SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
1




“ เรื่องที่อยากเล่า .... แต่ยังไม่มหัวข้อ ”
                                   ี
วิริยะ เล็กประเสริฐ สูตินรีแพทย์ 18745

       เริ่มเข้าสู่ไตรมาสทีสามของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่
                           ่
เริ่มมีการคลอดบุตรเพิ่มขึ้น และจะมากเต็มที่ก็ตอนไตรมาสที่
สามจริง ๆ คือประมาณเดือนกันยายน ถึง เดือนธันวาคม จะเป็น
แบบนี้ทุกปี
          เคยได้ยินหลายคนบอกว่าการตั้งครรภ์เป็นเรื่องธรรมชาติ
ก็จริงอยู่ครับ แต่ที่หลายคนพูดต่อว่าคนตั้งครรภ์ก็เหมือนคนปกติ
อันนี้ผมเห็นว่าไม่จริง สตรีที่ตั้งครรภ์ผมถือว่าเป็นกลุ่มบุคคล
ที่ไม่ปกติ แต่เป็น กลุ่มบุคคลพิเศษ ในระหว่างที่ตั้งครรภ์
ร่างกายมีการเปลียนแปลงมากมายเหลือเกิน ทังในด้าน
                   ่                             ้
กายวิภาคและสรีรวิทยา และการเปลียนแปลงเหล่านี้ทำาให้
                                        ่
ร่างกายพร้อมที่จะเกิดความเสี่ยงต่าง ๆ ได้มากมาย ทังในเรื่อง
                                                        ้
ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์เอง ภาวะแทรกซ้อนทางอายุร
กรรม และภาวะแทรกซ้อนทางศัลยกรรม โดยประมาณแล้ว
เมื่อตั้งครรภ์จะมีความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าวดังกล่าวร้อยละ 11. 3
       ในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ รกยังไม่
สามารถทำางานเลี้ยงตัวอ่อนได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากการฝังตัว
กับผนังมดลูกยังไม่แข็งแรง ดังนั้นหากมีการกระทบกระทือนก็จะ
ทำาให้มีการหลุดลอก ฉีกขาดของรกออกจากผนังมดลูกทำาให้เกิด
การแท้งได้ ( นี่ไม่นับรวมเรื่องที่ตัวอ่อนมีความผิดปกติทาง
พันธุกรรมเองมาก ๆ จนไม่อาจพัฒนาการต่อได้ แล้วธรรมชาติก็
กำาจัดตัวเองโดยการแท้ง ) การกระทบกระเทือนทีว่านี้มากน้อย
                                                     ่
แค่ไหนในแต่ละคนก็ไม่เหมือนกัน แม้แต่ในคนเดียวกันมันคนละ
เวลาก็ต่างกันครับ เช่น ก่อนตั้งครรภ์ฉันเคยทำางานต่าง ๆ ได้
แต่พอตั้งครรภ์มันอาจไม่ได้แล้วหละครับ
         ในบางคนฮอร์โมนจากรังไข่ที่จะพยุงรกไว้ใน 3 เดือนแรกมี
น้อย ก็ทำาให้แท้งได้ กรณีนี้บางคนอาจมีประวัติที่ชวนสงสัยมา
ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ก็ได้ เช่นมีประจำาเดือนมาไม่ปกติ อาจมา
เดือนละ 2 ครั้ง หรือมาเดือนเว้นเดือน หรือหายไปเลย 2 – 3
เดือน เป็นต้น
2


         มีเรื่องแปลกอยู่เรื่องหนึ่งที่หลายคนอาจไม่ทราบ คือ
เนื้อเยื่อของการตั้งครรภ์ถือเ ป็นสิ่งแปลกใหม่ในร่างกายของเรา
ในบางคนระบบภูมิต้านทานของร่างกายจะรับรู้ไปว่าเนื้อเยื่อตั้ง
ครรภ์นี้คือสิ่งแปลกปลอม ระบบภูมิต้านทานจึงเกิดปฏิกิริยาต่อ
ต้าน ถ้าปฏิกิริยานีมีมากก็ทำาให้แท้งได้อีก ใน William
                      ้
Obstetrics Ed. 23 rd, 1152 – 1153 บอกไว้ว่าภาวะแบบนี้พบได้
ประมาณร้อยละ 5




     สาเหตุของการแท้งใน 3 เดือนแรกยังมีอีกมากมาย แต่ขอคุย
เท่านี้ก็แล้วกัน โดยรวม ๆ แล้วในระยะนีโอกาสแท้งมีมากถึงร้อย
                                      ้
ละ 70 – 80 เห็นตัวเลขแล้วก็ตกใจ แต่เป็นอย่างนี้จริง ๆ ครับ
กรณีที่เราให้การรักษาพยุงครรภ์โดยผ่านการแท้งมาได้ในระยะ 3
เดือนแรกแล้ว ก็คงต้องประคองดูแลกันต่อในระยะต่อ ๆ ไปด้วย
ครับ เพราะในแต่ละช่วงไตรมาสของการตั้งครรภ์ก็มีภาวะ
แทรกซ้อนที่ต่างกัน นอกจากนี้หากเราผ่านการแท้งมาได้ก็เป็น
ไปได้วาจะเสี่ยงต่อภาวะการเจริญเติบโตช้าของทารกในครรภ์ (
         ่
ขนาดทารกเล็กกว่าอายุครรภ์ ) หรือการคลอดก่อนกำาหนดได้
เนื่องจากรายทีมีภาวะ “ แท้งคุกคาม ” ในช่วงแรก ๆ นั้นรกก็มัก
                ่
จะไม่ค่อยแข็งแรงอยูแล้ว จึงเป็นไปได้ว่ามันจะเสื่อมก่อนกำาหนด
                    ่
      เมื่ออายุครรภ์ได้ล่วงเลยมาเกิน 3 - 4 เดือนแล้ว
ถือว่าเริ่มเข้าสู่ระยะไตรมาสที่ สองของการตั้งครรภ์
ในระยะนีนำ้าหนักของมดลูก นำ้าหนักของนำ้าครำ่า นำ้าหนักรกจะเริ่ม
          ้
มากขึ้น ถ้าใครที่มีแนวโน้มของภาวะปากมดลูกหลวม หรือ
กล้ามเนื้อเชิงกรานไม่แข็งแรง ก็อาจเกิดปัญหาได้ เพราะปาก
มดลูกอาจเปิดได้เองโดยที่ไม่มีการบีบตัวของมดลูก ไม่เจ็บครรภ์
เพียงแค่เรายืนหรือเดินนานไปหน่อย หรือเดินขึ้นทางลาดชันบ่อย
มากเกินไป ก็จะกระตุ้นให้ทารกมีการเคลื่อนตัวเข้ามาในเชิงกราน
ได้ ซึงปกติแล้วการเคลื่อนตัวลงเชิงกรานจะเริ่มตอนอายุครรภ์
        ่
35 สัปดาห์ไปแล้ว
       หลายครั้งทีมีประวัตินำาว่านั่งรถมอเตอร์ไซด์ หรือสามล้อ
                      ่
เครื่อง ( รถตุ๊ก...ตุ๊ก ) แล้วเกิดอาการก็มีครับ เพราะในรายทีมี
                                                            ่
โอกาสเกิดภาวะดังกล่าวนีแค่แรงดึงดูดของโลก หรือแรงโน้มถ่วง
                              ้
ของโลกก็ทำาให้ทารกเคลื่อนตัวลงมาในเชิงกรานแล้วดันให้ปาก
3


มดลูกเปิดได้แล้ว ดังนั้นวิธีป้องกันแต่เนิ่น ๆ ก็คือ ควรบริหาร
กล้ามเนื้อเชิงกรานให้แข็งแรงไว้ ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ แต่ถ้าตั้ง
ครรภ์ไปแล้ว ในช่วงระยะนี้ก็ควรสังเกตุอาการถ่วงหรือหน่วงที่
เชิงกราน ( บริเวณขาหนีบ ) หรือในช่องคลอด ถ้ามีอาการก็ให้
รีบนังหรือนอนเอนหลังเพื่อช่วยให้อาการดีขึ้น แต่ในรายที่มี
     ่
อาการมาก ๆ อาจแท้งในระยะนี้เลยก็ได้ โดยที่ไม่รู้สึกถึงการเจ็บ
ครรภ์เลยก็มี การดูแลรักษาเรื่อง “ ภาวะปากมดลูกหลวม ”
ขอไม่กล่าวถึงในที่นี้เนื่องจากรายละเอียดมากเกรงว่าเนื้อที่จะไม่
พอครับ
        เมื่ออายุครรภ์มาถึงช่วงที่เลย 7 – 8 เดือนแล้วถือว่า
เข้าสู่ระยะไตรมาสที่สาม ซึ่งเป็นไตรมาสสุดท้ายของการตั้ง
ครรภ์ อาการไม่สบายตัวต่าง ๆ จะมากขึ้น เช่น ปวดหลัง (
ซึ่งบางคนจะเป็นตั้งแต่ไตรมาสที่สองแล้วหละ ) ปวดสะโพก
ปวดบริเวณหัวหน่าว จุกเสียดท้องเหมือนมีอาการโรคกระเพาะ
มากขึ้น บางคนรู้สึกร้อนตลอดเวลา บางคนถึงกับบอกว่าอยาก
คลอดแล้ว ....



แต่ถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ในการคลอดขอให้อดทนรอให้ครบกำาหนดที่ 38
สัปดาห์ก่อนเป็นอย่างน้อยครับ หรือถ้าสุด ๆ จริง ๆ ก็ขอให้เป็น
37 สัปดาห์ขึ้นไปจะดีกว่า เพื่อทารกจะได้มีความพร้อมในการ
ออกมาดูโลก ( ยกเว้นในรายที่มีปํญหาบางอย่าง เช่น รกเสื่อม
)
       พวกอาการปวดข้อต่อต่าง ๆ นั้นมักเป็นผลจากฮอร์โมน
บางตัวที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ทำาให้ข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกายหลวม
มากขึ้น ดังนั้นใครที่กล้ามเนื้อไม่แข็งแรงข้อต่อต่าง ๆ ก็จะ
เคลื่อนไปจากตำาแหน่งเดิมมากก็ทำาให้ปวดมากได้ ดังนั้นการใช้
อุปกรณ์ช่วยในการพยุงโครงสร้างร่างกาย เช่น กางเกงชั้นใน
สำาหรับคนตั้งครรภ์ก็จะช่วยลดอาการปวดเหล่านี้ได้บ้าง
       ส่วนอาการจุกเสียด ที่มมากขึ้นเป็นผลจากมดลูกที่โต
                                 ี
มากจะดันเบียดกระเพาะอาหารให้สูงขึ้น และมีความจุลดลง ดัง
นั้นกรดและนำ้าย่อยต่าง ๆ ในทางเดินอาหารที่มีอยู่จะล้นขึ้นมาที่
หลอดอาหารในช่องอกจนทำาให้เกิดอาการดังกล่าวได้ นอกจากนี้
การบีบตัวของทางเดินอาหารที่ช้าลงที่มีอยู่แล้วตั้งแต่แรก ๆ ซึ่ง
4


เป็นผลจากฮอร์โมนบางตัวที่เกิดในขณะตั้งครรภ์ก็เป็นตัวเสริมให้
อาการดังกล่าวเป็นได้มากขึ้น
       ส่วนอาการที่รู้สึกว่าร้อนบ่อย ๆ นันเป็นเพราะช่วงนี้หลอด
                                         ้
เลือดในร่างกายมีการขยายตัวมาก ประกอบกับปริมาณนำ้าเลือด
และเม็ดเลือดก็มากขึ้นด้วย ( ยกเว้นคนที่มปัญหาเรื่องเลือดจาง )
                                            ี
ทำาให้อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นกว่าปกติ ... แต่คงไม่ถึงกับมีไข้นะ
ครับ ถ้าเกิดมีไข้ก็คงเป็นปัญหาอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องมาดู
       การสังเกตุการดิ้นของทารกในระยะนี้มีความสำาคัญ
มาก ๆ เลย ขอให้นับทุก ๆ วัน ( ทีจริงก็ต้องสังเกตุและนับทุก
                                       ่
วันตั้งแต่ 5 เดือนแล้ว ) ถ้ารู้สึกว่าเด็กดิ้นน้อยลงแม้แต่วันเดียว
ให้รีบมาโรงพยาบาลทันที .... บางคนลูกดิ้นน้อยลงมา 2 วัน
แล้วพึ่งมา มาถึงก็ช่วยอะไรไม่ได้แล้วก็มี ... น่าเสียใจมาก ๆ ...
บางครั้งที่เด็กนิ่งเฉยไปอาจเป็นเพราะเค้าหลับ แต่ .... ขอให้
ทราบว่าทารกจะหลับในครรภ์นานเท่าไรก็แตกต่างกันไปในแต่ละ
คน โดยทั่วไปจะประมาณ 70 - 120 นาที ดังนั้นหากเด็กนิ่งเฉย
ไปนานใกล้ ๆ 120 นาทีแล้วขอให้นึกไว้ก่อนว่าอาจมีสิ่งผิดปกติ (
แต่ไม่ได้หมายความว่าให้คุณแม่ตั้งนาฬิกาปลุกไว้ตอนกลางคืน
ทุก 2 ชั่วโมงนะครับ ) ควรรีบมาพบแพทย์ ความยากในการสัง
เกตุเด็กดิ้นคือ บางครั้งไปสับสนกับเด็กสะอึก เด็กไม่ดิ้นแล้ว
... แต่สะอึก คุณแม่ก็นึกว่าเด็กยังดีอยู่ อันตรายมาก ๆ ครับ
ข้อสังเกตุที่ต่างกันคือ จังหวะการดิ้นของเด็กจะไม่สมำ่าเสมอ แต่
การสะอึกจังหวะจะสมำ่าเสมอติด ๆ กัน นานประมาณ 10 นาที
หรือ 15 นาที หรืออาจครึ่งชั่วโมงก็ได้




      ในกรณีที่สงสัยมีความเสื่อมของรกมักสังเกตุอาการได้จาก
มีนำ้านมไหลออกจากหัวนม นำ้าหนักมารดาไม่เพิ่มหรืออาจลดลง
ไปเลย นอกจากนี้ก็อาจมีอาการทารกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้นเลย
ก็ได้ รกเสื่อมนี้จะเกิดเมื่อไรก็ได้เช่นเดียวกับ ภาวะแทรกซ้อน
จากสายสะดือ ( สายสะดือโผล่ , สายสะดือพันแน่นทีทารก , ่
เส้นเลือดที่สายสะดือฉีกขาด ) บางครั้งก็มีอาการแบบฉับพลัน
5


ทันทีได้ ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยขอให้สังเกตุการดิ้นของทารก
ให้มาก ๆ ครับ

                                     9  สิงหาคม พ.ศ.
                                        2553
                                     morsutenare.page4.me

Más contenido relacionado

Destacado

Diada de la dona treballadora 3
Diada de la dona treballadora 3Diada de la dona treballadora 3
Diada de la dona treballadora 3FRANCESC THE BEST
 
Slide share
Slide shareSlide share
Slide shareAUNAR
 
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...European School of Oncology
 
108_Adages_Master_Shen_Yan
108_Adages_Master_Shen_Yan108_Adages_Master_Shen_Yan
108_Adages_Master_Shen_YanKim Siang Ng
 

Destacado (7)

Market Research Results
Market Research ResultsMarket Research Results
Market Research Results
 
Uso de herramientas
Uso de herramientasUso de herramientas
Uso de herramientas
 
Quienlashizo
QuienlashizoQuienlashizo
Quienlashizo
 
Diada de la dona treballadora 3
Diada de la dona treballadora 3Diada de la dona treballadora 3
Diada de la dona treballadora 3
 
Slide share
Slide shareSlide share
Slide share
 
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...
NY Prostate Cancer Conference - P.A. Fearn - Session 1: Data management for p...
 
108_Adages_Master_Shen_Yan
108_Adages_Master_Shen_Yan108_Adages_Master_Shen_Yan
108_Adages_Master_Shen_Yan
 

Similar a J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ

F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดUtai Sukviwatsirikul
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์supphawan
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
เสถียรธรรมสถาน1   Copyเสถียรธรรมสถาน1   Copy
เสถียรธรรมสถาน1 CopyVolunteer SdsElite
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 

Similar a J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ (20)

F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
Trauma & Pregnancy (Thai)
Trauma & Pregnancy (Thai)Trauma & Pregnancy (Thai)
Trauma & Pregnancy (Thai)
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัด
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
เสถียรธรรมสถาน1   Copyเสถียรธรรมสถาน1   Copy
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 

Más de viriyalekprasert

The neuroleptic malignant syndrome
The neuroleptic malignant syndromeThe neuroleptic malignant syndrome
The neuroleptic malignant syndromeviriyalekprasert
 
Fate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareFate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareviriyalekprasert
 
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...viriyalekprasert
 
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”viriyalekprasert
 
กลไกการคลอด
กลไกการคลอดกลไกการคลอด
กลไกการคลอดviriyalekprasert
 
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างviriyalekprasert
 
ไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีviriyalekprasert
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆviriyalekprasert
 
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์viriyalekprasert
 
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...viriyalekprasert
 
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดมาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดviriyalekprasert
 
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbJ:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital TuberculosisF:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosisviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010viriyalekprasert
 

Más de viriyalekprasert (14)

The neuroleptic malignant syndrome
The neuroleptic malignant syndromeThe neuroleptic malignant syndrome
The neuroleptic malignant syndrome
 
Fate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareFate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshare
 
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
 
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
 
กลไกการคลอด
กลไกการคลอดกลไกการคลอด
กลไกการคลอด
 
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
 
ไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรี
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
 
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
 
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
 
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดมาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
 
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbJ:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital TuberculosisF:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
 

J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ

  • 1. 1 “ เรื่องที่อยากเล่า .... แต่ยังไม่มหัวข้อ ” ี วิริยะ เล็กประเสริฐ สูตินรีแพทย์ 18745 เริ่มเข้าสู่ไตรมาสทีสามของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่ ่ เริ่มมีการคลอดบุตรเพิ่มขึ้น และจะมากเต็มที่ก็ตอนไตรมาสที่ สามจริง ๆ คือประมาณเดือนกันยายน ถึง เดือนธันวาคม จะเป็น แบบนี้ทุกปี เคยได้ยินหลายคนบอกว่าการตั้งครรภ์เป็นเรื่องธรรมชาติ ก็จริงอยู่ครับ แต่ที่หลายคนพูดต่อว่าคนตั้งครรภ์ก็เหมือนคนปกติ อันนี้ผมเห็นว่าไม่จริง สตรีที่ตั้งครรภ์ผมถือว่าเป็นกลุ่มบุคคล ที่ไม่ปกติ แต่เป็น กลุ่มบุคคลพิเศษ ในระหว่างที่ตั้งครรภ์ ร่างกายมีการเปลียนแปลงมากมายเหลือเกิน ทังในด้าน ่ ้ กายวิภาคและสรีรวิทยา และการเปลียนแปลงเหล่านี้ทำาให้ ่ ร่างกายพร้อมที่จะเกิดความเสี่ยงต่าง ๆ ได้มากมาย ทังในเรื่อง ้ ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์เอง ภาวะแทรกซ้อนทางอายุร กรรม และภาวะแทรกซ้อนทางศัลยกรรม โดยประมาณแล้ว เมื่อตั้งครรภ์จะมีความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าวดังกล่าวร้อยละ 11. 3 ในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ รกยังไม่ สามารถทำางานเลี้ยงตัวอ่อนได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากการฝังตัว กับผนังมดลูกยังไม่แข็งแรง ดังนั้นหากมีการกระทบกระทือนก็จะ ทำาให้มีการหลุดลอก ฉีกขาดของรกออกจากผนังมดลูกทำาให้เกิด การแท้งได้ ( นี่ไม่นับรวมเรื่องที่ตัวอ่อนมีความผิดปกติทาง พันธุกรรมเองมาก ๆ จนไม่อาจพัฒนาการต่อได้ แล้วธรรมชาติก็ กำาจัดตัวเองโดยการแท้ง ) การกระทบกระเทือนทีว่านี้มากน้อย ่ แค่ไหนในแต่ละคนก็ไม่เหมือนกัน แม้แต่ในคนเดียวกันมันคนละ เวลาก็ต่างกันครับ เช่น ก่อนตั้งครรภ์ฉันเคยทำางานต่าง ๆ ได้ แต่พอตั้งครรภ์มันอาจไม่ได้แล้วหละครับ ในบางคนฮอร์โมนจากรังไข่ที่จะพยุงรกไว้ใน 3 เดือนแรกมี น้อย ก็ทำาให้แท้งได้ กรณีนี้บางคนอาจมีประวัติที่ชวนสงสัยมา ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ก็ได้ เช่นมีประจำาเดือนมาไม่ปกติ อาจมา เดือนละ 2 ครั้ง หรือมาเดือนเว้นเดือน หรือหายไปเลย 2 – 3 เดือน เป็นต้น
  • 2. 2 มีเรื่องแปลกอยู่เรื่องหนึ่งที่หลายคนอาจไม่ทราบ คือ เนื้อเยื่อของการตั้งครรภ์ถือเ ป็นสิ่งแปลกใหม่ในร่างกายของเรา ในบางคนระบบภูมิต้านทานของร่างกายจะรับรู้ไปว่าเนื้อเยื่อตั้ง ครรภ์นี้คือสิ่งแปลกปลอม ระบบภูมิต้านทานจึงเกิดปฏิกิริยาต่อ ต้าน ถ้าปฏิกิริยานีมีมากก็ทำาให้แท้งได้อีก ใน William ้ Obstetrics Ed. 23 rd, 1152 – 1153 บอกไว้ว่าภาวะแบบนี้พบได้ ประมาณร้อยละ 5 สาเหตุของการแท้งใน 3 เดือนแรกยังมีอีกมากมาย แต่ขอคุย เท่านี้ก็แล้วกัน โดยรวม ๆ แล้วในระยะนีโอกาสแท้งมีมากถึงร้อย ้ ละ 70 – 80 เห็นตัวเลขแล้วก็ตกใจ แต่เป็นอย่างนี้จริง ๆ ครับ กรณีที่เราให้การรักษาพยุงครรภ์โดยผ่านการแท้งมาได้ในระยะ 3 เดือนแรกแล้ว ก็คงต้องประคองดูแลกันต่อในระยะต่อ ๆ ไปด้วย ครับ เพราะในแต่ละช่วงไตรมาสของการตั้งครรภ์ก็มีภาวะ แทรกซ้อนที่ต่างกัน นอกจากนี้หากเราผ่านการแท้งมาได้ก็เป็น ไปได้วาจะเสี่ยงต่อภาวะการเจริญเติบโตช้าของทารกในครรภ์ ( ่ ขนาดทารกเล็กกว่าอายุครรภ์ ) หรือการคลอดก่อนกำาหนดได้ เนื่องจากรายทีมีภาวะ “ แท้งคุกคาม ” ในช่วงแรก ๆ นั้นรกก็มัก ่ จะไม่ค่อยแข็งแรงอยูแล้ว จึงเป็นไปได้ว่ามันจะเสื่อมก่อนกำาหนด ่ เมื่ออายุครรภ์ได้ล่วงเลยมาเกิน 3 - 4 เดือนแล้ว ถือว่าเริ่มเข้าสู่ระยะไตรมาสที่ สองของการตั้งครรภ์ ในระยะนีนำ้าหนักของมดลูก นำ้าหนักของนำ้าครำ่า นำ้าหนักรกจะเริ่ม ้ มากขึ้น ถ้าใครที่มีแนวโน้มของภาวะปากมดลูกหลวม หรือ กล้ามเนื้อเชิงกรานไม่แข็งแรง ก็อาจเกิดปัญหาได้ เพราะปาก มดลูกอาจเปิดได้เองโดยที่ไม่มีการบีบตัวของมดลูก ไม่เจ็บครรภ์ เพียงแค่เรายืนหรือเดินนานไปหน่อย หรือเดินขึ้นทางลาดชันบ่อย มากเกินไป ก็จะกระตุ้นให้ทารกมีการเคลื่อนตัวเข้ามาในเชิงกราน ได้ ซึงปกติแล้วการเคลื่อนตัวลงเชิงกรานจะเริ่มตอนอายุครรภ์ ่ 35 สัปดาห์ไปแล้ว หลายครั้งทีมีประวัตินำาว่านั่งรถมอเตอร์ไซด์ หรือสามล้อ ่ เครื่อง ( รถตุ๊ก...ตุ๊ก ) แล้วเกิดอาการก็มีครับ เพราะในรายทีมี ่ โอกาสเกิดภาวะดังกล่าวนีแค่แรงดึงดูดของโลก หรือแรงโน้มถ่วง ้ ของโลกก็ทำาให้ทารกเคลื่อนตัวลงมาในเชิงกรานแล้วดันให้ปาก
  • 3. 3 มดลูกเปิดได้แล้ว ดังนั้นวิธีป้องกันแต่เนิ่น ๆ ก็คือ ควรบริหาร กล้ามเนื้อเชิงกรานให้แข็งแรงไว้ ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ แต่ถ้าตั้ง ครรภ์ไปแล้ว ในช่วงระยะนี้ก็ควรสังเกตุอาการถ่วงหรือหน่วงที่ เชิงกราน ( บริเวณขาหนีบ ) หรือในช่องคลอด ถ้ามีอาการก็ให้ รีบนังหรือนอนเอนหลังเพื่อช่วยให้อาการดีขึ้น แต่ในรายที่มี ่ อาการมาก ๆ อาจแท้งในระยะนี้เลยก็ได้ โดยที่ไม่รู้สึกถึงการเจ็บ ครรภ์เลยก็มี การดูแลรักษาเรื่อง “ ภาวะปากมดลูกหลวม ” ขอไม่กล่าวถึงในที่นี้เนื่องจากรายละเอียดมากเกรงว่าเนื้อที่จะไม่ พอครับ เมื่ออายุครรภ์มาถึงช่วงที่เลย 7 – 8 เดือนแล้วถือว่า เข้าสู่ระยะไตรมาสที่สาม ซึ่งเป็นไตรมาสสุดท้ายของการตั้ง ครรภ์ อาการไม่สบายตัวต่าง ๆ จะมากขึ้น เช่น ปวดหลัง ( ซึ่งบางคนจะเป็นตั้งแต่ไตรมาสที่สองแล้วหละ ) ปวดสะโพก ปวดบริเวณหัวหน่าว จุกเสียดท้องเหมือนมีอาการโรคกระเพาะ มากขึ้น บางคนรู้สึกร้อนตลอดเวลา บางคนถึงกับบอกว่าอยาก คลอดแล้ว .... แต่ถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ในการคลอดขอให้อดทนรอให้ครบกำาหนดที่ 38 สัปดาห์ก่อนเป็นอย่างน้อยครับ หรือถ้าสุด ๆ จริง ๆ ก็ขอให้เป็น 37 สัปดาห์ขึ้นไปจะดีกว่า เพื่อทารกจะได้มีความพร้อมในการ ออกมาดูโลก ( ยกเว้นในรายที่มีปํญหาบางอย่าง เช่น รกเสื่อม ) พวกอาการปวดข้อต่อต่าง ๆ นั้นมักเป็นผลจากฮอร์โมน บางตัวที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ทำาให้ข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกายหลวม มากขึ้น ดังนั้นใครที่กล้ามเนื้อไม่แข็งแรงข้อต่อต่าง ๆ ก็จะ เคลื่อนไปจากตำาแหน่งเดิมมากก็ทำาให้ปวดมากได้ ดังนั้นการใช้ อุปกรณ์ช่วยในการพยุงโครงสร้างร่างกาย เช่น กางเกงชั้นใน สำาหรับคนตั้งครรภ์ก็จะช่วยลดอาการปวดเหล่านี้ได้บ้าง ส่วนอาการจุกเสียด ที่มมากขึ้นเป็นผลจากมดลูกที่โต ี มากจะดันเบียดกระเพาะอาหารให้สูงขึ้น และมีความจุลดลง ดัง นั้นกรดและนำ้าย่อยต่าง ๆ ในทางเดินอาหารที่มีอยู่จะล้นขึ้นมาที่ หลอดอาหารในช่องอกจนทำาให้เกิดอาการดังกล่าวได้ นอกจากนี้ การบีบตัวของทางเดินอาหารที่ช้าลงที่มีอยู่แล้วตั้งแต่แรก ๆ ซึ่ง
  • 4. 4 เป็นผลจากฮอร์โมนบางตัวที่เกิดในขณะตั้งครรภ์ก็เป็นตัวเสริมให้ อาการดังกล่าวเป็นได้มากขึ้น ส่วนอาการที่รู้สึกว่าร้อนบ่อย ๆ นันเป็นเพราะช่วงนี้หลอด ้ เลือดในร่างกายมีการขยายตัวมาก ประกอบกับปริมาณนำ้าเลือด และเม็ดเลือดก็มากขึ้นด้วย ( ยกเว้นคนที่มปัญหาเรื่องเลือดจาง ) ี ทำาให้อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นกว่าปกติ ... แต่คงไม่ถึงกับมีไข้นะ ครับ ถ้าเกิดมีไข้ก็คงเป็นปัญหาอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องมาดู การสังเกตุการดิ้นของทารกในระยะนี้มีความสำาคัญ มาก ๆ เลย ขอให้นับทุก ๆ วัน ( ทีจริงก็ต้องสังเกตุและนับทุก ่ วันตั้งแต่ 5 เดือนแล้ว ) ถ้ารู้สึกว่าเด็กดิ้นน้อยลงแม้แต่วันเดียว ให้รีบมาโรงพยาบาลทันที .... บางคนลูกดิ้นน้อยลงมา 2 วัน แล้วพึ่งมา มาถึงก็ช่วยอะไรไม่ได้แล้วก็มี ... น่าเสียใจมาก ๆ ... บางครั้งที่เด็กนิ่งเฉยไปอาจเป็นเพราะเค้าหลับ แต่ .... ขอให้ ทราบว่าทารกจะหลับในครรภ์นานเท่าไรก็แตกต่างกันไปในแต่ละ คน โดยทั่วไปจะประมาณ 70 - 120 นาที ดังนั้นหากเด็กนิ่งเฉย ไปนานใกล้ ๆ 120 นาทีแล้วขอให้นึกไว้ก่อนว่าอาจมีสิ่งผิดปกติ ( แต่ไม่ได้หมายความว่าให้คุณแม่ตั้งนาฬิกาปลุกไว้ตอนกลางคืน ทุก 2 ชั่วโมงนะครับ ) ควรรีบมาพบแพทย์ ความยากในการสัง เกตุเด็กดิ้นคือ บางครั้งไปสับสนกับเด็กสะอึก เด็กไม่ดิ้นแล้ว ... แต่สะอึก คุณแม่ก็นึกว่าเด็กยังดีอยู่ อันตรายมาก ๆ ครับ ข้อสังเกตุที่ต่างกันคือ จังหวะการดิ้นของเด็กจะไม่สมำ่าเสมอ แต่ การสะอึกจังหวะจะสมำ่าเสมอติด ๆ กัน นานประมาณ 10 นาที หรือ 15 นาที หรืออาจครึ่งชั่วโมงก็ได้ ในกรณีที่สงสัยมีความเสื่อมของรกมักสังเกตุอาการได้จาก มีนำ้านมไหลออกจากหัวนม นำ้าหนักมารดาไม่เพิ่มหรืออาจลดลง ไปเลย นอกจากนี้ก็อาจมีอาการทารกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้นเลย ก็ได้ รกเสื่อมนี้จะเกิดเมื่อไรก็ได้เช่นเดียวกับ ภาวะแทรกซ้อน จากสายสะดือ ( สายสะดือโผล่ , สายสะดือพันแน่นทีทารก , ่ เส้นเลือดที่สายสะดือฉีกขาด ) บางครั้งก็มีอาการแบบฉับพลัน