SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 1 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 2 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
หัวข้อเรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส 
กฎของพาสคัล มีใจความว่า “ถ้าเพิ่มแรงดัน(ความดัน)ให้กับของไหล ที่บรรจุในภาชนะปิด ณ จุดใดๆ ความ 
ดัน นั้น จะส่งกระจายกันต่อไป ทาให้ทุกๆส่วนของของไหลได้รับความดันที่เพิ่มขึ้น เท่ากันหมด” 
จะได้ PA = Pa 
A 
W 
= 
a 
F 
หรือ 
F 
W 
= 
a 
A 
หรือ 
F 
W 
= 2 
2 
r 
R 
ตัวอย่างที่ 1 แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยก 
รถยนต์มวล 1800 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) 
วิธีทา 
a 
F 
= 
A 
W 
, ( A = 60a ) 
a 
F 
= 
60a 
(1,800 )( 10 ) 
F = 300 N 
ตัวอย่างที่ 2 พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 20 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 600 
ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 4 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 150 นิวตัน ลูกสูบ 
ใหญ่จะยกน้าหนักได้เท่าใด 
วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = 
แรงที่กระทำ 
แรงที่ได้ 
4 = 
150 
F 
F = 600 
จาก 
a 
F 
= 
A 
W 
, ( A = 80a ) 
20 
600 
= 
600 
W 
W = 18,000 N 
W F 
A a 
W 
แรงที่ได้ 
แรงที่ทำ
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 2 
หลักของอาร์คีมิดีส มีใจความว่า “แรงลอยตัวที่เกิดขึ้นกับวัตถุ (ไม่ว่าวัตถุนั้นจะจมหรือลอย) ย่อมมีค่าเท่ากับ 
น้าหนักของของเหลวนั้นที่มีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมในของของเหลว” 
ตัวอย่าง3 เมื่อนาวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.8 เท่า 
ของปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 
( ความหนาแน่นของน้า =103 kg/m3 , g = 10 m/s2 ) 
วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูปที่ 2 
แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg 
จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว 
( mg )วัตถุ = ( mg )น้า 
mวัตถุ = mน้า , m =  V 
ว 
Vว =  นVน , Vน = 0.8Vว 
ว 
= 103 ( 
ว 
ว 
V 
0.8V 
) = 0.8 x 103 kg/m3 
ตอบ ความหนาแน่นของวัตถุนี้ เท่ากับ 0.8 x 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 
m 
g 
T 
รูปที่ 1 ชั่งวัตถุในอากาศ 
ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T 
T = mg 
T 
m 
g 
B 
รูปที่ 3 วัตถุจมในของเหลว 
ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T 
ดูที่วัตถุ T + B = mg 
โดย B = น้าหนักของเหลว ที่มีปริมาตร 
เท่ากับ ปริมาตรของวัตถุทั้งก้อน 
T = 0 
B mg 
รูปที่ 2 วัตถุลอยในของเหลว 
ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T 
T = 0 ดูที่วัตถุ B = mg 
โดย B = น้าหนักของเหลว ที่มีปริมาตร 
เท่ากับ ปริมาตรส่วนที่จมของวัตถุด้วย
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 3 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 2.1 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI 
เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
5 คะแนน ( A ) 
เวลา 10 นาที 
เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า แม่แรงยกรถยนต์ สามารถยกรถยนต์ได้อย่างไร 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 2.2 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI 
เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
5 คะแนน ( A ) 
เวลา 40 นาที 
เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 
1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 
1. กฎของพาสคัล 
2. หลักของอาร์คีมีดีส 
2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 
1. เครื่องยกรถไฟไฮดรอลิกทางานยกน้าหนักโดยใช้หลัก ทฤษฎี หรือกฎอะไร 
2. ถ้าเพิ่มแรงดันให้ผิวของของเหลวที่อยู่ในที่จากัด ………………………จะไปเพิ่ม ณ จุดต่างๆ ในของเหลวเท่ากัน หมด 
3. สเปรย์ฉีดน้าหอมใช้หลัก……………………………………………………………………… 
4. เครื่องอัดไฮดรอลิก ได้แก่ ……………………………………………………………………… 
5. เครื่องอัดไฮดรอลิกเป็นเครื่องมือที่ใช้ ..…………… ……………………………………. 
6. เมื่อเพิ่มแรงดันของของเหลวที่อยู่ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะ…………………… 
7. ใครเป็นผู้ค้นพบว่า ถ้าเพิ่มความดันในผิวของของไหล ที่อยู่ในที่จากัด ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไปทุกๆ จุดในของเหลวเท่ากัน……………………………………………………………. 
8. ใคร เป็นผู้ค้นพบว่า วัตถุใดๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมเพียงบางส่วน จะถูกแรงลอยตัวกระทา และ ขนาดของแรงลอยตัวนั้นเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่………………………….. 
9. แรงลอยตัว คือ …………………………………………………………………………. 
10. ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเท่ากับความหนาแน่นของของเหลว เมื่อนาวัตถุดังกล่าวลงไปไว้ในของเหลวนั้น วัตถุนั้นจะเป็นอย่างไร…………………………………………………………..
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 4 
11. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 80 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ 
มวล 1000 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) 
วิธีทา 
a 
F 
= 
A 
W 
, ( A = 80a ) 
a 
F 
= 
80a 
) 10 )( (1,000 
F = ………………. N 
12. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 8 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 500 ตร.ซม. 
การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 2 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 200 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ 
จะยกน้าหนักได้เท่าใด 
วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = 
ำ แรงที่กระท 
แรงที่ได้ 
2 = 
200 
F 
F = 400 
จาก 
a 
F 
= 
A 
W 
, ( A = 80a ) 
8 
400 
= 
500 
W 
W = ………………. N 
13. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 3000 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกดเท่ากับ 8นิวตัน ถ้าเส้นผ่าน 
ศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้ 
กดลูกสูบเล็ก 
วิธีทา จาก 
a 
F 
= 
A 
W 
, เมื่อ A = 
4 
d2 
 
จะได้ 2 d 
F 
= 2 D 
W 
, D = 6d 
2 d 
F 
= 2 36d 
3000 
F = …………. N 
X 
Y 
= 
2 
1 
F 
F 
= 
8 
....... 
ตอบ อัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก คือ …………………………. 
W 
X 
Y 
F1 
F2 
W 
แรงที่ได้ 
แรงที่ได้ แรงที่ทำ 
แรงที่กระทำ
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 5 
14. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 3 ตารางเมตร มีมวล 60,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ 
ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.6 ตารางเมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 780 กิโลกรัมต่อ 
ลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันในลูกสูบ 
เล็กสูงกว่าระดับ น้ามันในลูกสูบใหญ่ 1.5 เมตร แรง F ที่กดบนลูกสูบเล็ก 
จะต้องมีค่าเท่าใด 
วิธีทา ที่ระดับเดียวกันความดันจะเท่ากัน จะได้ 
A 
W 
= 
a 
F 
+  gh 
3 
600,000 
= 
0.6 
F 
+ ( 780 )(10)(1.5 ) 
F = …………………. นิวตัน 
15. เมื่อนาวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.5 เท่าของ 
ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) 
วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูป 
แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg 
จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว 
( mg )วัตถุ = ( mg )น้า 
mวัตถุ = mน้า , m =  V 
ว 
Vว =  นVน , Vน = 0.5Vว 
ว 
= 103 ( 
ว 
ว 
V 
0.5V 
) = ………….. kg/m3 
ตอบ ความหนาแน่นของวัตถุนี้ เท่ากับ …………………… กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 2.3 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 
1. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 120 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ 
มวล 600 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) 
วิธีทา 
a 
F 
= 
A 
W 
F 
1.5 เมตร 
60,000 กิโลกรัม 
น้ มัน 
T = 0 
B mg
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 6 
2. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 9 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 500 ตร.ซม. 
การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 3 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 600 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ 
จะยกน้าหนักได้เท่าใด 
วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = 
ำ แรงที่กระท 
แรงที่ได้ 
จาก 
a 
F 
= 
A 
W 
3. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 2,400 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกดเท่ากับ 
15 นิวตัน ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 4 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของ 
ลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก 
วิธีทา จาก 
a 
F 
= 
A 
W 
, เมื่อ A = 
4 
d2 
 
4. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 5 ตารางเมตร มี 
มวล 50,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.4 ตาราง 
เมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 750 กิโลกรัมต่อ 
ลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันในลูกสูบ 
เล็กสูงกว่าระดับน้ามันในลูกสูบใหญ่ 18 เมตร แรง F ที่กดบนลูกสูบเล็ก 
จะต้องมีค่าเท่าใด 
วิธีทา ที่ระดับเดียวกันความดันจะเท่ากัน จะได้ 
A 
W 
= 
a 
F 
+  gh 
W 
X 
Y 
F1 
F2 
F 
12 เมตร 
50,000 กิโลกรัม 
น้ มัน 
W 
แรงที่ได้ 
แรงที่ได้ แรงที่ทำ 
แรงที่กระทำ
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 7 
5. เมื่อน้าวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.6 เท่าของ ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) 
( ตอบ 0.6 เท่า ) 
วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูป 
แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg 
จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว 
( mg )วัตถุ = ( mg )น้า 
mวัตถุ = mน้า , m =  V 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
แบบฝึกทักษะ 2 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI 
เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
คะแนน 5 คะแนน 
เวลา 20 นาที 
เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีคิส 
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด 
……1. เครื่องยกรถไฟไฮดรอลิกทางานยกน้าหนักโดยใช้หลักของอาร์คีมิดีส 
……2. ถ้าเพิ่มแรงดันให้ผิวของของเหลวที่อยู่ในที่จากัด แรงดันจะไปเพิ่ม ณ จุดต่างๆ ในของเหลวเท่ากันหมด 
……3. สเปรย์ฉีดน้าหอมใช้หลักความดันของของเหลว 
……4. เครื่องอัดไฮดรอลิก ได้แก่ แม่แรงยกรถแบบหมุนเกลียว 
……5. เครื่องอัดไฮดรอลิกเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของของเหลว 
……6. เมื่อเพิ่มแรงดันของของเหลวที่อยู่ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย 
……7. พาสคัลเป็นผู้ค้นพบว่า ถ้าเพิ่มความดันในผิวของของไหล ที่อยู่ในที่จากัด ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไป ทุกๆจุดในของเหลวเท่ากัน 
……8. อาร์คีมิดีส เป็นผู้ค้นพบว่า วัตถุใดๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมเพียงบางส่วน จะถูกแรงลอยตัว กระทา และขนาดของแรงลอยตัวนั้นเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่ 
……9. แรงลอยตัว เป็นแรงทั้งหมดที่กระทาต่อวัตถุเมื่อจมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมบางส่วน 
……10. ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเท่ากับความหนาแน่นของของเหลว เมื่อนาวัตถุดังกล่าวลงไปไว้ในของเหลว นั้น วัตถุนั้นไม่จมอยู่ในของเหลวนั้น หรือไม่จมเพียงบางส่วน 
T = 0 
mg 
B
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 8 
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 
1. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 100 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ มวล 900 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) 
ก. 10 ข. 80 ค. 90 ง. 180 
2. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 6 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 600 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 4 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 500 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ จะยกน้าหนักได้เท่าใด 
ก. 1x105 N ข. 2x105 N ค. 3x105 N ง. 4x105 N 
3. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 2,240 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกด เท่ากับ 5 นิวตัน ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 8 เท่าของเส้นผ่าน ศูนย์กลางของลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก 
ก. 3 : 1 ข. 5 : 1 ค. 7 : 1 ง. 9 : 1 
4. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางเมตร มีมวล 30,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 780 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันใน ลูกสูบเล็กสูงกว่าระดับ น้ามันในลูกสูบใหญ่ 19.2 เมตร แรง F ที่กด บนลูกสูบเล็กจะต้องมีค่าเท่าใด 
ก. 120 N ข. 100 N ค. 80 N ง. 60 N 
5. เมื่อน้าวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.4 เท่าของ ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) 
ก. 0.7 ข. 0.6 ค. 0.5 ง. 0.4 
W 
X 
Y 
F1 
F2 
F 
19.2 เมตร 
30,000 กิโลกรัม 
น้ มัน

More Related Content

What's hot

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 

What's hot (20)

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 

Viewers also liked

แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลังWijitta DevilTeacher
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1lOOPIPER
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 

Viewers also liked (11)

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 

Similar to 2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส

Similar to 2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส (14)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
Satit tue133747
Satit tue133747Satit tue133747
Satit tue133747
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส

  • 1. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 1 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล หัวข้อเรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส กฎของพาสคัล มีใจความว่า “ถ้าเพิ่มแรงดัน(ความดัน)ให้กับของไหล ที่บรรจุในภาชนะปิด ณ จุดใดๆ ความ ดัน นั้น จะส่งกระจายกันต่อไป ทาให้ทุกๆส่วนของของไหลได้รับความดันที่เพิ่มขึ้น เท่ากันหมด” จะได้ PA = Pa A W = a F หรือ F W = a A หรือ F W = 2 2 r R ตัวอย่างที่ 1 แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยก รถยนต์มวล 1800 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) วิธีทา a F = A W , ( A = 60a ) a F = 60a (1,800 )( 10 ) F = 300 N ตัวอย่างที่ 2 พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 20 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 600 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 4 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 150 นิวตัน ลูกสูบ ใหญ่จะยกน้าหนักได้เท่าใด วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = แรงที่กระทำ แรงที่ได้ 4 = 150 F F = 600 จาก a F = A W , ( A = 80a ) 20 600 = 600 W W = 18,000 N W F A a W แรงที่ได้ แรงที่ทำ
  • 2. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 2 หลักของอาร์คีมิดีส มีใจความว่า “แรงลอยตัวที่เกิดขึ้นกับวัตถุ (ไม่ว่าวัตถุนั้นจะจมหรือลอย) ย่อมมีค่าเท่ากับ น้าหนักของของเหลวนั้นที่มีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมในของของเหลว” ตัวอย่าง3 เมื่อนาวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.8 เท่า ของปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ( ความหนาแน่นของน้า =103 kg/m3 , g = 10 m/s2 ) วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูปที่ 2 แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว ( mg )วัตถุ = ( mg )น้า mวัตถุ = mน้า , m =  V ว Vว =  นVน , Vน = 0.8Vว ว = 103 ( ว ว V 0.8V ) = 0.8 x 103 kg/m3 ตอบ ความหนาแน่นของวัตถุนี้ เท่ากับ 0.8 x 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร m g T รูปที่ 1 ชั่งวัตถุในอากาศ ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T T = mg T m g B รูปที่ 3 วัตถุจมในของเหลว ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T ดูที่วัตถุ T + B = mg โดย B = น้าหนักของเหลว ที่มีปริมาตร เท่ากับ ปริมาตรของวัตถุทั้งก้อน T = 0 B mg รูปที่ 2 วัตถุลอยในของเหลว ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง คือ แรงดึง T T = 0 ดูที่วัตถุ B = mg โดย B = น้าหนักของเหลว ที่มีปริมาตร เท่ากับ ปริมาตรส่วนที่จมของวัตถุด้วย
  • 3. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 3 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 2.1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า แม่แรงยกรถยนต์ สามารถยกรถยนต์ได้อย่างไร รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 2.2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 40 นาที เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 1. กฎของพาสคัล 2. หลักของอาร์คีมีดีส 2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. เครื่องยกรถไฟไฮดรอลิกทางานยกน้าหนักโดยใช้หลัก ทฤษฎี หรือกฎอะไร 2. ถ้าเพิ่มแรงดันให้ผิวของของเหลวที่อยู่ในที่จากัด ………………………จะไปเพิ่ม ณ จุดต่างๆ ในของเหลวเท่ากัน หมด 3. สเปรย์ฉีดน้าหอมใช้หลัก……………………………………………………………………… 4. เครื่องอัดไฮดรอลิก ได้แก่ ……………………………………………………………………… 5. เครื่องอัดไฮดรอลิกเป็นเครื่องมือที่ใช้ ..…………… ……………………………………. 6. เมื่อเพิ่มแรงดันของของเหลวที่อยู่ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะ…………………… 7. ใครเป็นผู้ค้นพบว่า ถ้าเพิ่มความดันในผิวของของไหล ที่อยู่ในที่จากัด ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไปทุกๆ จุดในของเหลวเท่ากัน……………………………………………………………. 8. ใคร เป็นผู้ค้นพบว่า วัตถุใดๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมเพียงบางส่วน จะถูกแรงลอยตัวกระทา และ ขนาดของแรงลอยตัวนั้นเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่………………………….. 9. แรงลอยตัว คือ …………………………………………………………………………. 10. ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเท่ากับความหนาแน่นของของเหลว เมื่อนาวัตถุดังกล่าวลงไปไว้ในของเหลวนั้น วัตถุนั้นจะเป็นอย่างไร…………………………………………………………..
  • 4. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 4 11. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 80 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ มวล 1000 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) วิธีทา a F = A W , ( A = 80a ) a F = 80a ) 10 )( (1,000 F = ………………. N 12. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 8 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 500 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 2 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 200 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ จะยกน้าหนักได้เท่าใด วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = ำ แรงที่กระท แรงที่ได้ 2 = 200 F F = 400 จาก a F = A W , ( A = 80a ) 8 400 = 500 W W = ………………. N 13. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 3000 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกดเท่ากับ 8นิวตัน ถ้าเส้นผ่าน ศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้ กดลูกสูบเล็ก วิธีทา จาก a F = A W , เมื่อ A = 4 d2  จะได้ 2 d F = 2 D W , D = 6d 2 d F = 2 36d 3000 F = …………. N X Y = 2 1 F F = 8 ....... ตอบ อัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก คือ …………………………. W X Y F1 F2 W แรงที่ได้ แรงที่ได้ แรงที่ทำ แรงที่กระทำ
  • 5. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 5 14. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 3 ตารางเมตร มีมวล 60,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.6 ตารางเมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 780 กิโลกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันในลูกสูบ เล็กสูงกว่าระดับ น้ามันในลูกสูบใหญ่ 1.5 เมตร แรง F ที่กดบนลูกสูบเล็ก จะต้องมีค่าเท่าใด วิธีทา ที่ระดับเดียวกันความดันจะเท่ากัน จะได้ A W = a F +  gh 3 600,000 = 0.6 F + ( 780 )(10)(1.5 ) F = …………………. นิวตัน 15. เมื่อนาวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.5 เท่าของ ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูป แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว ( mg )วัตถุ = ( mg )น้า mวัตถุ = mน้า , m =  V ว Vว =  นVน , Vน = 0.5Vว ว = 103 ( ว ว V 0.5V ) = ………….. kg/m3 ตอบ ความหนาแน่นของวัตถุนี้ เท่ากับ …………………… กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 2.3 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีดิส 1. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 120 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ มวล 600 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) วิธีทา a F = A W F 1.5 เมตร 60,000 กิโลกรัม น้ มัน T = 0 B mg
  • 6. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 6 2. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 9 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 500 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 3 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 600 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ จะยกน้าหนักได้เท่าใด วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = ำ แรงที่กระท แรงที่ได้ จาก a F = A W 3. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 2,400 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกดเท่ากับ 15 นิวตัน ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 4 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของ ลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก วิธีทา จาก a F = A W , เมื่อ A = 4 d2  4. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 5 ตารางเมตร มี มวล 50,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.4 ตาราง เมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 750 กิโลกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันในลูกสูบ เล็กสูงกว่าระดับน้ามันในลูกสูบใหญ่ 18 เมตร แรง F ที่กดบนลูกสูบเล็ก จะต้องมีค่าเท่าใด วิธีทา ที่ระดับเดียวกันความดันจะเท่ากัน จะได้ A W = a F +  gh W X Y F1 F2 F 12 เมตร 50,000 กิโลกรัม น้ มัน W แรงที่ได้ แรงที่ได้ แรงที่ทำ แรงที่กระทำ
  • 7. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 7 5. เมื่อน้าวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.6 เท่าของ ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) ( ตอบ 0.6 เท่า ) วิธีทา ปรากฏว่า วัตถุลอยน้าได้ จะเหมือนรูป แสดงว่า แรงลอยตัว ( B ) = น้าหนักของของเหลว จาก B = mg จะได้ น้าหนักของวัตถุ = น้าหนักของของเหลว ( mg )วัตถุ = ( mg )น้า mวัตถุ = mน้า , m =  V รายวิชา ฟิสิกส์ 6 แบบฝึกทักษะ 2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 คะแนน 5 คะแนน เวลา 20 นาที เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีคิส ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด ……1. เครื่องยกรถไฟไฮดรอลิกทางานยกน้าหนักโดยใช้หลักของอาร์คีมิดีส ……2. ถ้าเพิ่มแรงดันให้ผิวของของเหลวที่อยู่ในที่จากัด แรงดันจะไปเพิ่ม ณ จุดต่างๆ ในของเหลวเท่ากันหมด ……3. สเปรย์ฉีดน้าหอมใช้หลักความดันของของเหลว ……4. เครื่องอัดไฮดรอลิก ได้แก่ แม่แรงยกรถแบบหมุนเกลียว ……5. เครื่องอัดไฮดรอลิกเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของของเหลว ……6. เมื่อเพิ่มแรงดันของของเหลวที่อยู่ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย ……7. พาสคัลเป็นผู้ค้นพบว่า ถ้าเพิ่มความดันในผิวของของไหล ที่อยู่ในที่จากัด ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไป ทุกๆจุดในของเหลวเท่ากัน ……8. อาร์คีมิดีส เป็นผู้ค้นพบว่า วัตถุใดๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมเพียงบางส่วน จะถูกแรงลอยตัว กระทา และขนาดของแรงลอยตัวนั้นเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่ ……9. แรงลอยตัว เป็นแรงทั้งหมดที่กระทาต่อวัตถุเมื่อจมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมบางส่วน ……10. ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเท่ากับความหนาแน่นของของเหลว เมื่อนาวัตถุดังกล่าวลงไปไว้ในของเหลว นั้น วัตถุนั้นไม่จมอยู่ในของเหลวนั้น หรือไม่จมเพียงบางส่วน T = 0 mg B
  • 8. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฎของพาสคลั และหลักของอาร์คิมีดิส หน้า 8 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 1. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 100 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์ มวล 900 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 ) ก. 10 ข. 80 ค. 90 ง. 180 2. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 6 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 600 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สาหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 4 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 500 นิวตัน ลูกสูบใหญ่ จะยกน้าหนักได้เท่าใด ก. 1x105 N ข. 2x105 N ค. 3x105 N ง. 4x105 N 3. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้าหนัก 2,240 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกด เท่ากับ 5 นิวตัน ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 8 เท่าของเส้นผ่าน ศูนย์กลางของลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก ก. 3 : 1 ข. 5 : 1 ค. 7 : 1 ง. 9 : 1 4. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางเมตร มีมวล 30,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามัน ความหนาแน่น 780 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันใน ลูกสูบเล็กสูงกว่าระดับ น้ามันในลูกสูบใหญ่ 19.2 เมตร แรง F ที่กด บนลูกสูบเล็กจะต้องมีค่าเท่าใด ก. 120 N ข. 100 N ค. 80 N ง. 60 N 5. เมื่อน้าวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้า ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้า โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.4 เท่าของ ปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้า ( g = 10 m/s2 ) ก. 0.7 ข. 0.6 ค. 0.5 ง. 0.4 W X Y F1 F2 F 19.2 เมตร 30,000 กิโลกรัม น้ มัน