SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 38
โครงสร้างของระบบ
             ประสาท
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
โครงสร้างของระบบประสาท
   แบ่งตามตาแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ
1.ระบบประสาทส่วนกลาง
  (central nervous
    system หรือ
    CNS) ได้แก่
   สมองและไขสันหลัง



ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. ระบบประสาทรอบนอก
(peripheral nervous system :
    PNS)
 ได้แก่ เส้นประสาทสมอง
และเส้นประสาทไขสันหลัง




ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทส่วนกลาง
            โครงสร้างของสมองแบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่
          สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลางและ สมองส่วนหลัง




ฉวีวรรณ นาคบุตร
arachnoid mater



                                                  pia mater
Dura mater




ทั้งสมองและไขสันหลังมีเนื้อหุ้ม 3 ชั้น คือชั้นนอกสุด(dura mater)
 มีลักษณะหนาเหนียวและแข็งแรง ทาหน้าที่ี ป้องกันการ
 กระทบกระเทือนแก่ส่วนที่เป็นเนื้อสมองและไขสันหลัง
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
- ชั้นกลาง (arachnoid) เป็นเยื่อบาง ๆ
 - ชั้นในสุด (pia mater) แนบสนิทไปตามรอยโค้งเว้าของสมองและไขสัน
หลัง จึงมีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มาก เพื่อนาสารอาหารและออกซิเจนมาเลี้ยง
เซลล์ของสมองและไขสันหลัง                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระหว่างเยื่อหุ้มสมอง ชั้นกลางกับชั้นในเป็นที่อยู่ของน้าเลี้ยง
     สมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) ซึ่งช่องนี้มีทาง
     ติดต่อกับช่องตามยาวซึงติดต่อกับช่องภายในไขสันหลังและโพรง
                            ่
     ภายในสมอง
             น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังมีหน้าที่นาออกซิเจนและ
     สารอาหารมาหล่อเลี้ยงเซลล์ประสาทและนาของเสียออกจากเซลล์



ฉวีวรรณ นาคบุตร
น้าเลียงสมองและไขสันหลัง
        ้
       น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังสร้างมาจากเส้นเลือดฝอยบริเวณโพรงสมอง
 และไหลติดต่อกับระบบหมุนเวียนเลือด โดยทาหน้าที่ในการหล่อเลี้ยงสมองและ
 ไขสันหลังให้ชุ่มชืนอยู่เสมอและให้อาหาร แก๊สออกซิเจนแก่เซลล์ประสาท ใน
                    ้
 ขณะเดียวกันก็ถ่ายเทของเสียออกจากเซลล์ประสาท
       ถ้าช่องที่ติดต่อระหว่างโพรงสมองกับไขสันหลังอุดตัน จะทาให้เกิดการคั่ง
 ของน้าในโพรงสมอง ถ้าเป็นในเด็กจะทาให้สมองไม่เจริญเติบโต เนื่องจากถูกน้า
 กดสมองไว้ และดันให้กะโหลกศีรษะขยายขึ้นทาให้หัวโตมากเรียกว่าเป็น โรคน้า
 คั่งในสมอง (hydrocephalus) ถ้าไม่รีบเจาะน้าออก เด็กจะตายในเวลาไม่นาน
 นัก ถ้าหากเป็นในผู้ใหญ่จะทาให้เกิดอาการปวดศีรษะอย่างมาก

ฉวีวรรณ นาคบุตร
โรคน้าคั่งในสมอง (hydrocephalus)
ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมอง (Brain)

      สมองเป็นระบบประสาทที่มีความซับซ้อนมากที่สุด สมองของสัตว์มี
   กระดูกสันหลังอยู่ในกะโหลกศีรษะ
       ชั้นนอกมีสีเทา (gray matter) เป็นส่วนของเซลล์ที่ไม่มเี ยื่อ
   ไมอีลินห่อหุ้ม
       ชั้นในเป็นสีขาว (white matter) เป็นส่วนที่อยู่ของเส้นประสาท
   เเละมีเยื่อไมอีลินห่อหุ้ม


ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพแสดงสมอง




ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทบรรจุอยู่ใน Craial Cavity
โดยทั่วไปมีน้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม ประกอบด้วยเชลล์ประสาทมากกว่า
ร้อยละ 90 ของเชลล์ประสาททังหมด บรรจุอยู่ในกะโหลกศีรษะเพื่อป้องกัน
                            ้
การกระทบกระเทือน

    สัตว์ชั้นสูงมีพัฒนาการทางสมองดี
   และพบว่ารอยหยักบนสมองสัมพันธ์
   กับความสามารถในการเรียนรู้
   อัตราส่วนระหว่างน้าหนักสมองต่อ
   น้าหนักตัวมีแนวโน้มที่จะทาให้ฉลาด
   และ เรียนรู้ได้ดี
ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองเป็นอวัยวะสาคัญทา
   หน้าที่ควบคุมการทางานของ
   อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
        สารเคมีมีผลต่อระบบ
   ประสาทส่วนกลาง ทาให้ง่วง
   นอนหรือควบคุมอารมณ์ไม่ได้


ฉวีวรรณ นาคบุตร
การดื่มสุราในปริมาณมาก ๆ ทุกวันจะทาลายเซลล์ประสาทใน
สมอง ทาให้เซลล์ประสาทลดลงอาจเป็นโรคสมองฝ่อหรืออัลไซเมอร์
(alzheimer’s disease)
           โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ความจาเสื่อม เซลล์ประสาทใน
สมองเสื่อมลงหรือถูกทาลาย ทาให้เนื้อสมอง ฝ่อเล็กน้อย รอยหยักของ
สมองน้อยลง น้าเลี้ยงสมองเพิ่มมากขึ้น อาจเกิดมาจากสาเหตุทาง
พันธุกรรมของยีนเด่น เนื่องจากขาดยีนควบคุมการสร้างเอนไซม์หรือบาง
รายอาจเกิดจากการสะสมของสารอะลูมิเนียมในสมองมากกว่าปกติ

ฉวีวรรณ นาคบุตร
ความพิการของสมองในเด็กอาจเป็นได้จากสาเหตุต่าง ๆ
     หลายประการ เช่น ได้รับสารตะกั่วจากสิ่งแวดล้อมมากเกินไป
     โดยอาจได้รับจากอากาศ อาหาร น้าดื่ม ทาให้เซลล์สมองถูก
     ทาลาย
          การขาดธาตุไอโอดีนในขณะเป็นเด็กจะทาให้สมองไม่พัฒนา
     อาจทาให้เป็นโรคเอ๋อ (endemic goiter) คือมีสติปัญญาต่าหรือ
     เป็นปัญญาอ่อนได้
           ความผิดปกติของโครโมโซมทั้งออโตโซมและโครโมโซมเพศก็
     อาจทาให้ีเกิดโรคปัญญาอ่อนได้

ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมอง (Brain)
      สมองคนเรา แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมอง
  ส่วนกลาง และ สมองส่วนหลัง
       สมองแต่ละส่วนมีการควบคุมการทางานของร่างกายแตกต่างกัน
   ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
   1. สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon)
      ประกอบด้วย ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulm) เซรีบรัม
   (cerebrum) ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) ทาลามัส
   (thalamus)
ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. สมองส่วนกลาง (midbrain)
         พัฒนาลดรูปเหลือแค่ออพติกโลบ (optic lobe)

      3. สมองส่วนหลัง (hindbrain)
          ประกอบด้วย เซรีเบลลัม (cerebellum)
           เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
           พอนส์ (pons)



ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองส่วนหน้า (forebrain)

 ประกอบด้วย
เซรีบรัม(cerebrum)
ทาลามัส (thalamus)
ออลแฟกทอรีบลบ์ั
       (olfactory bulm)
ไฮโปทาลามัส (hypothalamus)


 http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/chapter2/custom1/deluxe-
 content.html                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulm)
       สมองส่วนนี้ของคนไม่เจริญมาก จึงรับกลิ่นได้ไม่ดี เเต่ในปลา
   ส่วนนี้เจริญมากเป็นส่วนทีอยู่หน้าสุด
                               ่
       ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น มีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับ
   สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ




ฉวีวรรณ นาคบุตร
เซรีบรัม (cerebrum)
      เป็นสมองที่มีการเจริญเปลี่ยนเปลงมากที่สุดและมีขนาดใหญ่โต
   มากที่สุด มีเชลล์ประสาทมาก ความฉลาดของสัตว์ขึ้นอยู่กับ
   จานวนเชลล์สมอง
      มีหน้าทีการทางานเกี่ยวกับ ความคิดความจา เชาวน์ปัญญา
              ่ี
   ศูนย์กลางควบคุมการทางานด้านต่างๆ การสัมผัส การพูด การ
   มองเห็น รับรส การไดยิน การดมกลิ่น การทางานของกล้ามเนื้อ
      เซรีบรัม คือ สมองส่วนที่อยู่บนสุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งมี
   น้าหนักรวมกันประมาณร้อยละ 85 ของน้าหนักสมองทั้งหมด
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะที่สาคัญของเซรีบรัม
     1.ชั้นนอกหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร เรียกว่า เซรีบรัมคอร์เทกซ์
     (cerebrum cortex) มีรอยพับเป็นร่องหรือรอยหยักจานวนมาก
     และมีเนื้อสมองสีเทา ทีประกอบด้วยตัวเซลล์ประสาทจานวนมากและ
                             ่
     ใยประสาททีไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเป็นส่วนใหญ่
                   ่
     2.ภายใต้เซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นชั้นหนาของเนื้อสีขาว ประกอบด้วย
     แอกซอนที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเป็นส่วนใหญ่ ทาให้มีลักษณะเป็นสีขาว
     เนื่องจากเยื่อไขมันไมอีลิน

ฉวีวรรณ นาคบุตร
3. เซรีบรัมแบ่งออกเป็น 2 ซีกด้วยร่องลึกตรงกลาง มีมัดเส้นใย
    แอกซอนหลายมัดติดต่อระหว่าง 2 ซีก มัดใหญ่ที่สุดเรียกว่า
    corpus callosum สมองแต่ละซีกทาหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อซีก
    ตรงข้ามของร่างกาย
         4. ร่องหรือรอยหยักแบ่ง เซรีบรัมคอร์เทกซ์ ออกเป็นส่วนๆ
    ชัดเจน 4 พู (lobe)


ฉวีวรรณ นาคบุตร
เซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นออกส่วนๆชัดเจน 4 พู (lobe)

  Frontal lobe - ศูนย์ควบคุมการ
  ทางานของกล้ามเนื้อลาย (motor
  area)
  - ศูนย์ควบคุมเกี่ยวกับการพูด
  - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
  - ควบคุมความฉลาดระดับสูง ได้แก่
  สมาธิ การวางแผน การตัดสินใจ

ฉวีวรรณ นาคบุตร
Parietal lobe
- ศูนย์ควบคุมการรับความรู้สึก (sensory area)
- ความเข้าใจและการใช้คาพูด




                                 Occipital lobe
                                 -ศูนย์การมองเห็น (visual area)
                                 เช่น การเพ่งมอง การแปลสิ่งที่มอง



  Temporal lobe
  - ศูนย์การได้ยิน (auditory area)
  - ความจา (memory area)
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
หน้าที่ของเซรีบรัม
       1. เซรีบรัมเป็นสมองส่วนที่พัฒนามากที่สุดในคน ทาหน้าที่
  ควบคุมระดับสูง ส่วนใหญ่เกี่ยวกับความรู้ ความจา เชาว์ปัญญา และ
  เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ การรับสัมผัสต่างๆ
       2.ได้รับกระแสประสาทความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึกทุกหน่วย
  และส่งกระแสประสาทสังการไปสู่สมองส่วนอื่นและร่างกายทุกส่วนเพื่อ
                        ่
  ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
  3.แต่ละบริเวณของเซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นศูนย์ควบคุมการทางาน
  ทางานที่ต่างๆกัน

ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไฮโปทาลามัส (hypotalamus)
      เป็นสมองส่วนที่มีขนาดเล็ก ทาหน้าที่ควบคุมขบวนการต่าง ๆ ของ
 ร่างกาย เช่น ควบคุมการทางานของร่างกาย ควบคุมการเต้นของหัวใจ ควบคุม
 การทางานพื้นฐานของร่างกาย เช่น น้า อาหาร ความต้องการทางเพศ สร้าง
 ฮอร์โมนประสาทมาควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ทาลามัส (thalamus)

          เป็นส่วนที่อยู่ห่างจากเซรีบรัีม ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวม
   กระแสประสาทที่ผ่านเข้าออกและแยกกระแสประสาทไปยังสมอง
   ที่เกี่ยวกับกระแสประสาทนัน     ้
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองส่วนกลาง (midbrain)
    เป็นสมองส่วนที่เล็ก เพราะถูกส่วนอื่น ๆ บดบังไว้ มีหน้าที่ถ่ายทอดกระเเส
 ประสาทจากสมองส่วนท้ายไปยังซีรีบรัม ส่วนบนจะพูออกเป็น4 พู เรียกการ
 พัฒนาลดรูปทีเ่ หลืออยู่นว่า ออพติกโลบ (optic lobe) โดยมีเส้นประสาทเเยก
                         ี้
 ไปยังลูกตาทั้งสองข้าง
ออพติกโลบ (optic lobe)
   ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว
ของนัยน์ตา ทาให้ลูกนัยน์ตา
กลอกไปมาได้
ควบคุมการปิดเปิดของรูม่านตาใน
เวลาที่มี่แสงสว่างเข้ามากและน้อย

ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองส่วนหลัง (hindbrain)
       ประกอบด้วยเซรีเบลลัม (cerebellum) เมดัลลาออบลองกาตา
   (medulla oblongata) และพอนส์ (pons)




ฉวีวรรณ นาคบุตร
เซรีเบลลัม (cerebellum)
     ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
ชั้นนอกเรียกว่า คอร์เทกซ์
(cortex) มีสีเทา ชั้นในมีสีขาวแตก
กิ่งก้านสาขาคล้ายกิ่งไม้
      ทาหน้าที่ประสานการเคลื่อนไหว
ของร่างกาย ให้สามารถทางานได้
อย่างละเอียดอ่อน ควบคุมการทรงตัว
ของร่างกาย
พอนส์ (pons)
                                    อยู่ทางด้ายหลังของเซรีบรัม
                                    ประกอบด้วยมัดของเเถบประสาท
                                    เป็นทางผ่านของกระเเสประสาท
                                    ระหว่างเซรีบรัมเเละเซรีเบลลัม

     ทาหน้าที่ควบคุมการเคี้ยว การหลังน้าลาย การเคลื่อนไหวของ
                                    ่
ใบหน้า ควบคุมการหายใจเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างเซรีบรัม
กับเซรีเบลลัม และ เซรีเบลรัมกับไขสันหลัง

ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
                        เป็นส่วนสุดท้ายของสมองต่อจากพอนส์ ตอน
                  ปลายติดกับไขสันหลัง สมองส่วนนี้มีการเปลี่ยน
                  รูปร่างจากเีดิมน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับสมอง
                  ส่วนอื่นๆ
                        ทาีหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบประสาท
                  อัตโนวัติ เป็นทางผ่านของกระเเสประสาทระหว่าง
                  สมองกับไขสันหลัง ควบคุมการเต้นของหัวใจ
                  การหายใจ ความดันเลือด การกลืน การจาม
                  การสะอึก การอาเจียน
ฉวีวรรณ นาคบุตร
สมองและไขสันหลัง
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไขสันหลัง( spinal cord )




ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง
ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)อัจฉรา นาคอ้าย
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 

La actualidad más candente (20)

ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 

Destacado

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 

Destacado (20)

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 

Similar a โครงสร้างของระบบประสาท

3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain systemPiro Jnn
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 

Similar a โครงสร้างของระบบประสาท (20)

3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain system
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 

Más de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Más de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

โครงสร้างของระบบประสาท

  • 1. โครงสร้างของระบบ ประสาท ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. โครงสร้างของระบบประสาท แบ่งตามตาแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system หรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. 2. ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system : PNS) ได้แก่ เส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. ระบบประสาทส่วนกลาง โครงสร้างของสมองแบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลางและ สมองส่วนหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. arachnoid mater pia mater Dura mater ทั้งสมองและไขสันหลังมีเนื้อหุ้ม 3 ชั้น คือชั้นนอกสุด(dura mater) มีลักษณะหนาเหนียวและแข็งแรง ทาหน้าที่ี ป้องกันการ กระทบกระเทือนแก่ส่วนที่เป็นเนื้อสมองและไขสันหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. - ชั้นกลาง (arachnoid) เป็นเยื่อบาง ๆ - ชั้นในสุด (pia mater) แนบสนิทไปตามรอยโค้งเว้าของสมองและไขสัน หลัง จึงมีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มาก เพื่อนาสารอาหารและออกซิเจนมาเลี้ยง เซลล์ของสมองและไขสันหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. ระหว่างเยื่อหุ้มสมอง ชั้นกลางกับชั้นในเป็นที่อยู่ของน้าเลี้ยง สมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) ซึ่งช่องนี้มีทาง ติดต่อกับช่องตามยาวซึงติดต่อกับช่องภายในไขสันหลังและโพรง ่ ภายในสมอง น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังมีหน้าที่นาออกซิเจนและ สารอาหารมาหล่อเลี้ยงเซลล์ประสาทและนาของเสียออกจากเซลล์ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. น้าเลียงสมองและไขสันหลัง ้ น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังสร้างมาจากเส้นเลือดฝอยบริเวณโพรงสมอง และไหลติดต่อกับระบบหมุนเวียนเลือด โดยทาหน้าที่ในการหล่อเลี้ยงสมองและ ไขสันหลังให้ชุ่มชืนอยู่เสมอและให้อาหาร แก๊สออกซิเจนแก่เซลล์ประสาท ใน ้ ขณะเดียวกันก็ถ่ายเทของเสียออกจากเซลล์ประสาท ถ้าช่องที่ติดต่อระหว่างโพรงสมองกับไขสันหลังอุดตัน จะทาให้เกิดการคั่ง ของน้าในโพรงสมอง ถ้าเป็นในเด็กจะทาให้สมองไม่เจริญเติบโต เนื่องจากถูกน้า กดสมองไว้ และดันให้กะโหลกศีรษะขยายขึ้นทาให้หัวโตมากเรียกว่าเป็น โรคน้า คั่งในสมอง (hydrocephalus) ถ้าไม่รีบเจาะน้าออก เด็กจะตายในเวลาไม่นาน นัก ถ้าหากเป็นในผู้ใหญ่จะทาให้เกิดอาการปวดศีรษะอย่างมาก ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. สมอง (Brain) สมองเป็นระบบประสาทที่มีความซับซ้อนมากที่สุด สมองของสัตว์มี กระดูกสันหลังอยู่ในกะโหลกศีรษะ ชั้นนอกมีสีเทา (gray matter) เป็นส่วนของเซลล์ที่ไม่มเี ยื่อ ไมอีลินห่อหุ้ม ชั้นในเป็นสีขาว (white matter) เป็นส่วนที่อยู่ของเส้นประสาท เเละมีเยื่อไมอีลินห่อหุ้ม ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. สมองเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทบรรจุอยู่ใน Craial Cavity โดยทั่วไปมีน้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม ประกอบด้วยเชลล์ประสาทมากกว่า ร้อยละ 90 ของเชลล์ประสาททังหมด บรรจุอยู่ในกะโหลกศีรษะเพื่อป้องกัน ้ การกระทบกระเทือน สัตว์ชั้นสูงมีพัฒนาการทางสมองดี และพบว่ารอยหยักบนสมองสัมพันธ์ กับความสามารถในการเรียนรู้ อัตราส่วนระหว่างน้าหนักสมองต่อ น้าหนักตัวมีแนวโน้มที่จะทาให้ฉลาด และ เรียนรู้ได้ดี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. สมองเป็นอวัยวะสาคัญทา หน้าที่ควบคุมการทางานของ อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย สารเคมีมีผลต่อระบบ ประสาทส่วนกลาง ทาให้ง่วง นอนหรือควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. การดื่มสุราในปริมาณมาก ๆ ทุกวันจะทาลายเซลล์ประสาทใน สมอง ทาให้เซลล์ประสาทลดลงอาจเป็นโรคสมองฝ่อหรืออัลไซเมอร์ (alzheimer’s disease) โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ความจาเสื่อม เซลล์ประสาทใน สมองเสื่อมลงหรือถูกทาลาย ทาให้เนื้อสมอง ฝ่อเล็กน้อย รอยหยักของ สมองน้อยลง น้าเลี้ยงสมองเพิ่มมากขึ้น อาจเกิดมาจากสาเหตุทาง พันธุกรรมของยีนเด่น เนื่องจากขาดยีนควบคุมการสร้างเอนไซม์หรือบาง รายอาจเกิดจากการสะสมของสารอะลูมิเนียมในสมองมากกว่าปกติ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. ความพิการของสมองในเด็กอาจเป็นได้จากสาเหตุต่าง ๆ หลายประการ เช่น ได้รับสารตะกั่วจากสิ่งแวดล้อมมากเกินไป โดยอาจได้รับจากอากาศ อาหาร น้าดื่ม ทาให้เซลล์สมองถูก ทาลาย การขาดธาตุไอโอดีนในขณะเป็นเด็กจะทาให้สมองไม่พัฒนา อาจทาให้เป็นโรคเอ๋อ (endemic goiter) คือมีสติปัญญาต่าหรือ เป็นปัญญาอ่อนได้ ความผิดปกติของโครโมโซมทั้งออโตโซมและโครโมโซมเพศก็ อาจทาให้ีเกิดโรคปัญญาอ่อนได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. สมอง (Brain) สมองคนเรา แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมอง ส่วนกลาง และ สมองส่วนหลัง สมองแต่ละส่วนมีการควบคุมการทางานของร่างกายแตกต่างกัน ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon) ประกอบด้วย ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulm) เซรีบรัม (cerebrum) ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) ทาลามัส (thalamus) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 17. 2. สมองส่วนกลาง (midbrain) พัฒนาลดรูปเหลือแค่ออพติกโลบ (optic lobe) 3. สมองส่วนหลัง (hindbrain) ประกอบด้วย เซรีเบลลัม (cerebellum) เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) พอนส์ (pons) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 18. สมองส่วนหน้า (forebrain) ประกอบด้วย เซรีบรัม(cerebrum) ทาลามัส (thalamus) ออลแฟกทอรีบลบ์ั (olfactory bulm) ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/chapter2/custom1/deluxe- content.html ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 19. ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulm) สมองส่วนนี้ของคนไม่เจริญมาก จึงรับกลิ่นได้ไม่ดี เเต่ในปลา ส่วนนี้เจริญมากเป็นส่วนทีอยู่หน้าสุด ่ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น มีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับ สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. เซรีบรัม (cerebrum) เป็นสมองที่มีการเจริญเปลี่ยนเปลงมากที่สุดและมีขนาดใหญ่โต มากที่สุด มีเชลล์ประสาทมาก ความฉลาดของสัตว์ขึ้นอยู่กับ จานวนเชลล์สมอง มีหน้าทีการทางานเกี่ยวกับ ความคิดความจา เชาวน์ปัญญา ่ี ศูนย์กลางควบคุมการทางานด้านต่างๆ การสัมผัส การพูด การ มองเห็น รับรส การไดยิน การดมกลิ่น การทางานของกล้ามเนื้อ เซรีบรัม คือ สมองส่วนที่อยู่บนสุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งมี น้าหนักรวมกันประมาณร้อยละ 85 ของน้าหนักสมองทั้งหมด ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 21. ลักษณะที่สาคัญของเซรีบรัม 1.ชั้นนอกหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร เรียกว่า เซรีบรัมคอร์เทกซ์ (cerebrum cortex) มีรอยพับเป็นร่องหรือรอยหยักจานวนมาก และมีเนื้อสมองสีเทา ทีประกอบด้วยตัวเซลล์ประสาทจานวนมากและ ่ ใยประสาททีไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเป็นส่วนใหญ่ ่ 2.ภายใต้เซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นชั้นหนาของเนื้อสีขาว ประกอบด้วย แอกซอนที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเป็นส่วนใหญ่ ทาให้มีลักษณะเป็นสีขาว เนื่องจากเยื่อไขมันไมอีลิน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 22. 3. เซรีบรัมแบ่งออกเป็น 2 ซีกด้วยร่องลึกตรงกลาง มีมัดเส้นใย แอกซอนหลายมัดติดต่อระหว่าง 2 ซีก มัดใหญ่ที่สุดเรียกว่า corpus callosum สมองแต่ละซีกทาหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อซีก ตรงข้ามของร่างกาย 4. ร่องหรือรอยหยักแบ่ง เซรีบรัมคอร์เทกซ์ ออกเป็นส่วนๆ ชัดเจน 4 พู (lobe) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. เซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นออกส่วนๆชัดเจน 4 พู (lobe) Frontal lobe - ศูนย์ควบคุมการ ทางานของกล้ามเนื้อลาย (motor area) - ศูนย์ควบคุมเกี่ยวกับการพูด - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ - ควบคุมความฉลาดระดับสูง ได้แก่ สมาธิ การวางแผน การตัดสินใจ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. Parietal lobe - ศูนย์ควบคุมการรับความรู้สึก (sensory area) - ความเข้าใจและการใช้คาพูด Occipital lobe -ศูนย์การมองเห็น (visual area) เช่น การเพ่งมอง การแปลสิ่งที่มอง Temporal lobe - ศูนย์การได้ยิน (auditory area) - ความจา (memory area) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26. หน้าที่ของเซรีบรัม 1. เซรีบรัมเป็นสมองส่วนที่พัฒนามากที่สุดในคน ทาหน้าที่ ควบคุมระดับสูง ส่วนใหญ่เกี่ยวกับความรู้ ความจา เชาว์ปัญญา และ เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ การรับสัมผัสต่างๆ 2.ได้รับกระแสประสาทความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึกทุกหน่วย และส่งกระแสประสาทสังการไปสู่สมองส่วนอื่นและร่างกายทุกส่วนเพื่อ ่ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ 3.แต่ละบริเวณของเซรีบรัมคอร์เทกซ์ เป็นศูนย์ควบคุมการทางาน ทางานที่ต่างๆกัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. ไฮโปทาลามัส (hypotalamus) เป็นสมองส่วนที่มีขนาดเล็ก ทาหน้าที่ควบคุมขบวนการต่าง ๆ ของ ร่างกาย เช่น ควบคุมการทางานของร่างกาย ควบคุมการเต้นของหัวใจ ควบคุม การทางานพื้นฐานของร่างกาย เช่น น้า อาหาร ความต้องการทางเพศ สร้าง ฮอร์โมนประสาทมาควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. ทาลามัส (thalamus) เป็นส่วนที่อยู่ห่างจากเซรีบรัีม ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวม กระแสประสาทที่ผ่านเข้าออกและแยกกระแสประสาทไปยังสมอง ที่เกี่ยวกับกระแสประสาทนัน ้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. สมองส่วนกลาง (midbrain) เป็นสมองส่วนที่เล็ก เพราะถูกส่วนอื่น ๆ บดบังไว้ มีหน้าที่ถ่ายทอดกระเเส ประสาทจากสมองส่วนท้ายไปยังซีรีบรัม ส่วนบนจะพูออกเป็น4 พู เรียกการ พัฒนาลดรูปทีเ่ หลืออยู่นว่า ออพติกโลบ (optic lobe) โดยมีเส้นประสาทเเยก ี้ ไปยังลูกตาทั้งสองข้าง ออพติกโลบ (optic lobe) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ของนัยน์ตา ทาให้ลูกนัยน์ตา กลอกไปมาได้ ควบคุมการปิดเปิดของรูม่านตาใน เวลาที่มี่แสงสว่างเข้ามากและน้อย ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 30. สมองส่วนหลัง (hindbrain) ประกอบด้วยเซรีเบลลัม (cerebellum) เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) และพอนส์ (pons) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. เซรีเบลลัม (cerebellum) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่า คอร์เทกซ์ (cortex) มีสีเทา ชั้นในมีสีขาวแตก กิ่งก้านสาขาคล้ายกิ่งไม้ ทาหน้าที่ประสานการเคลื่อนไหว ของร่างกาย ให้สามารถทางานได้ อย่างละเอียดอ่อน ควบคุมการทรงตัว ของร่างกาย
  • 32. พอนส์ (pons) อยู่ทางด้ายหลังของเซรีบรัม ประกอบด้วยมัดของเเถบประสาท เป็นทางผ่านของกระเเสประสาท ระหว่างเซรีบรัมเเละเซรีเบลลัม ทาหน้าที่ควบคุมการเคี้ยว การหลังน้าลาย การเคลื่อนไหวของ ่ ใบหน้า ควบคุมการหายใจเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างเซรีบรัม กับเซรีเบลลัม และ เซรีเบลรัมกับไขสันหลัง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 33. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป็นส่วนสุดท้ายของสมองต่อจากพอนส์ ตอน ปลายติดกับไขสันหลัง สมองส่วนนี้มีการเปลี่ยน รูปร่างจากเีดิมน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับสมอง ส่วนอื่นๆ ทาีหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบประสาท อัตโนวัติ เป็นทางผ่านของกระเเสประสาทระหว่าง สมองกับไขสันหลัง ควบคุมการเต้นของหัวใจ การหายใจ ความดันเลือด การกลืน การจาม การสะอึก การอาเจียน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 36. ไขสันหลัง( spinal cord ) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 38. The End ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี