SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ความเป็ นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


                โดย

          ผศ.ดร.อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์
              รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

พ.ศ.2502-2516   GDP ขยายตัว 8.1% ต่ อปี
พ.ศ.2517-2528   เศรษฐกิจตกตาทัวโลก
                           ่ ่
                GDP ขยายตัว 6.3% ต่ อปี
พ.ศ.2529-2539   GDP ขยายตัว 9.1% ต่ อปี
ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(1)

- การกระจายรายได้
     คนจนที่สุด 20% ของประชากร มีรายได้ 4.18% ของรายได้
      ทั้งหมด
     คนรวยที่สุด 20% ของประชากร มีรายได้ 56.53% ของรายได้
      ทั้งหมด
คนรวยมีอตราการเพิมขึนของรายได้ มากกว่า คนจน
        ั        ่ ้
ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(2)

- ความแตกต่ างของรายได้ และความเจริญระหว่ างเมืองกับชนบท
  ระหว่ างกรุงเทพฯ กับต่ างจังหวัด
- การขยายตัวทางเศรษฐกิจกับการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
  และความเสื่ อมโทรมของสิ่ งแวดล้ อม
- ความไม่ สมดุลของโครงสร้ างการผลิตและระดับการศึกษาของคนงาน
ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(3)

- การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด             การออมภายในประเทศ
  ลดลงน้ อยกว่ าการลงทุน
- ภาคเอกชน พึงพาเงินกู้ต่างประเทศสู งมาก เป็ นเงินกู้ระยะสั้ น
               ่
  แต่ นามาลงทุนเพือหวังผลในระยะยาว ภาคธุรกิจการเงิน
                  ่
  มีความอ่ อนแอ
พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ(1)


 - การส่ งออกและการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง
 - ความมั่นใจถึงการชาระหนีต่างประเทศลดลง
                             ้
 - การลดลงของทุนสารองระหว่ างประเทศอย่ างรวดเร็ว          โจมตี
   ค่ าเงินบาท เปลียนระบบอัตราแลกเปลียนเงินตราต่ างประเทศ
                      ่                   ่
   เป็ นระบบลอยตัว
 - ค่ าเงินบาทลดลงอย่ างรวดเร็ว      การชาระหนีสินต่ างประเทศ
                                                 ้
   เพิมขึนสู งมาก
       ่ ้               เกิดวิกฤตในสถาบันการเงินและธุรกิจ
พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ(2)

- สั ดส่ วนหนีสาธารณะ ต่ อ GDP เพิมจากร้ อยละ 14.9 เป็ นร้ อยละ 54
              ้                   ่
- แนวทางการพัฒนาประเทศทีผ่านมาไม่ มีความยังยืน
                             ่                ่            แนวทาง
  ใหม่ ทีมีความสมดุลและยังยืน
           ่               ่
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว เน้ นถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสั งคมทีสมดุล มีการพัฒนาเป็ นลาดับขั้น ไม่ เน้ นเพียง
           ่
การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่ างรวดเร็ว

พระบรมราโชวาท วันที่ 19 กรกฎาคม 2517 ทีว่า.....
                                       ่
“ในการพัฒนาประเทศนั้นจาเป็ นต้ องทาตามลาดับขั้น เริ่มด้ วย
การสร้ างพืนฐานคือ ความมีกนมีใช้ ของประชาชนก่ อน ด้ วยวิธีการ
             ้                 ิ
ประหยัดระมัดระวัง แต่ ถูกต้ องตามหลักวิชา เมือพืนฐานเกิดขึนมันคง
                                                 ่ ้         ้ ่
พอควรแล้ ว... การช่ วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ
และตั้งตัวให้ มความพอกินพอใช้ ก่อนอืนเป็ นพืนฐานนั้น เป็ นสิ่ งสาคัญ
               ี                     ่         ้
อย่ างยิงยวด เพราะผู้ที่มอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึงตนเอง ย่ อม
        ่                 ี                               ่
สามารถสร้ างความเจริญก้ าวหน้ าระดับที่สูงขึนต่ อไปได้ โดยแน่ นอน
                                             ้
ส่ วนการถือหลักที่จะส่ งเสริมความเจริญให้ ค่อยเป็ นค่ อยไปตามลาดับ
ด้ วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพือปองกันการ
                                                      ่ ้
ผิดพลาดล้ มเหลว”
พระราชดารัส เมือวันที่ 4 ธันวาคม 2517 มีข้อความส่ วนหนึ่งว่ า
               ่

         “ทั้งนี้ คนอืนจะว่ าอย่ างไรก็ช่างเขา จะว่ าคนไทยล้ าสมัย
                        ่
ว่ าเมืองไทยเชย ว่ าเมืองไทยไม่ มสิ่งที่ทันสมัยใหม่ แต่ เราอยู่พอมีพอกิน
                                 ี
และขอให้ ทุกคนมีความปรารถนาทีจะให้ เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความ
                                     ่
สงบและทางานตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธาน ในทางนีที่จะให้ เมืองไทย
                                                         ้
อยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ ใช่ จะรุ่งเรืองอย่ างยอด แต่ ว่ามีความพออยู่
พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอืนๆ ถ้ าเรารักความพออยู่
                                                ่
พอกินนีได้ เราก็จะยอดยิงยวด.....”
          ้               ่
ความต้ องการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540

 นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็ นรากฐานในการจัดทา
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2544-
 2549)
เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
     เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเสมือนรากฐานของชีวต รากฐานความมั่นคง
                                                       ิ
ของแผ่ นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ทีถูกตอกรองรับบ้ านเรือนตัวอาคาร
                                          ่
ไว้ นั่นเอง สิ่ งก่ อสร้ างจะมั่นคงได้ กอยู่ทเี่ สาเข็ม แต่ คนส่ วนมากมอง
                                        ็
ไม่ เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสี ยด้ วยซ้าไป
(จากวารสารชัยพัฒนา)
เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
    คนเราถ้ าพอในความต้ องการ ก็มีความโลภน้ อย เมื่อมีความโลภน้ อย
ก็เบียดเบียนคนอืนน้ อย ถ้ าทุกประเทศมีความคิด
                    ่
-อันนีไม่ ใช่ เศรษฐกิจ-
       ้
    มีความคิดว่ าทาอะไรต้ องพอเพียง หมายความว่ า พอประมาณ
ไม่ สุดโต่ ง ไม่ โลภอย่ างมาก คนเราก็อยู่เป็ นสุ ข
(4 ธันวาคม 2541)
เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
    การอยู่พอมีพอกินนั้น ไม่ ได้ หมายความว่ า ไม่ มีความก้ าวหน้ า
มันจะมีความก้ าวหน้ าแค่ พอประมาณ ถ้ าก้ าวหน้ าเร็วเกินไป ไปวิงขึนเขา
                                                               ่ ้
ยังไม่ ทนถึงยอดเขาหัวใจวาย แล้ วก็หล่ นจากเขา ถ้ าบุคคลหล่ นจากเขา
          ั
ก็ไม่ เป็ นไร ช่ างหัวเขา แต่ ว่าถ้ าคนๆ เดียวนั้น ขึนไปวิงบนเขา แล้ ว
                                                     ้    ่
หล่ นลงมา หล่ นลงมา บางทีทับคนอืน ทาให้ คนอืนต้ องหล่ นไปด้ วย
                                       ่           ่
อันนีเ้ ดือดร้ อน
เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวต ิ
แก่ พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่ า 25 ปี ตั้งแต่ ก่อน
เกิดวิกฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ ทรงเน้ น
ยาแนวทางการแก้ ไขเพือให้ รอดพ้ น และสามารถดารงอยู่ได้
  ้                    ่
อย่ างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวตน์ และความ
                                         ั
เปลียนแปลงต่ างๆ
     ่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(1)
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงการดารงอยู่และ
ปฏิบัตตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับ
      ิ
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ        แนวคิดหลัก
พัฒนาและบริหารประเทศ ให้ ดาเนินไปในทางสาย
กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือให้ ก้าวทันต่ อ
                                    ่
โลกยุคโลกาภิวตน์
             ั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(2)
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้ องมีระบบ
                                                  หลักการ
ภูมคุ้มกันในตัวที่ดพอสมควร ต่ อการมีผลกระทบ
     ิ              ี
ใดๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทั้งภายนอกและ
                           ่
ภายใน
ทั้งนี้ จะต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ     เงื่อนไข
ความระมัดระวัง อย่ างยิงในการนาวิชาการต่ างๆ มา
                         ่
ใช้ ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(3)
และขณะเดียวกันจะต้ องเสริมสร้ างพืนฐานจิตใจของ
                                      ้
คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้ มสานึก คุณธรรม ความ
                              ี                       เงื่อนไข
ซื่อสั ตย์ สุ จริต และให้ มความรอบรู้ ที่เหมาะสม ใน
                           ี
ดาเนินชีวตด้ วยความอดทน ความเพียร มีสติ
           ิ
ปัญญาและความรอบคอบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(4)
เพือให้ สมดุลและพร้ อมต่ อการรองรับการเปลียนแปลง
     ่                                         ่
อย่ างรวดเร็วและกว้ างขวาง ทั้งด้ านวัตถุ สั งคม   เปาหมาย
                                                     ้
สิ่ งแวดล้ อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ น
อย่ างดี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                           ทางสายกลาง
                           พอประมาณ
                                 มีภูมิคุ้มกัน
                     มีเหตุผล
                                  ในตัวทีดี่
        เงือนไขความรู้
           ่                                 เงือนไขคุณธรรม
                                                ่
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสั ตย์ สุจริต สติปัญญา ขยันอดทน แบ่ งปัน)
                                   นาไปสู่
                   ชีวต/เศรษฐกิจ/สั งคม/สิ่ งแวดล้อม
                      ิ
                           สมดุล/มั่นคง/ยังยืน
                                             ่
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
* ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไม่ น้อยเกินไป และ
                                             ี่
  ไม่ มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อนเช่ น การผลิต
                                                  ื่
  และการบริโภคทีอยู่ในระดับพอประมาณ
                       ่
* ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกียวกับระดับของความ
                                         ่
  พอเพียงนั้น จะต้ องเป็ นไปอย่ างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ
  ปัจจัยทีเ่ กียวข้ อง ตลอดจนคานึงถึงผลทีคาดว่ าจะเกิดขึนจาก
               ่                           ่             ้
  การกระทานั้นๆ อย่ างรอบคอบ
* การมีภูมิคุ้มกันทีดในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้ อมรับ
                      ่ ี
  ผลกระทบและการเปลียนแปลงด้ านต่ างๆ ทีคาดว่ าจะเกิดขึน
                          ่                     ่          ้
  ในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
เงื่อนไข
การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่ างๆ ให้ อยู่ในระดับพอเพียง
 ต้ องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็ นพืนฐาน
                                        ้
* เงือนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกียวกับวิชาการ
     ่                                       ่
  ต่ างๆ ที่เกียวข้ องอย่ างรอบด้ าน ความรอบคอบ ทีจะนาความรู้
               ่                                  ่
  เหล่ านั้นมาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพือประกอบการวางแผน
                                          ่
  และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
* เงือนไขคุณธรรม ทีจะต้ องเสริมสร้ าง ประกอบด้ วย ความ
     ่               ่
  ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสั ตย์ สุจริต และความอดทน
  มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
สรุปหลักการทรงงาน
   ระเบิดจากข้างใน
   ปลูกจิตสานึก                คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
   เน้นให้พึ่งตนเองได้
   คานึงถึงภูมิสงคม
                 ั
   ทาตามลาดับขั้น
   ประหยัด เรียบง่าย
    ประโยชน์สูงสุด
   บริการที่จุดเดียว             ปฏิบติอย่างพอเพียง
                                      ั
   แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
   ไม่ตดตารา
        ิ
   ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
   การมีสวนร่วม
           ่
   รู ้ รัก สามัคคี
   มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่        เปาหมายคือสังคมพอเพียง
                                   ้
เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎีใหม่

เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบติของทฤษฎีใหม่
                                                             ั
 ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบติ
                                                                            ั

                                    เศรษฐกิจพอเพียง
   ความพอเพียงระดับบุคคล                                      ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๑
                                                                         ั
                                      แบบพื้นฐาน

ความพอเพียงระดับชุมชน/องค์กร                                  ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๒
                                                                         ั
                                    เศรษฐกิจพอเพียง

  ความพอเพียงระดับประเทศ               แบบก้าวหน้า            ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๓
                                                                         ั
ทฤษฎีใหม่
มุ่งให้เกษตรกรมีความพอเพียงในการเลี้ยงตนเองได้ในระดับชี วิตที่ประหยัดก่อน
      ซึ่งมีความโดดเด่นใน ๔ ด้าน คือ
 การจัดลาดับความสาคัญของการใช้ทรัพยากร ของกิจกรรมและขันตอนการ
                                                       ้
    กระทาก่อนหลัง ส่งเสริมความสามัคคีในชุมชนเกษตรกร เพื่อให้ใช้ทรัพยากร
    ต่างๆ ร่วมกัน ขันที่สองให้ความสาคัญกับความเป็ นอยู่ สวัสดิการ สังคม
                    ้
    การศึกษาและศาสนา ขันที่สามให้ความสาคัญกับการร่วมมือกับแหล่งทุนและ
                           ้
    ธุรกิจภายนอก
 การประสานความร่วมมือ ประสานงานระหว่างหน่ วยราชการ ระหว่างภาคธุรกิจกับ
    ภาครัฐ และระหว่างธุรกิจด้วยกัน
 การสร้างความเห็นพ้องต้องกัน ตระหนักถึงสาระที่แท้จริงของการดาเนิ นชี วิต นัน
                                                                            ่
    คือ ความพอเพียง ความพออยู่พอกิน และการพึ่งตนเอง
 ความเป็ นเจ้าของและการมีส่วนร่วม เน้นการระเบิดจากข้างใน เปลี่ ยนทัศนคติ
    และพฤติกรรมของบุคคล
เศรษฐศาสตร์ บนตาชั่ง
    ทานาแบบก้าวหน้าน้อย                                             ทานาแบบก้าวหน้ามาก
  เครื่องมือ = ควาย (มีชีวิต)                             เครื่องมือ = รถ/ไฟ/เครื่องยนต์ (พาหนะ)

Input = ปอนหญ้า (หาง่าย)
        ้                                                  Input = ปอนน้ามัน (นาเข้า แพง)
                                                                   ้

      ทางานเป็ นขันตอน
                  ้                                                       ทางานได้เร็ว

       ยิ่ งใช้ยิ่งชานาญ                                  ยิ่ งใช้ย่ิ งสึกหรอ – เสียค่าอะไหล่ ค่าซ่อม

   Output 1= คายปุย
                 ๋                                                 Output 1= คายควัน

     เป็ นอาหารเติมให้ดิน                                  เป็ นพิษ - คนปวดหัว - เสียค่ารักษา
         ดินอ่อนนุ่ม                                            ต้องใช้ปุยเคมีเพิ่ม (ซื้อ/ นาเข้า)
                                                                        ๋

        ทานาได้เรื่อยๆ          สรุป:ก้าวหน้าน้อย แน่ นอนกว่า        ดินแข็ ง - ต้องปรับปรุง
                                                   ่
                                     นาไปสู่ความยังยื น
       ถ่วงดุลบนตาชัง่                                                             ่
                                                                      ถ่วงดุลบนตาชัง
ขายได้ - จ่ายน้อย - ไม่ปวดหัว                                    ขายมาก - จ่ายมาก - ปวดหัว
การประยุกต์ใช้
                     ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็ นหลัก
  การทาอะไรอย่างเป็ นขันเป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
                        ้
 พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล
  และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
 การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้ นบนพื้นฐานของความสมดุลในแต่
  ละสัดส่วนแต่ละระดับ
 ครอบคลุมทังทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี
            ้
  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเศรษฐกิจ
คุณลักษณะของ คน/กิจกรรม
                                 ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ                      มีเหตุมีผล            มีภูมิคมกันที่ดี
                                                           ุ้
  พอเหมาะกับสภาพ                 ไม่ประมาท              สุขภาพดี
 ของตน                                  (รอบรู/มีสติ)
                                              ้         พร้อมรับความเสี่ยงต่างๆ
  พอควรกับสิ่งแวดล้อม           รูสาเหตุ – ทาไม
                                  ้                    (วางแผน/เงินออม/ประกัน)
 ทางกายภาพ / สังคม              รูปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
                                    ้                   ทาประโยชน์ให้กบผูอื่น/
                                                                         ั ้
(ไม่โลภจนเบียดเบียนตัวเอง/      รูผลกระทบที่จะเกิดขึ้น สังคม
                                      ้
 ผูอื่น / ทาลายสิ่งแวดล้อม)
   ้                            ในด้านต่างๆ             เรียนรู ้ / พัฒนาตน
                                                         อย่างต่อเนื่อง


       สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็ นที่พึ่งของผูอื่นได้ ในที่สุด
                                              ้
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้    ๒.๑
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล
การปรับพฤติกรรมสู่ความพอเพียง

                  ๑. พฤติกรรม
                    การบริโภค
                                ๒.พฤติกรรม
๖. สิ่งแวดล้อม
                                   ทางเพศ



 ๕.พฤติกรรม                     ๓.พฤติกรรม
 ลดความเสี่ยง                   ออกกาลังกาย


                 ๔. สุขภาพจิต
เศรษฐกิจพอเพียง
กับการบริหารจัดการ
แนวพระราชดาริ
                                  ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร

๑) ทรงเป็ นแบบอย่างในการบริหารงานโดยวางแผนร่วมกันอย่างมีระบบ
       เน้นการพัฒนาอย่างเรียบง่ายและเป็ นขันตอน อย่างรัดกุม รอบคอบและเป็ นระบบ
                                            ้
       เตรียมทาการบ้านมาก่อน ต้องรูจกภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศและรับข้อมูลจาก
                                      ้ ั
        การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่ สภาพความเป็ นจริงและเดือดร้อนของ
        ราษฎร
       ตรวจสอบข้อมูลในพื้นที่
       เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในโครงการที่มีผลกระทบต่อส่วนได้
        ส่วนเสียของชุมชนตังแต่เริ่มโครงการ
                             ้
       ส่งเสริมการทาประชาพิจารณ์
       คิดค้นวิธีการแก้ไขปั ญหาสะท้อนออกมาในรูปของโครงการทดลองส่วนพระองค์
       เน้นการติดตามประเมินผลการดาเนิ นงานเป็ นระยะๆ
แนวพระราชดาริ
                                  ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร

๒) การบริหารจัดการแบบบูรณาการ
      เน้นอาศัยหลักวิชาการที่หลากหลายมาแก้ไขปั ญหาร่วมกันแบบสหวิทยาการ
      ใช้วิธีบรณาการ คือ นาส่วนที่แยกๆกันมารวมกันเข้าเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
                ู
       เพื่อประสานความร่วมมือ ร่วมค้นสาเหตุของปั ญหา ร่วมกันกาหนดแผนงาน
       ร่วมกันปฏิบติและร่วมกันประเมินผลการทางาน
                     ั
      ผนึ กกาลังหรือระดมกาลังของหน่ วยงานต่างๆ
      ริเริ่มศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จสาหรับเกษตรกร
      การบริหารงานอย่างมีเอกภาพ ร่วมกันทางานที่ประสานสอดคล้องกันเป็ น
       อย่างดี เน้นการประสานงาน ประสานแผน และการจัดการระหว่างกรม กอง
       และส่วนราชการต่างๆ
      การพัฒนาแบบผสมผสาน
แนวพระราชดาริ
                            ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร
๓) การบริหารงานที่สอดคล้องกับภูมิสงคม
                                  ั
    การพัฒนาที่ยึดปั ญหาและสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ เป็ นหลัก

    ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ภูมิปัญญาชาวบ้านมาปรับใช้ให้สอดคล้องกลมกลืนกับ
       วิชาการแผนใหม่อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่ องเป็ นกระบวนการเดียวกัน เป็ นการ
       ผสมผสานเทคโนโลยีเก่ากับเทคโนโลยีใหม่ให้กลมกลืนกัน ชาวบ้านสามารถ
       นาไปใช้ได้จริงอย่างเหมาะสมลงตัว
“...การพัฒนาจะต้องเป็ นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทาง
   สังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือ นิสยใจคอของคนเราจะ
                                                                ั
   ไปปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขา
   เข้ากับเราไม่ได้ แต่ถาเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบาย
                        ้
   ให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง...”
                                 พระบรมราโชวาทในพิ ธีพระราชทานปริ ญญาบัตรของมหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                               ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
เศรษฐกิจพอเพียงกับภาคการผลิต

 สาขาการเกษตร รูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมของภาคเกษตร คือ
   การพัฒนาแบบสมดุลระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีการ
   ผลิต และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการบารุงจัดหาดินและน้ า การ
   กาหนดแผนการใช้ท่ีดินที่เหมาะสมโดยแบ่งพื้นที่เป็ นเขตเกษตรกรรม
 สาขาอุตสาหกรรม เน้นอุตสาหกรรมที่สามารถนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
   ผสมผสานเข้าในขบวนการผลิตและไม่ตองใช้เงินทุนในระยะแรกสูงมากนัก
                                  ้
 สาขาบริการ ให้ความสาคัญกับการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
   สิ่งแวดล้อมอย่างเข้มข้น เสริมสร้างโอกาสในการประกอบอาชี พให้แก่ผู ้
   ยากจนและด้อยโอกาสทางสังคมให้สามารถพึ่งตนเองได้
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับ
                                       อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม
หากเอา ศกพ. มาประยุกต์ใช้จะก่อให้เกิดผลดีต่อการดาเนิ นธุรกิจ ๗ ประการ
 ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม คือ ราคาไม่แพง แต่ถูกหลักวิชาการ
 มีขนาดการผลิตที่เหมาะสมสอดคล้องกับความสามารถในการบริหารจัดการ
 ไม่โลภจนเกินไป และไม่เน้นกาไรระยะสั้นเป็ นหลัก
 ซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาเปรียบผูบริโภค ลูกค้า แรงงาน และผูจาหน่ายวัตถุดิบ
                                ้                         ้
 เน้นการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย และปรับเปลี่ยน
  ผลผลิตได้ง่าย
 เน้นการบริหารความเสี่ยงต ่าไม่ก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการบริหาร
  จัดการ
 เน้นการตอบสนองตลาดภายในท้องถิ่น ภูมิภาค ตลาดภายในประเทศและ
  ตลาดต่างประเทศ ตามลาดับ
ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปี ข้างหน้า
                      ปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                    ่
                  สูการพ ัฒนาทีสมดุล มีคณภาพยงยืน
                               ่        ุ     ่ั
  สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้     สร้างความเข้มแข็งทาง
  มีคณภาพ เสมอภาคและ
      ุ                                                        จัดการและคุ้มครองฐาน
                               เศรษฐกิจอย่างมีคณภาพ
                                                 ุ             ทรัพยากรธรรมชาติและ
          สมานฉันท์           ปรับตัวได้มนคงและกระจาย
                                         ั่                  สิ่งแวดล้อมอย่างยังยืนเพื่อ
                                                                               ่
• พัฒนาศักยภาพคนและการ           การพัฒนาที่เป็ นธรรม       ผลประโยชน์ ต่อคนรุ่นอนาคต
  ปรับตัวบนสังคมฐานความรู้
• พัฒนาคุณภาพชีวิต และ        • พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมี        • สงวนรักษาทรัพยากร
  ความมันคงในการดารงชีวิต
           ่                    เสถียรภาพ และมีภมิค้มกัน
                                                   ู ุ        ธรรมชาติทงการใช้
                                                                         ั้
• สร้างความเสมอภาคและ           ที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง     การป้ องกัน และการจัดการ
   การมีส่วนร่วมของภาคีการ                                    อย่างมีประสิทธิภาพ
                              • ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่
   พัฒนาในการบริหารจัดการ       สมดุล พึ่งตนเองและแข่งขัน   • จัดการและธารงไว้ซึ่ง
   สังคมที่ดี                                                 คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี
                                ได้ด้วยฐานความรู้
 • สร้างภูมิค้มกันและความ
              ุ
   เข้มแข็งของทุนทางสังคม     • กระจายผลประโยชน์ ของ        • กระจายการใช้ทรัพยากร
   ให้เกิดสันติสข สมานฉันท์
                ุ               การพัฒนาทางเศรษฐกิจ           อย่างเป็ นธรรมและการมี
                                อย่างทัวถึงและเป็ นธรรม
                                       ่                      ส่วนร่วมของประชาชน
   และเอื้ออาทรต่อกัน

More Related Content

What's hot

เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนิเวช แสงคำ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNunteeka Nunun
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 

What's hot (19)

เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Sufficiency economy
Sufficiency economySufficiency economy
Sufficiency economy
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง

Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 

Similar to ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง (20)

1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
88
8888
88
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียง
พอเพียงพอเพียง
พอเพียง
 

ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. ความเป็ นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย ผศ.ดร.อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
  • 2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย พ.ศ.2502-2516 GDP ขยายตัว 8.1% ต่ อปี พ.ศ.2517-2528 เศรษฐกิจตกตาทัวโลก ่ ่ GDP ขยายตัว 6.3% ต่ อปี พ.ศ.2529-2539 GDP ขยายตัว 9.1% ต่ อปี
  • 3. ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(1) - การกระจายรายได้ คนจนที่สุด 20% ของประชากร มีรายได้ 4.18% ของรายได้ ทั้งหมด คนรวยที่สุด 20% ของประชากร มีรายได้ 56.53% ของรายได้ ทั้งหมด คนรวยมีอตราการเพิมขึนของรายได้ มากกว่า คนจน ั ่ ้
  • 4. ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(2) - ความแตกต่ างของรายได้ และความเจริญระหว่ างเมืองกับชนบท ระหว่ างกรุงเทพฯ กับต่ างจังหวัด - การขยายตัวทางเศรษฐกิจกับการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ และความเสื่ อมโทรมของสิ่ งแวดล้ อม - ความไม่ สมดุลของโครงสร้ างการผลิตและระดับการศึกษาของคนงาน
  • 5. ระบบเศรษฐกิจของไทยไม่ สมดุลในหลายด้ าน(3) - การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด การออมภายในประเทศ ลดลงน้ อยกว่ าการลงทุน - ภาคเอกชน พึงพาเงินกู้ต่างประเทศสู งมาก เป็ นเงินกู้ระยะสั้ น ่ แต่ นามาลงทุนเพือหวังผลในระยะยาว ภาคธุรกิจการเงิน ่ มีความอ่ อนแอ
  • 6. พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ(1) - การส่ งออกและการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง - ความมั่นใจถึงการชาระหนีต่างประเทศลดลง ้ - การลดลงของทุนสารองระหว่ างประเทศอย่ างรวดเร็ว โจมตี ค่ าเงินบาท เปลียนระบบอัตราแลกเปลียนเงินตราต่ างประเทศ ่ ่ เป็ นระบบลอยตัว - ค่ าเงินบาทลดลงอย่ างรวดเร็ว การชาระหนีสินต่ างประเทศ ้ เพิมขึนสู งมาก ่ ้ เกิดวิกฤตในสถาบันการเงินและธุรกิจ
  • 7. พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ(2) - สั ดส่ วนหนีสาธารณะ ต่ อ GDP เพิมจากร้ อยละ 14.9 เป็ นร้ อยละ 54 ้ ่ - แนวทางการพัฒนาประเทศทีผ่านมาไม่ มีความยังยืน ่ ่ แนวทาง ใหม่ ทีมีความสมดุลและยังยืน ่ ่
  • 8. พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว เน้ นถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ และสั งคมทีสมดุล มีการพัฒนาเป็ นลาดับขั้น ไม่ เน้ นเพียง ่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่ างรวดเร็ว พระบรมราโชวาท วันที่ 19 กรกฎาคม 2517 ทีว่า..... ่
  • 9. “ในการพัฒนาประเทศนั้นจาเป็ นต้ องทาตามลาดับขั้น เริ่มด้ วย การสร้ างพืนฐานคือ ความมีกนมีใช้ ของประชาชนก่ อน ด้ วยวิธีการ ้ ิ ประหยัดระมัดระวัง แต่ ถูกต้ องตามหลักวิชา เมือพืนฐานเกิดขึนมันคง ่ ้ ้ ่ พอควรแล้ ว... การช่ วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ และตั้งตัวให้ มความพอกินพอใช้ ก่อนอืนเป็ นพืนฐานนั้น เป็ นสิ่ งสาคัญ ี ่ ้ อย่ างยิงยวด เพราะผู้ที่มอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึงตนเอง ย่ อม ่ ี ่ สามารถสร้ างความเจริญก้ าวหน้ าระดับที่สูงขึนต่ อไปได้ โดยแน่ นอน ้ ส่ วนการถือหลักที่จะส่ งเสริมความเจริญให้ ค่อยเป็ นค่ อยไปตามลาดับ ด้ วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพือปองกันการ ่ ้ ผิดพลาดล้ มเหลว”
  • 10. พระราชดารัส เมือวันที่ 4 ธันวาคม 2517 มีข้อความส่ วนหนึ่งว่ า ่ “ทั้งนี้ คนอืนจะว่ าอย่ างไรก็ช่างเขา จะว่ าคนไทยล้ าสมัย ่ ว่ าเมืองไทยเชย ว่ าเมืองไทยไม่ มสิ่งที่ทันสมัยใหม่ แต่ เราอยู่พอมีพอกิน ี และขอให้ ทุกคนมีความปรารถนาทีจะให้ เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความ ่ สงบและทางานตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธาน ในทางนีที่จะให้ เมืองไทย ้ อยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ ใช่ จะรุ่งเรืองอย่ างยอด แต่ ว่ามีความพออยู่ พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอืนๆ ถ้ าเรารักความพออยู่ ่ พอกินนีได้ เราก็จะยอดยิงยวด.....” ้ ่
  • 11. ความต้ องการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็ นรากฐานในการจัดทา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2544- 2549)
  • 12. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเสมือนรากฐานของชีวต รากฐานความมั่นคง ิ ของแผ่ นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ทีถูกตอกรองรับบ้ านเรือนตัวอาคาร ่ ไว้ นั่นเอง สิ่ งก่ อสร้ างจะมั่นคงได้ กอยู่ทเี่ สาเข็ม แต่ คนส่ วนมากมอง ็ ไม่ เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสี ยด้ วยซ้าไป (จากวารสารชัยพัฒนา)
  • 13. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร คนเราถ้ าพอในความต้ องการ ก็มีความโลภน้ อย เมื่อมีความโลภน้ อย ก็เบียดเบียนคนอืนน้ อย ถ้ าทุกประเทศมีความคิด ่ -อันนีไม่ ใช่ เศรษฐกิจ- ้ มีความคิดว่ าทาอะไรต้ องพอเพียง หมายความว่ า พอประมาณ ไม่ สุดโต่ ง ไม่ โลภอย่ างมาก คนเราก็อยู่เป็ นสุ ข (4 ธันวาคม 2541)
  • 14. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร การอยู่พอมีพอกินนั้น ไม่ ได้ หมายความว่ า ไม่ มีความก้ าวหน้ า มันจะมีความก้ าวหน้ าแค่ พอประมาณ ถ้ าก้ าวหน้ าเร็วเกินไป ไปวิงขึนเขา ่ ้ ยังไม่ ทนถึงยอดเขาหัวใจวาย แล้ วก็หล่ นจากเขา ถ้ าบุคคลหล่ นจากเขา ั ก็ไม่ เป็ นไร ช่ างหัวเขา แต่ ว่าถ้ าคนๆ เดียวนั้น ขึนไปวิงบนเขา แล้ ว ้ ่ หล่ นลงมา หล่ นลงมา บางทีทับคนอืน ทาให้ คนอืนต้ องหล่ นไปด้ วย ่ ่ อันนีเ้ ดือดร้ อน
  • 15. เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวต ิ แก่ พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่ า 25 ปี ตั้งแต่ ก่อน เกิดวิกฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ ทรงเน้ น ยาแนวทางการแก้ ไขเพือให้ รอดพ้ น และสามารถดารงอยู่ได้ ้ ่ อย่ างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวตน์ และความ ั เปลียนแปลงต่ างๆ ่
  • 16. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(1) เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงการดารงอยู่และ ปฏิบัตตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับ ิ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ แนวคิดหลัก พัฒนาและบริหารประเทศ ให้ ดาเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือให้ ก้าวทันต่ อ ่ โลกยุคโลกาภิวตน์ ั
  • 17. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(2) ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้ องมีระบบ หลักการ ภูมคุ้มกันในตัวที่ดพอสมควร ต่ อการมีผลกระทบ ิ ี ใดๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทั้งภายนอกและ ่ ภายใน ทั้งนี้ จะต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ เงื่อนไข ความระมัดระวัง อย่ างยิงในการนาวิชาการต่ างๆ มา ่ ใช้ ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน
  • 18. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(3) และขณะเดียวกันจะต้ องเสริมสร้ างพืนฐานจิตใจของ ้ คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้ มสานึก คุณธรรม ความ ี เงื่อนไข ซื่อสั ตย์ สุ จริต และให้ มความรอบรู้ ที่เหมาะสม ใน ี ดาเนินชีวตด้ วยความอดทน ความเพียร มีสติ ิ ปัญญาและความรอบคอบ
  • 19. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(4) เพือให้ สมดุลและพร้ อมต่ อการรองรับการเปลียนแปลง ่ ่ อย่ างรวดเร็วและกว้ างขวาง ทั้งด้ านวัตถุ สั งคม เปาหมาย ้ สิ่ งแวดล้ อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ น อย่ างดี
  • 20. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน มีเหตุผล ในตัวทีดี่ เงือนไขความรู้ ่ เงือนไขคุณธรรม ่ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสั ตย์ สุจริต สติปัญญา ขยันอดทน แบ่ งปัน) นาไปสู่ ชีวต/เศรษฐกิจ/สั งคม/สิ่ งแวดล้อม ิ สมดุล/มั่นคง/ยังยืน ่
  • 21. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง * ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไม่ น้อยเกินไป และ ี่ ไม่ มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อนเช่ น การผลิต ื่ และการบริโภคทีอยู่ในระดับพอประมาณ ่ * ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกียวกับระดับของความ ่ พอเพียงนั้น จะต้ องเป็ นไปอย่ างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยทีเ่ กียวข้ อง ตลอดจนคานึงถึงผลทีคาดว่ าจะเกิดขึนจาก ่ ่ ้ การกระทานั้นๆ อย่ างรอบคอบ * การมีภูมิคุ้มกันทีดในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้ อมรับ ่ ี ผลกระทบและการเปลียนแปลงด้ านต่ างๆ ทีคาดว่ าจะเกิดขึน ่ ่ ้ ในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
  • 22. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่ างๆ ให้ อยู่ในระดับพอเพียง ต้ องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็ นพืนฐาน ้ * เงือนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกียวกับวิชาการ ่ ่ ต่ างๆ ที่เกียวข้ องอย่ างรอบด้ าน ความรอบคอบ ทีจะนาความรู้ ่ ่ เหล่ านั้นมาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพือประกอบการวางแผน ่ และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ * เงือนไขคุณธรรม ทีจะต้ องเสริมสร้ าง ประกอบด้ วย ความ ่ ่ ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสั ตย์ สุจริต และความอดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
  • 23. สรุปหลักการทรงงาน  ระเบิดจากข้างใน  ปลูกจิตสานึก คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา  เน้นให้พึ่งตนเองได้  คานึงถึงภูมิสงคม ั  ทาตามลาดับขั้น  ประหยัด เรียบง่าย ประโยชน์สูงสุด  บริการที่จุดเดียว ปฏิบติอย่างพอเพียง ั  แก้ปัญหาจากจุดเล็ก  ไม่ตดตารา ิ  ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ  การมีสวนร่วม ่  รู ้ รัก สามัคคี  มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่ เปาหมายคือสังคมพอเพียง ้
  • 24. เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบติของทฤษฎีใหม่ ั ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบติ ั เศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงระดับบุคคล ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๑ ั แบบพื้นฐาน ความพอเพียงระดับชุมชน/องค์กร ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๒ ั เศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงระดับประเทศ แบบก้าวหน้า ทฤษฎีใหม่ข้นที่ ๓ ั
  • 25. ทฤษฎีใหม่ มุ่งให้เกษตรกรมีความพอเพียงในการเลี้ยงตนเองได้ในระดับชี วิตที่ประหยัดก่อน ซึ่งมีความโดดเด่นใน ๔ ด้าน คือ  การจัดลาดับความสาคัญของการใช้ทรัพยากร ของกิจกรรมและขันตอนการ ้ กระทาก่อนหลัง ส่งเสริมความสามัคคีในชุมชนเกษตรกร เพื่อให้ใช้ทรัพยากร ต่างๆ ร่วมกัน ขันที่สองให้ความสาคัญกับความเป็ นอยู่ สวัสดิการ สังคม ้ การศึกษาและศาสนา ขันที่สามให้ความสาคัญกับการร่วมมือกับแหล่งทุนและ ้ ธุรกิจภายนอก  การประสานความร่วมมือ ประสานงานระหว่างหน่ วยราชการ ระหว่างภาคธุรกิจกับ ภาครัฐ และระหว่างธุรกิจด้วยกัน  การสร้างความเห็นพ้องต้องกัน ตระหนักถึงสาระที่แท้จริงของการดาเนิ นชี วิต นัน ่ คือ ความพอเพียง ความพออยู่พอกิน และการพึ่งตนเอง  ความเป็ นเจ้าของและการมีส่วนร่วม เน้นการระเบิดจากข้างใน เปลี่ ยนทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคคล
  • 26. เศรษฐศาสตร์ บนตาชั่ง ทานาแบบก้าวหน้าน้อย ทานาแบบก้าวหน้ามาก เครื่องมือ = ควาย (มีชีวิต) เครื่องมือ = รถ/ไฟ/เครื่องยนต์ (พาหนะ) Input = ปอนหญ้า (หาง่าย) ้ Input = ปอนน้ามัน (นาเข้า แพง) ้ ทางานเป็ นขันตอน ้ ทางานได้เร็ว ยิ่ งใช้ยิ่งชานาญ ยิ่ งใช้ย่ิ งสึกหรอ – เสียค่าอะไหล่ ค่าซ่อม Output 1= คายปุย ๋ Output 1= คายควัน เป็ นอาหารเติมให้ดิน เป็ นพิษ - คนปวดหัว - เสียค่ารักษา ดินอ่อนนุ่ม ต้องใช้ปุยเคมีเพิ่ม (ซื้อ/ นาเข้า) ๋ ทานาได้เรื่อยๆ สรุป:ก้าวหน้าน้อย แน่ นอนกว่า ดินแข็ ง - ต้องปรับปรุง ่ นาไปสู่ความยังยื น ถ่วงดุลบนตาชัง่ ่ ถ่วงดุลบนตาชัง ขายได้ - จ่ายน้อย - ไม่ปวดหัว ขายมาก - จ่ายมาก - ปวดหัว
  • 27. การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็ นหลัก การทาอะไรอย่างเป็ นขันเป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง ้  พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง  การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้ นบนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ ละสัดส่วนแต่ละระดับ  ครอบคลุมทังทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเศรษฐกิจ
  • 28. คุณลักษณะของ คน/กิจกรรม ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมีผล มีภูมิคมกันที่ดี ุ้ พอเหมาะกับสภาพ ไม่ประมาท สุขภาพดี ของตน (รอบรู/มีสติ) ้ พร้อมรับความเสี่ยงต่างๆ พอควรกับสิ่งแวดล้อม รูสาเหตุ – ทาไม ้ (วางแผน/เงินออม/ประกัน) ทางกายภาพ / สังคม รูปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ้ ทาประโยชน์ให้กบผูอื่น/ ั ้ (ไม่โลภจนเบียดเบียนตัวเอง/ รูผลกระทบที่จะเกิดขึ้น สังคม ้ ผูอื่น / ทาลายสิ่งแวดล้อม) ้ ในด้านต่างๆ เรียนรู ้ / พัฒนาตน อย่างต่อเนื่อง สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็ นที่พึ่งของผูอื่นได้ ในที่สุด ้
  • 29. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ๒.๑ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล
  • 30. การปรับพฤติกรรมสู่ความพอเพียง ๑. พฤติกรรม การบริโภค ๒.พฤติกรรม ๖. สิ่งแวดล้อม ทางเพศ ๕.พฤติกรรม ๓.พฤติกรรม ลดความเสี่ยง ออกกาลังกาย ๔. สุขภาพจิต
  • 32. แนวพระราชดาริ ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร ๑) ทรงเป็ นแบบอย่างในการบริหารงานโดยวางแผนร่วมกันอย่างมีระบบ  เน้นการพัฒนาอย่างเรียบง่ายและเป็ นขันตอน อย่างรัดกุม รอบคอบและเป็ นระบบ ้  เตรียมทาการบ้านมาก่อน ต้องรูจกภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศและรับข้อมูลจาก ้ ั การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่ สภาพความเป็ นจริงและเดือดร้อนของ ราษฎร  ตรวจสอบข้อมูลในพื้นที่  เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในโครงการที่มีผลกระทบต่อส่วนได้ ส่วนเสียของชุมชนตังแต่เริ่มโครงการ ้  ส่งเสริมการทาประชาพิจารณ์  คิดค้นวิธีการแก้ไขปั ญหาสะท้อนออกมาในรูปของโครงการทดลองส่วนพระองค์  เน้นการติดตามประเมินผลการดาเนิ นงานเป็ นระยะๆ
  • 33. แนวพระราชดาริ ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร ๒) การบริหารจัดการแบบบูรณาการ  เน้นอาศัยหลักวิชาการที่หลากหลายมาแก้ไขปั ญหาร่วมกันแบบสหวิทยาการ  ใช้วิธีบรณาการ คือ นาส่วนที่แยกๆกันมารวมกันเข้าเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน ู เพื่อประสานความร่วมมือ ร่วมค้นสาเหตุของปั ญหา ร่วมกันกาหนดแผนงาน ร่วมกันปฏิบติและร่วมกันประเมินผลการทางาน ั  ผนึ กกาลังหรือระดมกาลังของหน่ วยงานต่างๆ  ริเริ่มศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จสาหรับเกษตรกร  การบริหารงานอย่างมีเอกภาพ ร่วมกันทางานที่ประสานสอดคล้องกันเป็ น อย่างดี เน้นการประสานงาน ประสานแผน และการจัดการระหว่างกรม กอง และส่วนราชการต่างๆ  การพัฒนาแบบผสมผสาน
  • 34. แนวพระราชดาริ ในการแก้ไขปั ญหาด้านการบริหาร ๓) การบริหารงานที่สอดคล้องกับภูมิสงคม ั การพัฒนาที่ยึดปั ญหาและสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ เป็ นหลัก ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้านมาปรับใช้ให้สอดคล้องกลมกลืนกับ วิชาการแผนใหม่อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่ องเป็ นกระบวนการเดียวกัน เป็ นการ ผสมผสานเทคโนโลยีเก่ากับเทคโนโลยีใหม่ให้กลมกลืนกัน ชาวบ้านสามารถ นาไปใช้ได้จริงอย่างเหมาะสมลงตัว “...การพัฒนาจะต้องเป็ นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทาง สังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือ นิสยใจคอของคนเราจะ ั ไปปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขา เข้ากับเราไม่ได้ แต่ถาเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบาย ้ ให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง...” พระบรมราโชวาทในพิ ธีพระราชทานปริ ญญาบัตรของมหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
  • 35. เศรษฐกิจพอเพียงกับภาคการผลิต  สาขาการเกษตร รูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมของภาคเกษตร คือ การพัฒนาแบบสมดุลระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีการ ผลิต และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการบารุงจัดหาดินและน้ า การ กาหนดแผนการใช้ท่ีดินที่เหมาะสมโดยแบ่งพื้นที่เป็ นเขตเกษตรกรรม  สาขาอุตสาหกรรม เน้นอุตสาหกรรมที่สามารถนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ผสมผสานเข้าในขบวนการผลิตและไม่ตองใช้เงินทุนในระยะแรกสูงมากนัก ้  สาขาบริการ ให้ความสาคัญกับการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างเข้มข้น เสริมสร้างโอกาสในการประกอบอาชี พให้แก่ผู ้ ยากจนและด้อยโอกาสทางสังคมให้สามารถพึ่งตนเองได้
  • 36. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม หากเอา ศกพ. มาประยุกต์ใช้จะก่อให้เกิดผลดีต่อการดาเนิ นธุรกิจ ๗ ประการ  ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม คือ ราคาไม่แพง แต่ถูกหลักวิชาการ  มีขนาดการผลิตที่เหมาะสมสอดคล้องกับความสามารถในการบริหารจัดการ  ไม่โลภจนเกินไป และไม่เน้นกาไรระยะสั้นเป็ นหลัก  ซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาเปรียบผูบริโภค ลูกค้า แรงงาน และผูจาหน่ายวัตถุดิบ ้ ้  เน้นการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย และปรับเปลี่ยน ผลผลิตได้ง่าย  เน้นการบริหารความเสี่ยงต ่าไม่ก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการบริหาร จัดการ  เน้นการตอบสนองตลาดภายในท้องถิ่น ภูมิภาค ตลาดภายในประเทศและ ตลาดต่างประเทศ ตามลาดับ
  • 37. ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปี ข้างหน้า ปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สูการพ ัฒนาทีสมดุล มีคณภาพยงยืน ่ ุ ่ั สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็งทาง มีคณภาพ เสมอภาคและ ุ จัดการและคุ้มครองฐาน เศรษฐกิจอย่างมีคณภาพ ุ ทรัพยากรธรรมชาติและ สมานฉันท์ ปรับตัวได้มนคงและกระจาย ั่ สิ่งแวดล้อมอย่างยังยืนเพื่อ ่ • พัฒนาศักยภาพคนและการ การพัฒนาที่เป็ นธรรม ผลประโยชน์ ต่อคนรุ่นอนาคต ปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ • พัฒนาคุณภาพชีวิต และ • พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมี • สงวนรักษาทรัพยากร ความมันคงในการดารงชีวิต ่ เสถียรภาพ และมีภมิค้มกัน ู ุ ธรรมชาติทงการใช้ ั้ • สร้างความเสมอภาคและ ที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การป้ องกัน และการจัดการ การมีส่วนร่วมของภาคีการ อย่างมีประสิทธิภาพ • ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่ พัฒนาในการบริหารจัดการ สมดุล พึ่งตนเองและแข่งขัน • จัดการและธารงไว้ซึ่ง สังคมที่ดี คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ได้ด้วยฐานความรู้ • สร้างภูมิค้มกันและความ ุ เข้มแข็งของทุนทางสังคม • กระจายผลประโยชน์ ของ • กระจายการใช้ทรัพยากร ให้เกิดสันติสข สมานฉันท์ ุ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ อย่างเป็ นธรรมและการมี อย่างทัวถึงและเป็ นธรรม ่ ส่วนร่วมของประชาชน และเอื้ออาทรต่อกัน