ญประโยชนสุขแกสรรพสัตวไดบริบูรณ ๔. ผูใหจะเปนใครก็ได ไมวาจนมี ใหญโตหรือต่ําตอย ขอสําคัญอยูที่วา ความเขมแข็งเด็ดเดี่ยวมุงแนวแนไปในกระบวนการศึกษาพัฒนาตน ความหมายของทานบารมีมักจะพบในชาดกเรืองตาง ๆ โดยเฉพาะในอรรถกถาชาดก สุเมธดาบส ่ โพธิสัตว ไดเลือกทานบารมีเปนประการแรกกอนจะบําเพ็ญสีลบารมี และบารมีประการอื่น ๆ ตอไป ดังปรากฏขอความวา ... พระโพธิสัตว ลุกขึ้นจากที่ประทับ ในเวลาที่เทวดาและมนุษยทั้งหลายหลีกไปแลว ประทับนังคู ่ บัลลังกบนกองดอกไมดวยความดําริวา เราจักพิจารณา (เลือกเฟน) บารมีทั้งหลาย ... พระโพธิสัตว ตกลงพระทัยดังนี้วา เราจะตองเปนพระพุทธเจาอยางแนนอน เพื่อจะไตรตรองถึง ธรรมทังหลาย ที่เปนเครื่องกระทําความเปนพระพุทธเจา จึงพิจารณาธรรมธาตุทงสิ้นตามลําดับวา ้ ั้ ธรรมที่เปนเครื่องกระทําความเปนพระพุทธเจามีอยู ณ ที่ไหนหนอแล อยูเบื้องบนหรือเบืองลาง อยู ้ ในทิศ หรือทิศเฉียงทั้งหลาย ไดทอดพระเนตรเห็นทานบารมี อันเปนบารมีประการแรกที่พระ
  • 20. โพธิสัตวองคกอน ๆ ไดประพฤติปฏิบัติกันมาแลว จึงแนะนําตนเองดังนี้วา ดูกอนสุเมธบัณฑิต ทาน ควรบําเพ็ญทานบารมีเปนประการแรกใหบริบูรณนับตั้งแตบัดนี้เปนตนไป เปรียบเสมือนหมอน้ําที่ คว่ํา ยอมหลั่งน้ําออกจนหมดไมมีเหลือ ทานก็จักตองไมแลเหลียวถึงทรัพยสมบัติ ยศฐาบรรดาศักดิ์ บุตร ภรรยา หรืออวัยวะนอยใหญ ใหทานแกผูขอทั้งหลายที่พบเขา ทําใหถึงที่สุด ตามที่คนเหลานันตองการโดยไมใหเหลือ นั่งที่โคนตนโพธิแลวจะตองเปนพระพุทธเจา พระ ้ โพธิสัตวนั้นจึงอธิษฐานทานบารมีเปนประการแรกอยางหนักแนน ... พระโพธิสัตวพิจารณาเห็นบารมี ๑๐ อุปปารมี ๑๐ และปรมัตถปารมี ๑๐ อยางนี้วา การบริจาค ขาวของเครื่องใชทั่วไป ชื่อ ทานปารมี การบริจาคอวัยวะ ชื่อวา ทานอุปปารมี การบริจาคชีวิต ชื่อ วา ทานปรมัตถปารมี.[๓๔] การที่พระโพธิสัตวเลือกทานบารมีเปนประการแรกนั้น ยอมแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการให ทาน เนื่องจากการใหทานนี้เปนธรรมที่ตรงขามกับความโลภ และมัจฉริยะ (ความตระหนี่) เมื่อ บุคคลใหทานยอมสามารถขจัดความโลภ ความตระหนี่ในใจตนเอง ไมยืดมั่นถือมั่น ไมยึดติดกับ วัตถุ หรือแมกระทั้งบุตร ธิดา และภรรยา สามี ซึ่งเปนสิ่งที่จะตองละใหไดในระดับเริ่มตนกอนที่จะ บําเพ็ญบารมีในขั้นอื่น ๆ ที่สูงขึ้นไป ทานบารมีนี้มี ๓ ระดับคือ ระดับบารมี ระดับอุปบารมี และ ระดับ ปรมัตถบารมี ๑) ทานบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละทรัพย ในขุททกนิกาย จริยาปฎก กลาวถึงการ บําเพ็ญทานบารมีของมหาโควินทพราหมณโพธิสัตวที่ไดบริจาคมหาทานรอยลานแสนโกฏิ เพื่อ พระสัพพัญุตญาณ[๓๕] ๒) ทานอุปบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละอวัยวะ เชนดวงตา และโลหิต ในการ บําเพ็ญทานอุปบารมีนี้ ในขุททกนิกาย จริยาปฎก กลาวถึงพระจริยาของพระเจาสีวราชโพธิสัตวที่ ี ใหทานพระเนตรขางหนึ่งแกทาวสักกะ การใหทานครั้งนี้ก็เพื่อสัพพัญุตญาณ[๓๖]
  • 21. ๓) ทานปรมัตถบารมี ไดแก ทานที่บําเพ็ญดวยการสละชีวิต ในสสปณฑิตจริยา กลาวถึง การบําเพ็ญทานปรมัตถปารมีของสสบัณฑิตพระโพธิสัตวที่อุทิศรางกายใหเปนทานแกพราหมณ [๓๗] การใหทานของพระโพธิสัตวนี้ถือวาเปนการกระทําที่ทําไดยาก เพราะไมมีความเสียดายใน สิ่งที่ตนให มีจิตยินดีและมองเห็นประโยชนตอสรรพสัตวจึงไดใหทาน โดยเฉพาะทานในระดับที่สอง  คือทานอุปบารมี และปรมัตถบารมียิ่งเปนทานที่ทําไดยาก เพราะมีการสละอวัยวะบางสวน เชน ตา เปนตน หรือการบริจาคอวัยวะใหกับผูที่ตองการเปลี่ยนถายอวัยวะเพื่อใหใชงานไดตามปกติ โดยความสมัครใจ มิใชการแลกเปลี่ยน เหลานี้จัดเปนทานอุปบารมี สวนการบําเพ็ญปรมัตถบารมี เปนการบําเพ็ญทานขั้นสูงสุดในบรรดาการบําเพ็ญบารมีดวยการให ทาน เนื่องจากการบําเพ็ญปรมัตถบารมีนี้ ตองสละชีวิตของตนเพื่อผูอื่น การยอมสละชีวิตของตน เพื่อผูอื่นในสังคมปจจุบันนี้ อาจจะทําไดโดยการยอมตายเพื่อผูมีพระคุณ และผูที่เปนที่รักของตน   แตการบําเพ็ญปรมัตถบารมี จะตองเปนการสละชีวตที่ตนเองยินดี พรอมใจ ไมถูกบังคับ และสละ ิ ไดกับทุกคน ไมวาจะเปนมิตรหรือศัตรู และตองทําไปเพื่อมุงหวังพระสัพพัญุตญาณเพียงสิ่งเดียว เทานั้น ๒.๗ เปาหมายของการใหทาน เปาหมายของการใหทานในพระพุทธศาสนา แบงได ๓ ระดับคือ ๒.๗.๑ เปาหมายระดับตน คือสิ่งที่บุคคลพึงมี พึงไดในปจจุบัน กลาวคือประโยชนที่จะไดรับในชาติ นี้ เชน ทรัพยสิน เงินทอง สุขภาพอนามัย ความมีศิลปวิทยา ยศฐาบรรดาศักดิ์ ญาติมิตรสหายและ ความผาสุกอยางอื่นที่มนุษยพงมีพึงไดทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ึ
  • 22. สิ่งเหลานีลวนเปนเรืองของโลกธรรมที่จําเปนสําหรับฆราวาสวิสัย แมจะเปนเรืองของวัตถุ แต ้ ่ ่ ความสุขที่เกิดจากวัตถุเหลานี้ก็เปนหนทางแหงการแสวงหาความสุขที่ดี ละเอียดและเปนบรมสุข ในระดับตอไปได เพราะถาหากบุคคลไมไดรบความสุขหรืออานิสงสแหงการทําบุญใหทาน หรือ ั การกระทําของตน ความพยายามเพื่อไปสูสภาวะทีสูงกวาที่เปนอยูยอมไมอาจจะเกิดขึ้นได ่ ๒.๗.๒ เปาหมายระดับกลาง เปนจุดหมายที่สูงขึ้นมาอีกระดับหนึง เปนประโยชนใน ่ ดานในหรือประโยชนดานคุณคาของชีวิต เปนหลักประกันชีวิตเมือละโลกนี้ไปแลว ไดแก ความ ่ เจริญงอกงามแหงชีวิตจิตใจ สัมปรายิกัตถะประโยชน ๔ ประการ ประกอบดวยศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ ควรเชื่อตามหลักพระพุทธศาสนา ถึงพรอมดวยศีล คือรักษากายวาจาเรียบรอย ถึงพรอมดวยการ บริจาค คือสละแบงปน และถึงพรอมดวยปญญา รูจักบาปบุญคุณโทษ ทานในระดับนี้ อยูในระดับที่สูงกวาระดับวัตถุหรือความสุขทางรางกาย กลาวคือเปน จุดหมายที่เนนเรื่องของจิตใจ เปนการพัฒนาจิตใจเพื่อไปสูระดับทีสูงขึ้น เพราะนอกจากทรัพย  ่ สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศในโลกปจจุบันนีแลว ทานในระดับนี้ จะเปนการเตรียมความพรอมเพือ ้ ่ การเขาถึงสุคติโลกสวรรคอันเปนสัมปรายภพ ๒.๗.๓ เปาหมายขั้นสูงสุด คือประโยชนสงสุดในทางพระพุทธศาสนา กลาวคือความเปนผูรูแจง ู สภาวะของสิงทั้งหลายตามความเปนจริง อยูจบพรหมจรรย ไมมีกจที่จะตองทําอีกตอไปแลว การ ่ ิ ดําเนินชีวิตเพื่อเขาถึงจุดหมายขั้นนี้ ก็คือการดําเนินตามทางสายกลางที่เรียกวา มัชฌิมาปฏิปทา อันเปนทางสายกลางระหวางความหลงมัวเมาในกามสุข และการปฏิบัติตนใหลําบากโดยเปลา ประโยชน ทานในกระบวนการพัฒนาตามหลักอริยมรรค ๘ นี้ ปรากฏอยู ๒ ระดับคือ ในระดับ ปญญา กลาวคือสัมมาทิฏฐิ ที่หมายถึงความรูในสิงที่เปนกุศลและกุศลมูล กับอกุศลและอกุศลมูล ่ และเห็นไตรลักษณ ความรูวา ทานที่บุคคลใหแลวยอมมีผล (สัมมาทิฏฐิกะ) เปนตนและรูวาการ