SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
รายงานการศึกษา เรื่อง

User Experience(UX)
โดย นางสาวมัณฑนา คงกลาง รหัสนักศึกษา 13510222




  รายงานการศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 802407 สัมมนา
  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
  คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
  สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ เอกเว็บและสื่อโต้ตอบ ( Web and Interactive)
User Experience Design (UX)




การออกแบบ User Experience
       การออกแบบ User Experience นั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ User Interface (พื้นที่ใช้งาน
สาหรับผูใช้งาน) ให้น่าใช้งานแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่รวมไปถึ งการวางโครงสร้างของเว็บไซต์ การวาง
        ้
                                                                   ั ้
ความสัมพันธ์ของเนื้ อหา การวางแผนว่าผลิตภัณฑ์น้ น ๆ จะปฏิ สัมพันธ์กบผูใช้งานอย่างไร ตลอดจนเรื่ อง
                                                ั
           ่
ต่าง ๆ ไม่วาจะในเชิ งจิตวิทยา หรื อ ทางการตลาด เพื่อให้ผใช้งานรู้สึกพอใจ และ กลับมาใช้งานผลิตภัณฑ์
                                                        ู้
ของเราเรื่ อย ๆ ไปพร้อมทั้ง นาไปบอกต่อ
User Experience Design (UX)




Diagram สาหรับ User Experience Design
User Experience Design (UX)




UX Designers                          ต้ องคิด และ ทาอะไรบ้ าง

               ปัญหา และ แก้ปัญหาให้ตรงจุด
เข้ าใจเหตุแห่ ง

         การเข้าใจเหตุแห่ งปั ญหา คือ การทาการวิจย วิเคราะห์ สิ่ งที่มีอยู่ก่อนว่ามีขอบกพร่ องอย่างไร เช่ น
                                                 ั                                   ้
ฟั งความคิดเห็ นจากผูใ ช้ง าน หรื อ คนรอบข้างว่ามี ความคิ ดเห็ นอย่างไรกับสิ่ งที่ เราได้ออกแบบมา หรื อ
                     ้
โครงสร้ างอะไรที่ เราได้ปรับปรุ ง ในกรณี ที่เป็ นผลิ ตภัณฑ์ใหม่จริ ง ๆ พยายามเข้าใจกลุ่ มเป้ าหมายให้มาก
ที่สุด เพื่อเป็ นประโยชน์ในการนามาออกแบบ UX ที่ดี

         ทุกครั้งที่เกิดปั ญหาขึ้นพยายามนาเอาปั ญหานั้น ๆ ออกมาแบ่งออกเป็ นส่ วน ๆ เพื่อให้เห็นสิ่ งที่คุณ
ต้องแก้ไข วิเคราะห์ ไตร่ ตรองให้รอบคอบ และ ทาการค้นคว้าเพิ่มเติม ก่อนออกแบบ UX ใหม่ ไม่ใช่ ว่า
โดนตาหนิ หรื อ เสนอความคิดเห็ นใด ๆ ไม่ว่าจากผูใช้งาน หรื อ เพื่อนร่ วมงานคุ ณก็นาไปแก้ทนทีโดยไม่
                                               ้                                        ั
ไตร่ ตรองก่อน ตรงนี้ จะไม่เป็ นผลดี เพราะคุ ณจะทางานหนักขึ้น เพราะต้องทาต้องแก้ไปเรื่ อย ๆ โดยที่ไม่
                                      ่
เข้าใจประเด็นที่แท้จริ งและ เมื่อมันยุงเหยิงมากขึ้น อาจจะยิงทาให้คุณหาปั ญหาที่แท้จริ งไม่ได้ไปกันใหญ่
                                                           ่



อย่ าโยนความผิดไปทีผ้ ูใช้ งาน ให้ อภัย
                   ่                      สร้ างทางเลือกให้กบพวกเขา
                                                            ั

         การโยนความผิดไปที่ผใช้งานนั้น ผิดหลักจรรยาของนักออกแบบ UX อย่างมาก กรณี เหล่านี้ จะเกิด
                            ู้
ก็ต่อเมื่อเราต้องการเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่างในตัวผลิตภัณฑ์ หรื อ ผลิตภัณฑ์น้ นใหม่ ซึ่ งสิ่ ง ๆ นั้นเป็ นสิ่ ง
                                                                            ั
ที่ ผูใช้งานเคยชิ น หรื อ ติ ดการใช้งานมาช้านาน หรื อ ขัดต่อ อารยะ และ วัฒนะ ที่ กลุ่ มผูใช้งานเหล่ านั้น
      ้                                                                                  ้
เป็ นอยู่ เพราะฉะนั้นถ้าอยากจะเปลี่ยน หรื อ อยากให้ผใช้งานเข้าใจ คุณต้องถามตัวเองว่า เราได้เตรี ยมอะไร
                                                    ู้
เพื่ออธิ บายให้ผใช้งานได้เข้าใจสิ่ งที่เราได้ออกแบบไว้บาง คุณเตรี ยมทางเลือกอื่นที่จะ ให้อภัย และ ให้ความ
                ู้                                     ้
           ั ้
เข้าใจ ให้กบผูใช้อย่างไรบ้าง
User Experience Design (UX)


           ยกตัว อย่า งง่ า ย iPhone ที่ Apple ออกแบบนั้นมี ก าร ให้อภัย ผูใ ช้ง านที่ ก ดผิด หรื อ ด าเนิ น
                                                                           ้
กระบวนการผิดด้วย ปุ่ ม Home กดที่ปุ่ม Home ปุ่ มเดียวพวกเขาก็สามารถกลับไปเริ่ มต้นใหม่ได้ทนที และ
                                                                                          ั
รวดเร็ ว

                                                                 ั ้
           ถ้าเป็ นเว็บไซต์ อะไรที่เราเปลี่ยนเราจะต้องอธิ บายให้กบผูใช้งานอย่างไร ง่าย ๆ ก็อาจจะเริ่ มด้วย
หน้าอธิบายการใช้งาน หรื อ ระบบ site guide (แนะนาการใช้งาน) ในแบบต่าง ๆ แล้วแต่ทีมงานจะรังสรรค์



อย่าสร้ าง   ความยุ่งยาก ให้กบผู้ใช้ งาน
                             ั

           พยายามทาทุ กอย่างให้ใช้งานง่ าย สะดวกสบายเรี ยนรู ้ ง่าย ต่อเนื่ อง ไม่ว่าจะเป็ น User Interface
ลาดับเนื้อหา หรื อ โครงสร้างของเว็บไซต์ เช่น การแสดงความคิดเห็นในบทความของเว็บไซต์จาเป็ นจะต้อง
เป็ น สมาชิ กของเว็บไซต์เสี ยก่อน ให้ผูใช้งานรู ้ สึกว่ามันไม่ยุ่งยากสาหรับเขา วิธีการแก้ปัญหาจะต้องถู ก
                                       ้
หารื อกันในทีม หรื อ คุณนันแหละ ที่เป็ น UX Designer ดังตัวอย่าง
                          ่

           วางข้อความแจ้งผูใช้งานไว้ท่ีกล่องแสดงความคิดเห็ นว่าคุณต้องเป็ น สมาชิ กเสี ยก่อน ถึงจะแสดง
                           ้
ความคิ ด เห็ น ในบทความนี้ ได้ และ มี ลิ ง ค์เ พื่ อ ที่ จ ะน าผู ้ใ ช้ง านไปสู่ ร ะบบการสมัค รสมาชิ ก ให้ ร ะบบ
ตรวจสอบสถานะของผูใช้งานขณะนั้นว่าได้ทาการเข้าสู่ ระบบแล้วหรื อไม่ หรื อ ยังไม่ได้เป็ นสมาชิ ก ถ้าตรง
                 ้
กับเงื่ อนไขดังกล่าวให้ทาการลอคไม่ให้เห็ น กล่องฟอร์ มสาหรับการแสดงความคิดเห็ น หรื อ โชว์สถานะ
ของ UI ที่ทาให้ผูใช้งานรับรู ้ได้ว่าส่ วนนี้ ใช้งานไม่ได้ และ มีความแจ้งให้ผใช้งานทราบว่าต้อง เข้าสู่ ระบบ
                 ้                                                          ู้
หรื อ สมัครเป็ นสมาชิกของเว็บไซต์เสี ยก่อน

           เบื้องต้นจะรู ้ ได้อย่างไรว่าอะไรที่ใช้งานง่ายสะดวกสบายกว่า        ให้ลองถามเพื่อนร่ วมงานที่เป็ น
ผูใช้งานจริ ง ๆ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่ องงานการออกแบบ หรื อ เทคโนโลยีทางด้านนี้ มากนักให้เขาลองใช้งาน
  ้
                                                                                      ่
ตัวต้นแบบที่คุณทาดู หรื อ ดูจาก wireframe ว่าเขาเหล่านั้นมีความคิดเห็นกับระบบเหล่าที่วานี้ อย่างไร ก่อน
จะลงความเห็น และ ปล่อยให้ใช้งานจริ ง ๆ แล้วฟัง feedback ว่ารุ่ งหรื อร่ วงอย่างไร ถ้าร่ วงก็ตองกลับมานัง
                                                                                             ้         ่
ขบคิดกันใหม่
User Experience Design (UX)



พยายามทาความ       เข้ าใจ พฤติกรรม อารยธรรม และ วัฒนธรรมของผู้ใช้ งานทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้าหมาย
          ผูใช้งานในแต่ละช่วงวัย ต่างกลุ่มรสนิ ยม ต่างเพศ และ ต่างภูมิลาเนา นั้นก็มีพฤติกรรม อารยธรรม
            ้
และ วัฒนธรรมแตกต่างกันไป เพราะฉะนั้นเรื่ องนี้ เป็ นเรื่ องละเอียดอ่อนเหมือนกันนะครับไม่ควรมองข้าม
ไป ควรทาการค้นคว้าวิจย และ ทาความเข้าใจกับข้อมูลของกลุ่มเป้ าหมายที่คุณหาได้มาก่อน ก่อนจะลงมือ
                     ั
ร่ าง wireframe ออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ วางแผนลาดับเนื้อหา และ User Interface

          สิ่ งสาคัญคือ คุณต้องทาความเข้าใจในสิ่ งที่ผใช้งานเป็ น และ มองจากมุมของพวกเขา เตือนตัวเองไว้
                                                      ู้
เสมอว่า ผูใช้งาน ไม่ใช่ผออกแบบ
          ้             ู้




จด    ไอเดียร์ สิ่งต่าง ๆ ลงในกระดาษ
          จริ ง ๆ สิ่ งนี้ น่าจะนาไปใช้ได้ในทุก ๆ อาชี พ ตรงนี้ ตองฝึ กให้เป็ นนิ สัย เพราะบางอย่างถ้าจดเอาไว้
                                                                 ้
เราจะได้เอามาทวน และ สร้ างงานที่มีคุณภาพออกมาได้ดีที่สุด คุ ณอาจจะเสี ยดาย หรื อ พลาดพ่ายแพ้ต่อ
คู่แข่ง เพราะสิ่ ง ที่ คุณคิ ดว่า ไม่ต้องจดก็ ได้ จาได้อยู่เดี๋ ยวกลับบ้านไปท าเลย พอถึ งบ้า นคุ ณก็จะหงุ ดหงิ ด
เพราะคุณจามันไม่ได้แล้ว แล้วก็บ่นกับตัวเองว่า เฮ้อ! ช่างมันเถอะ หรื อแม้กระทังเวลาที่ระดมสมองกันอยู่
                                                                             ่
นั้นก็ควรจะมีซกคนที่จด ไอเดียร์ ต่าง ๆ ที่ทีมคุยกัน และ อีกคนเป็ นคนสรุ ป หรื อ อาจจะเป็ นคนเดียวกันเลยก็
              ั
ได้




อย่าลืมทีจะคิดถึงปัญหาทีจะเกิดตามมา และ ความเป็ นไปได้ ทจะรับ
         ่              ่                               ี่                     แก้ไข ปัญหานั้น ๆ
          ทีม หรื อ ตัวคุณเองพยายามคิดถึงปั ญหาต่าง ๆ ที่จะเกิด และ จดมันออกมาให้หมด แล้วไตร่ ตรองให้
   ่
ดีวาคุณสามารถรับมือกับปั ญหาเหล่านั้นได้หรื อไม่ อย่างไร ความเป็ นไปได้มากน้อยเท่าไหร่ คุมค่าที่จะทา
                                                                                         ้
สิ่ งที่ออกแบบ คิด และ วางโครงสร้างไว้ หรื อ ต้องเปลี่ยนไปใช้วิธีอื่น ง่าย ๆ คือ รับมือไหวไหม ถ้าไม่อย่า
เสี่ ยงทามัน หรื อ เสี่ ยงก็ได้ถามันคุมที่จะเสี่ ยง
                                ้     ้
User Experience Design (UX)




          แผนภาพแสดงการออกแบบ User Experience Design




ที่มา :   http://thaicss.com/ux-designers-

          http://uxdesign.com/ux-defined

          http://upgradenow.wordpress.com/2010/03/06/experience-design-is-an-understanding-help-me-with-mine/

Más contenido relacionado

Similar a User experience design

โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Chatchaphun Sent Work
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Chatchaphun Sent Work
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8melody_fai
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์pattanan_hansuek
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานPerm Ton
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Umaporn Maneesatjang
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานRatanamon Suriya
 

Similar a User experience design (20)

โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
3.3
3.33.3
3.3
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
08
0808
08
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K4
K4K4
K4
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 

User experience design

  • 1. รายงานการศึกษา เรื่อง User Experience(UX) โดย นางสาวมัณฑนา คงกลาง รหัสนักศึกษา 13510222 รายงานการศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 802407 สัมมนา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ เอกเว็บและสื่อโต้ตอบ ( Web and Interactive)
  • 2. User Experience Design (UX) การออกแบบ User Experience การออกแบบ User Experience นั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ User Interface (พื้นที่ใช้งาน สาหรับผูใช้งาน) ให้น่าใช้งานแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่รวมไปถึ งการวางโครงสร้างของเว็บไซต์ การวาง ้ ั ้ ความสัมพันธ์ของเนื้ อหา การวางแผนว่าผลิตภัณฑ์น้ น ๆ จะปฏิ สัมพันธ์กบผูใช้งานอย่างไร ตลอดจนเรื่ อง ั ่ ต่าง ๆ ไม่วาจะในเชิ งจิตวิทยา หรื อ ทางการตลาด เพื่อให้ผใช้งานรู้สึกพอใจ และ กลับมาใช้งานผลิตภัณฑ์ ู้ ของเราเรื่ อย ๆ ไปพร้อมทั้ง นาไปบอกต่อ
  • 3. User Experience Design (UX) Diagram สาหรับ User Experience Design
  • 4. User Experience Design (UX) UX Designers ต้ องคิด และ ทาอะไรบ้ าง ปัญหา และ แก้ปัญหาให้ตรงจุด เข้ าใจเหตุแห่ ง การเข้าใจเหตุแห่ งปั ญหา คือ การทาการวิจย วิเคราะห์ สิ่ งที่มีอยู่ก่อนว่ามีขอบกพร่ องอย่างไร เช่ น ั ้ ฟั งความคิดเห็ นจากผูใ ช้ง าน หรื อ คนรอบข้างว่ามี ความคิ ดเห็ นอย่างไรกับสิ่ งที่ เราได้ออกแบบมา หรื อ ้ โครงสร้ างอะไรที่ เราได้ปรับปรุ ง ในกรณี ที่เป็ นผลิ ตภัณฑ์ใหม่จริ ง ๆ พยายามเข้าใจกลุ่ มเป้ าหมายให้มาก ที่สุด เพื่อเป็ นประโยชน์ในการนามาออกแบบ UX ที่ดี ทุกครั้งที่เกิดปั ญหาขึ้นพยายามนาเอาปั ญหานั้น ๆ ออกมาแบ่งออกเป็ นส่ วน ๆ เพื่อให้เห็นสิ่ งที่คุณ ต้องแก้ไข วิเคราะห์ ไตร่ ตรองให้รอบคอบ และ ทาการค้นคว้าเพิ่มเติม ก่อนออกแบบ UX ใหม่ ไม่ใช่ ว่า โดนตาหนิ หรื อ เสนอความคิดเห็ นใด ๆ ไม่ว่าจากผูใช้งาน หรื อ เพื่อนร่ วมงานคุ ณก็นาไปแก้ทนทีโดยไม่ ้ ั ไตร่ ตรองก่อน ตรงนี้ จะไม่เป็ นผลดี เพราะคุ ณจะทางานหนักขึ้น เพราะต้องทาต้องแก้ไปเรื่ อย ๆ โดยที่ไม่ ่ เข้าใจประเด็นที่แท้จริ งและ เมื่อมันยุงเหยิงมากขึ้น อาจจะยิงทาให้คุณหาปั ญหาที่แท้จริ งไม่ได้ไปกันใหญ่ ่ อย่ าโยนความผิดไปทีผ้ ูใช้ งาน ให้ อภัย ่ สร้ างทางเลือกให้กบพวกเขา ั การโยนความผิดไปที่ผใช้งานนั้น ผิดหลักจรรยาของนักออกแบบ UX อย่างมาก กรณี เหล่านี้ จะเกิด ู้ ก็ต่อเมื่อเราต้องการเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่างในตัวผลิตภัณฑ์ หรื อ ผลิตภัณฑ์น้ นใหม่ ซึ่ งสิ่ ง ๆ นั้นเป็ นสิ่ ง ั ที่ ผูใช้งานเคยชิ น หรื อ ติ ดการใช้งานมาช้านาน หรื อ ขัดต่อ อารยะ และ วัฒนะ ที่ กลุ่ มผูใช้งานเหล่ านั้น ้ ้ เป็ นอยู่ เพราะฉะนั้นถ้าอยากจะเปลี่ยน หรื อ อยากให้ผใช้งานเข้าใจ คุณต้องถามตัวเองว่า เราได้เตรี ยมอะไร ู้ เพื่ออธิ บายให้ผใช้งานได้เข้าใจสิ่ งที่เราได้ออกแบบไว้บาง คุณเตรี ยมทางเลือกอื่นที่จะ ให้อภัย และ ให้ความ ู้ ้ ั ้ เข้าใจ ให้กบผูใช้อย่างไรบ้าง
  • 5. User Experience Design (UX) ยกตัว อย่า งง่ า ย iPhone ที่ Apple ออกแบบนั้นมี ก าร ให้อภัย ผูใ ช้ง านที่ ก ดผิด หรื อ ด าเนิ น ้ กระบวนการผิดด้วย ปุ่ ม Home กดที่ปุ่ม Home ปุ่ มเดียวพวกเขาก็สามารถกลับไปเริ่ มต้นใหม่ได้ทนที และ ั รวดเร็ ว ั ้ ถ้าเป็ นเว็บไซต์ อะไรที่เราเปลี่ยนเราจะต้องอธิ บายให้กบผูใช้งานอย่างไร ง่าย ๆ ก็อาจจะเริ่ มด้วย หน้าอธิบายการใช้งาน หรื อ ระบบ site guide (แนะนาการใช้งาน) ในแบบต่าง ๆ แล้วแต่ทีมงานจะรังสรรค์ อย่าสร้ าง ความยุ่งยาก ให้กบผู้ใช้ งาน ั พยายามทาทุ กอย่างให้ใช้งานง่ าย สะดวกสบายเรี ยนรู ้ ง่าย ต่อเนื่ อง ไม่ว่าจะเป็ น User Interface ลาดับเนื้อหา หรื อ โครงสร้างของเว็บไซต์ เช่น การแสดงความคิดเห็นในบทความของเว็บไซต์จาเป็ นจะต้อง เป็ น สมาชิ กของเว็บไซต์เสี ยก่อน ให้ผูใช้งานรู ้ สึกว่ามันไม่ยุ่งยากสาหรับเขา วิธีการแก้ปัญหาจะต้องถู ก ้ หารื อกันในทีม หรื อ คุณนันแหละ ที่เป็ น UX Designer ดังตัวอย่าง ่ วางข้อความแจ้งผูใช้งานไว้ท่ีกล่องแสดงความคิดเห็ นว่าคุณต้องเป็ น สมาชิ กเสี ยก่อน ถึงจะแสดง ้ ความคิ ด เห็ น ในบทความนี้ ได้ และ มี ลิ ง ค์เ พื่ อ ที่ จ ะน าผู ้ใ ช้ง านไปสู่ ร ะบบการสมัค รสมาชิ ก ให้ ร ะบบ ตรวจสอบสถานะของผูใช้งานขณะนั้นว่าได้ทาการเข้าสู่ ระบบแล้วหรื อไม่ หรื อ ยังไม่ได้เป็ นสมาชิ ก ถ้าตรง ้ กับเงื่ อนไขดังกล่าวให้ทาการลอคไม่ให้เห็ น กล่องฟอร์ มสาหรับการแสดงความคิดเห็ น หรื อ โชว์สถานะ ของ UI ที่ทาให้ผูใช้งานรับรู ้ได้ว่าส่ วนนี้ ใช้งานไม่ได้ และ มีความแจ้งให้ผใช้งานทราบว่าต้อง เข้าสู่ ระบบ ้ ู้ หรื อ สมัครเป็ นสมาชิกของเว็บไซต์เสี ยก่อน เบื้องต้นจะรู ้ ได้อย่างไรว่าอะไรที่ใช้งานง่ายสะดวกสบายกว่า ให้ลองถามเพื่อนร่ วมงานที่เป็ น ผูใช้งานจริ ง ๆ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่ องงานการออกแบบ หรื อ เทคโนโลยีทางด้านนี้ มากนักให้เขาลองใช้งาน ้ ่ ตัวต้นแบบที่คุณทาดู หรื อ ดูจาก wireframe ว่าเขาเหล่านั้นมีความคิดเห็นกับระบบเหล่าที่วานี้ อย่างไร ก่อน จะลงความเห็น และ ปล่อยให้ใช้งานจริ ง ๆ แล้วฟัง feedback ว่ารุ่ งหรื อร่ วงอย่างไร ถ้าร่ วงก็ตองกลับมานัง ้ ่ ขบคิดกันใหม่
  • 6. User Experience Design (UX) พยายามทาความ เข้ าใจ พฤติกรรม อารยธรรม และ วัฒนธรรมของผู้ใช้ งานทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้าหมาย ผูใช้งานในแต่ละช่วงวัย ต่างกลุ่มรสนิ ยม ต่างเพศ และ ต่างภูมิลาเนา นั้นก็มีพฤติกรรม อารยธรรม ้ และ วัฒนธรรมแตกต่างกันไป เพราะฉะนั้นเรื่ องนี้ เป็ นเรื่ องละเอียดอ่อนเหมือนกันนะครับไม่ควรมองข้าม ไป ควรทาการค้นคว้าวิจย และ ทาความเข้าใจกับข้อมูลของกลุ่มเป้ าหมายที่คุณหาได้มาก่อน ก่อนจะลงมือ ั ร่ าง wireframe ออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ วางแผนลาดับเนื้อหา และ User Interface สิ่ งสาคัญคือ คุณต้องทาความเข้าใจในสิ่ งที่ผใช้งานเป็ น และ มองจากมุมของพวกเขา เตือนตัวเองไว้ ู้ เสมอว่า ผูใช้งาน ไม่ใช่ผออกแบบ ้ ู้ จด ไอเดียร์ สิ่งต่าง ๆ ลงในกระดาษ จริ ง ๆ สิ่ งนี้ น่าจะนาไปใช้ได้ในทุก ๆ อาชี พ ตรงนี้ ตองฝึ กให้เป็ นนิ สัย เพราะบางอย่างถ้าจดเอาไว้ ้ เราจะได้เอามาทวน และ สร้ างงานที่มีคุณภาพออกมาได้ดีที่สุด คุ ณอาจจะเสี ยดาย หรื อ พลาดพ่ายแพ้ต่อ คู่แข่ง เพราะสิ่ ง ที่ คุณคิ ดว่า ไม่ต้องจดก็ ได้ จาได้อยู่เดี๋ ยวกลับบ้านไปท าเลย พอถึ งบ้า นคุ ณก็จะหงุ ดหงิ ด เพราะคุณจามันไม่ได้แล้ว แล้วก็บ่นกับตัวเองว่า เฮ้อ! ช่างมันเถอะ หรื อแม้กระทังเวลาที่ระดมสมองกันอยู่ ่ นั้นก็ควรจะมีซกคนที่จด ไอเดียร์ ต่าง ๆ ที่ทีมคุยกัน และ อีกคนเป็ นคนสรุ ป หรื อ อาจจะเป็ นคนเดียวกันเลยก็ ั ได้ อย่าลืมทีจะคิดถึงปัญหาทีจะเกิดตามมา และ ความเป็ นไปได้ ทจะรับ ่ ่ ี่ แก้ไข ปัญหานั้น ๆ ทีม หรื อ ตัวคุณเองพยายามคิดถึงปั ญหาต่าง ๆ ที่จะเกิด และ จดมันออกมาให้หมด แล้วไตร่ ตรองให้ ่ ดีวาคุณสามารถรับมือกับปั ญหาเหล่านั้นได้หรื อไม่ อย่างไร ความเป็ นไปได้มากน้อยเท่าไหร่ คุมค่าที่จะทา ้ สิ่ งที่ออกแบบ คิด และ วางโครงสร้างไว้ หรื อ ต้องเปลี่ยนไปใช้วิธีอื่น ง่าย ๆ คือ รับมือไหวไหม ถ้าไม่อย่า เสี่ ยงทามัน หรื อ เสี่ ยงก็ได้ถามันคุมที่จะเสี่ ยง ้ ้
  • 7. User Experience Design (UX) แผนภาพแสดงการออกแบบ User Experience Design ที่มา : http://thaicss.com/ux-designers- http://uxdesign.com/ux-defined http://upgradenow.wordpress.com/2010/03/06/experience-design-is-an-understanding-help-me-with-mine/