SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 36
WELCOME
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ระบบน้้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน

WWW.UNIQUEPLACES.COM
ระบบน้้าเหลือง (Lymphatic system)
ในหลอดเลือดอาร์เตอรีมแรงดันเลือด เมื่อเลือดผ่านหลอด
ี
เลือดฝอยจะมีของเหลวซึมออกจากหลอดเลือดฝอย เพื่อไปหล่อ
เลี้ยงเซลล์ นักเรียนทราบหรือไม่วาของเหลวเหล่านีกลับเข้าสู่
่
้
ระบบหมุนเวียนเลือดได้อย่างไร

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
โครงสร้างของระบบน้้าเหลือง
ประกอบด้วย น้้าเหลือง(lymph)
หลอดน้าเหลือง (lymph vessel)
้
และซึ่งบางตอนโปร่งออกเป็น ต่อม
น้้าเหลือง (lymph node)

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ภาพแสดงหลอดน้้าเหลืองและอวัยวะในระบบภูมิคุ้มกัน
น้้าเหลือง ( Lymph )
ของเหลวที่อยู่ระหว่างเซลล์
หรืออยู่รอบๆ เซลล์ บางส่วน
จะถูกดูดซึมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย
บางส่วนจะดูดซึมเข้าสู่หลอด
น้้าเหลือง เราเรียกของเหลวที่อยู่
ในหลอดน้้าเหลืองนี้ว่า
น้้าเหลือง ดังภาพ

อาร์เตอริโอล
เวนูล

หลอดเลือดฝอย

หลอดน้าเหลืองฝอย
้

ภาพแสดง การล้าเลียงสารออกจากหลอดเลือดฝอย และการล้าเลียงน้้าเหลืองเข้าสู่หลอดน้้าเหลืองฝอย
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
น้้าเหลืองมีส่วนประกอบคล้ายพลาสมาแต่มโี ปรตีนน้อยกว่า
ส่วนประกอบของน้้าเหลืองมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของ
น้้าเหลืองว่าอยู่ที่อวัยวะใด
น้้าเหลืองที่มาจากบริเวณล้าไส้เล็ก ซึ่งมีการดูดซึมอาหารจะมีไขมันสูง
เป็นสาเหตุให้น้าเหลืองบริเวณนี้มีลักษณะคล้ายน้้านม
ส่วนน้้าเหลืองที่มาจากบริเวณต่อมน้้าเหลืองจะมีลิมโฟไซต์จ้านวนมาก
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
หลอดน้้าเหลือง
ต่อมน้้าเหลือง
ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการตรวจจับ
สิ่งแปลกปลอมที่มากับน้้าเหลือง

หลอดน้าเหลืองที่มีขนาดเล็กที่สุด
คือหลอดน้้าเหลืองฝอยซึ่งมีปลายตัน
หลอดน้้าเหลืองฝอยจากบริเวณต่างๆ
จะมาเชื่อมต่อกันเป็นหลอดน้้าเหลืองขนาดใหญ่ขึ้น

การล้าเลียงน้้าเหลืองในหลอดน้้าเหลือง
จะมีทิศทางการไหลเข้าสู่หัวใจ
ระบบหมุนเวียนเลือด
หลอดเลือดเวนขนาดใหญ่

WWW.UNIQUEPLACES.COM

หัวใจ

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
หลอดน้าเหลือง
้

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ภาพแสดงการล้าเลียงน้้าเหลืองในระบบน้้าเหลือง
โครงสร้างของหลอดน้้าเหลืองมีลักษณะคล้ายกับหลอดเลือดเวน
คือ มีลิ้นกั้นป้องกันการไหลกลับของน้้าเหลือง
ปัจจัยที่ท้าให้น้าเหลืองไหลไปตามหลอดน้้าเหลืองต่างๆ
การหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ หลอดน้้าเหลืองที่จะไปกดหรือคลายหลอด
น้้าเหลือง

หลอดน้้าเหลืองขนาดเล็กจะมีความกดมากกว่าหลอดน้้าเหลืองขนาดใหญ่
การหายใจเข้ามีผลไปขยายทรวงอกและลดความดัน ท้าให้หลอดน้้าเหลืองบริเวณทรวงอก
เกิดการขยายตัว ท้าให้น้าเหลืองไหลไปตามหลอดน้้าเหลืองอย่างช้า ๆ

อัตราการไหลของน้้าเหลือง ประมาณ 1.5 มิลลิเมตรต่อนาที
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
หน้าที่ของน้้าเหลือง
ล้าเลียงอาหารประเภทไขมัน

ก้าจัดสิ่งแปลกปลอม

หน้าที่ของต่อมน้้าเหลือง
กรองและท้าความสะอาดน้้าเหลือง

สร้างและท้าลายเม็ดเลือดขาว
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM

สร้างเม็ดเลือดแดงขณะอยู่ในท้องแม่
ตัวอย่างของต่อมน้้าเหลือง

ต่อมทอนซิล (Tonsil gland)

มีอยู่ 3 คู่ คู่ที่ส้าคัญอยู่รอบๆหลอดอาหาร ภายในต่อมทอนซิลมีลิมโฟไซต์
ท้าลายจุลินทรียที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้เข้าสูหลอดอาหารและกล่องเสียง ถ้า
์
่
ต่อมทอนซิลติดเชื้อจะมีอาการบวมขึ้น เรียกว่า ต่อมทอนซิลอักเสบ

ต่อมไทมัส (Thymus gland)

เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ตอนอายุน้อยเมื่ออายุมากจะเล็กลงและฝ่อลงในที่สุด
เป็นต่อมไร้ท่ออยู่ตรงทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ ท้าหน้าที่สร้างเซลล์
เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ T มีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคและสารแปลกปลอมเข้าสู่
ร่างกาย รวมทังการต้านอวัยวะที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่น
้
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร

WWW.UNIQUEPLACES.COM
ม้าม (spleen)

เป็นอวัยวะน้้าเหลืองที่ใหญ่ที่สุด มีเส้นเลือดมาเลี้ยงมากมาย ไม่มีท่อน้้าเหลือง
เลย สามารถยืดหดตัวได้ นุ่มมีสีม่วง อยู่ใกล้ๆกับกระ เพาะอาหารใต้กระบัง
ลมข้างซ้าย รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว ภายในจะมีลิมโฟไซต์อยู่มากมาย หน้าที่
ของม้ามมีดังนี้
1) ท้าลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุแล้ว
2) สร้างเม็ดเลือดขาว พวกลิมโฟไซต์ และโมโนไซต์ซึ่งท้าหน้าที่ป้องกัน
สิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคที่เข้าไปในกระแสเลือด
3) สร้างแอนติบอดี
4) ในสภาพผิดปกติ สามารถสร้างเม็ดเลือดแดงได้ เช่น มะเร็งเม็ดเลือด
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
- นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่า ส่วนประกอบของน้้าเหลืองต่างจากเลือด
หรือไม่ อย่างไร
ต่างกัน คือ น้้าเหลืองจะไม่มีเซลล์เม็ดเลือดแดง และโปรตีนขนาดใหญ่

- การไหลเวียนของระบบน้้าเหลืองกับการไหลเวียนของระบบเลือดเหมือน
หรือแตกต่างกันอย่างไร
การไหลเวียนของระบบเลือดมีการไหลเข้าและออกจากหัวใจ ส่วนการ
ไหลเวียนของระบบน้้าเหลืองมีทิศทางการไหลเข้าสู่หัวใจอย่างเดียว ส้าหรับ
การไหลออกนั้นจะไหลปนไปกับระบบเลือด
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
- น้้าเหลืองมาจากส่วนใดของร่างกาย และเข้าสู่หลอดเลือดฝอยได้อย่างไร
น้้าเหลืองมาจากของเหลวที่อยู่ระหว่างเซลล์หรือรอบๆ เซลล์ แล้วแพร่เข้าสู่
หลอดน้้าเหลืองฝอย

- เมื่อของเหลวที่อยู่ระหว่างเซลล์เพิ่มขึ้น ความดันของของเหลวที่เพิ่มสูงขึ้น
จะท้าให้เกิดผลอย่างไรต่อร่างกาย
ท้าให้เกิดอาการบวม เพราะมีการสะสมของเหลวมากเกินปกติ
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
- พลาสมา ของเหลวระหว่างเซลล์ และน้้าเหลืองมีความเหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
พลาสมา ของเหลวระหว่างเซลล์ และน้้าเหลืองมีส่วนประกอบคล้ายคลึง
กัน โดยของเหลวระหว่างเซลล์เกิดจากสารในพลาสมาแพร่ออกมาจาก
หลอดเลือดฝอย และมีสารบางอย่างในของเหลวระหว่างเซลล์แพร่เข้าไป
ในหลอดน้้าเหลืองฝอย เรียกว่า น้้าเหลือง จึงคล้ายพลาสมาแต่มี
โปรตีนน้อยกว่า
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
WELCOME
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ระบบภูมิคุ้มกัน

WWW.UNIQUEPLACES.COM
ระบบภูมคุ้มกัน (Immune system)
ิ
โดยปกติร่างกายจะมีการป้องกันและก้าจัดสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อ
ร่างกายโดยระบบภูมิคมกัน สิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคไม่สามารถเข้าสู่รางกายได้
ุ้
่
โดยง่ายเพราะร่างกายมีด่านป้องกันและต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมหลาย
ขั้น
เชือโรคและสิงแปลกปลอม
้
่
เชื้อโรค ได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส พยาธิต่างๆ สารเคมีที่เจือปนอยู่ใน
อากาศที่จะเข้าสู่ร่างกายทาง ผิวหนัง ทางระบบหายใจ ทางระบบย่อยอาหารหรือ
ทางระบบหมุนเวียนเลือด
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ขั้นตอนการป้องกันและต่อต้านเชื้อโรค
ขั้นที่ 1 ผิวหนังห่อหุ้มร่างกาย
- จุลินทรียไม่สามารถเข้าสู่รางกายได้
์
่
- ร่างกายจะขับกรดแลกตริคออกมาพร้อมกับเหงื่อจะป้องกันการเจริญเติบโต
ของแบคทีเรียได้
- ร่างกายมีการสร้างน้้า น้้าลาย ซึ่งมีฤทธิ์ท้าลายแบคทีเรีย เป็นการช่วยให้
เชื้อโรคหลุดออกจากร่างกายทางหนึ่งด้วย
- การไอหรืออาเจียนก็มีผลให้เชื้อโรคหลุดออกจากร่างกาย
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ขั้นที่ 2 เมื่อเชื้อโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้
เซลล์เม็ดเลือดขาวที่อยู่บริเวณนั้น ทั้งที่อยู่ในเนื้อเยื่อและท่อน้้าเหลืองก็จะเคลื่อนที่
แบบ อะมีบา เข้าท้าลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโทซิส
นอกจากนี้ยังมีอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้้าเหลือง
และการสร้างภูมิคมกันของร่างกายได้แก่
ุ้
ต่อมไทมัส(thymus gland) เป็นต่อมไร้ท่อมีต้าแหน่งอยู่ตรงทรวงอก
ด้านหน้าหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ของต่อมไทมัสท้า
หน้าที่พัฒนาลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
เซลล์ทีจากต่อมไทมัสจะเข้าสู่กระแสเลือดและน้้าเหลืองไปสู่อวัยวะต่างๆ
เช่น ต่อมน้้าเหลือง ม้าม เพื่อท้าหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่
เข้าสู่ร่างกาย รวมถึงการต่อต้านอวัยวะที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่นด้วย
ม้าม (spleen) มีต้าแหน่งอยู่ใต้กะบังลมด้านซ้ายติดกับด้านหลังของ
กระเพาะอาหาร
ในระยะเอ็มบริโอ ม้ามเป็นแหล่งผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดง แต่เมื่อหลังการ
คลอดแล้วม้ามจะเป็นที่อยู่ของลิมโฟไซต์ซึ่งท้าหน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอม
และเชื้อโรคเข้าไปในกระแสเลือดและสร้างแอนติบอดีเข้าสู่กระแสเลือด
นอกจากนี้ม้ามยังท้าหน้าที่ท้าลายเซลล์เม็ดเลือดแดงและเพลตเลตที่หมดอายุ
แล้วด้วย
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กลไกการสร้างภูมิคมกัน
ุ้

จากที่กล่าวมาแล้วว่าสิ่งมีชวิตที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อนสิ่งแวดล้อมใน
ี
ร่างกายจะมีผลต่อสภาพแวดล้อมภายในเซลล์ ร่างกายจึงต้องพยายาม
รักษาสภาพแวดล้อมภายในให้คงที่และเหมาะสมต่อกระบวนการเมแทบอลิซึม
ของเซลล์ เมื่อมีสิ่งแปลกปลอม เช่น เชื้อโรค จุลินทรีย์ สารเคมีต่างๆ เข้า
สู่ร่างกาย ซึ่งอาจจะเข้าทางผิวหนังทางเดินหายใจ ทางเดินอาหารหรือเข้า
ทางเดินระบบหมุนเวียนเลือดร่างกายจ้าเป็นต้องมีกลไกต่อต้านหรือท้าลายสิ่ง
แปลกปลอมเหล่านั้น เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งแบ่งได้เป็น
แบบไม่จาเพาะ (nonspecific defense) และแบบจ้าเพาะ
้
(specific defense)
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
รู้หรือเปล่า?
แอนติเจนคือสารที่สามารถท้าปฏิกิริยากับองค์ประกอบต่างๆ ของ
ระบบภูมิคุ้มกัน เช่นแอนติบอดี หรือเซลล์ในระบบภูมิคมกัน
ุ้
แอนติเจนส่วนใหญ่สามารถชักน้าให้เกิดการตอบสนองของภูมิคุ้มกันได้

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
กลไกการต่อต้านและท้าลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จ้าเพาะ
มีหลายด่านด้วยกัน
ผิวหนัง มีเคอราตินซึ่งเป็นโปรตีนที่ไม่ละลายน้้าเป็นองค์ประกอบอัด
แน่นภายในเซลล์และเซลล์เรียงตัวกันหลายชั้น ช่วยป้องกันการเข้าออก
ของสิ่งต่างๆได้
ผิวหนังบางบริเวณยังมีต่อมเหงื่อและต่อมไขมันหลั่งสารบางชนิดเช่น
กรดไขมัน กรดแลกติก ท้าให้ผิวหนังมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่
เอื้อต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรียบางชนิด
์
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
แต่ถ้าสิ่งแปลปลอมผ่านด่านป้องกันดังกล่าวข้างต้นเข้าสู่ร่างกายได้ ร่างกาย
ก็จะมีวิธีการต่อต้านและท้าลายสิ่งแปลกปลอมโดยกระบวนการฟาโกไซโทซิส
ของเซลล์เม็ดเลือดขาวพวกโมโนไซต์ ซึ่งออกจากกระแสเลือดไปยังเนื้อเยื่อและ
มีขนาดใหญ่ขึ้นกลายเป็นแมโครฟาจ และยังมีเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด
นิวโทรฟิลกับอิโอซิโนฟิลช่วยท้าลายจุลินทรีย์และ หนอนพยาธิต่างๆ โดย
ปล่อยเอนไซม์มาท้าลาย

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
การอักเสบ..?
การอักเสบเป็นกระบวนการต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมของ
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยผ่านกลไกต่างๆ เพื่อยับยั้งและ
ดึงดูดองค์ประกอบต่างๆ ของระบบภูมิคมกันมายังบริเวณนั้น
ุ้
เช่น การอักเสบของบาดแผลที่ติดเชื้อ จะมีอาการปวด บวม แดง
ร้อน ปรากฏให้เห็น
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
กลไกการต่อต้านหรือท้าลายสิ่งแปลกปลอมแบบจ้าเพาะ
จะเกี่ยวข้องกับการท้างานของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ ได้แก่
เซลล์บีและเซลล์ที
การท้างานของเซลล์บี
เมื่อแอนติเจนถูกท้าลายด้วยวิธีฟาโกไซโทซิส ชิ้นส่วนที่ถูกท้าลายจะไปกระตุ้นให้
เซลล์บีเพิ่มจ้านวน เซลล์บีบางเซลล์จะขยายขนาดและเปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่
สร้างแอนติบอดีจ้าเพาะต่อแอนติเจนเรียกว่า เซลล์พลาสมา (plasma cell)
เซลล์ที่ได้จากเซลล์บีแบ่งตัวบางเซลล์จะท้าหน้าที่เป็น เซลล์เมมเมอรี (memory
cell) คือจะจดจ้าแอนติเจนนั้นๆไว้ ถ้าแอนติเจนนี้เข้าสู่ร่างกายอีก เซลล์เมมเมอรี
ก็จะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และเจริญเป็นเซลล์พลาสมาสร้างแอนติบอดีออกมา
ท้าลายแอนติเจน ดังภาพ
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ภาพการสร้างภูมิคมกันแบบจ้าเพาะของลิมโฟไซต์
ุ้

WWW.UNIQUEPLACES.COM
การท้างานของเซลล์ที
เซลล์ทีจะรับแอนติเจนแต่ละชนิด เช่น เซลล์ทีบางตัวจะรับแอนติเจนที่เป็น
ไวรัสตับอักเสบ เซลล์ทีบางตัวจะรับรู้แอนติเจนที่เป็นเชื้อไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น
เซลล์ทีตัวแรกที่ตรวจจับแอนติเจนเรียกว่า เซลล์ทผชวย (helper T-cell
ี ู้ ่
หรือ CD4+) จะไปท้าหน้าที่กระตุ้นเซลล์บีให้สร้างแอนติบอดีมาต่อต้าน
แอนติเจน หรือกระตุ้นการท้างานของเซลล์ทีอื่น เช่น เซลล์ทททาลายสิ่ง
ี ี่ ้
แปลกปลอม (cytotoxic T-cell หรือ CD8+) เซลล์ทีชนิดนี้จะท้าลาย
เซลล์แปลกปลอม หรือเซลล์ที่มีสิ่งแปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ติด
เชื้อไวรัส เซลล์จากอวัยวะ ที่ร่างกายได้รับการปลูกถ่าย
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
เซลล์ทีบางเซลล์ท้าหน้าที่ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
เรียกว่า เซลล์ทีกดภูมคุมกัน (suppressor T-cell) โดยสร้างสารไป
ิ
กดการท้างานของเซลล์บีและเซลล์ทีอื่นๆ

การสร้างภูมิคมกันในร่างกายจัดเป็น 2 แบบด้วยกันคือ
ุ้
ภูมคุ้มกันก่อเอง (active immunization)
ิ
ภูมคุ้มกันรับมา (passive immunization)
ิ

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ภูมิคมกันก่อเอง เป็นวิธีการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคมกัน โดยการ
ุ้
ุ้
น้าสารที่เป็นแอนติเจนซึ่งอาจเป็นเชื้อโรคที่อ่อนก้าลังแล้วไม่สามารถที่จะท้า
อันตรายต่อร่างกาย น้ามาฉีด กิน หรือทาที่ผิวหนังเพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย
สร้างภูมิคมกัน หรือจะสร้างแอนติบอดีที่ท้าปฏิกิริยาจ้าเพาะต่อแอนติเจน
ุ้
ชนิดนั้น เชือโรคที่ถูกท้าให้อ่อนก้าลังแล้ว ที่น้ามาให้ร่างกายสร้าง
้
แอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นเรียกว่า วัคซีน(vaccine)

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
วัคซีนได้จากจุลินทรียที่ตายแล้วหรือสารบางอย่างจากจุลินทรียที่ตายแล้ว
์
์
เช่น วัคซีนที่คุ้มกันโรคไอกรน ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค วัคซีนบาง
ชนิดท้าจากจุลินทรียที่ยังมีชีวิตอยู่ แต่มีความรุนแรงของโรคลดลง ได้แก่
์
วัคซีนคุ้มกันวัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม
นอกจากนี้ยังมีวัคซีนชนิดหนึ่งที่เป็นสารพิษที่ท้าให้หมดสภาพความเป็นพิษ
เรียกว่า ทอกซอยด์ (toxoid) แต่สามารถไปกระตุ้นร่างกายให้สร้าง
ภูมิคมกันได้ เช่น วัคซีนคุมกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
ุ้
้
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ข้อดีของภูมิคมกันก่อเองนี้ ท้าให้ร่างกายเกิดภูมิคมกันอยู่นาน แต่ก็มี
ุ้
ุ้
จุดอ่อนคือต้องใช้เวลาในการรอให้ร่างกายตอบสนองต่อวัคซีนหรือแอนติเจน
ซึ่งใช้เวลาประมาณ 4-7 วัน ในหลายกรณีที่มีโรคบางชนิดแสดงอาการ
รุนแรงอย่างรวดเร็วต้องมีการให้ภูมิคุ้มกันโดยตรงเพื่อให้ผู้ป่วยนั้นมี
ภูมิคมกันทันที
ุ้

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ภูมิคุ้มกันรับมา
เป็นวิธีให้แอนติบอดีแก่ร่างกายโดยตรง เพื่อให้มีภูมิคมกันขึ้นทันที ซึ่งใช้
ุ้
รักษาโรคบางชนิดที่แสดงอาการรุนแรงและเฉียบพลัน โดยเตรียมได้จากการ
ฉีดเชื้อโรคที่อ่อนก้าลังแล้วเข้าไปในสัตว์ เช่น ม้า กระต่าย เพื่อให้ร่างกายของ
สัตว์ดังกล่าว สร้างแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้านเชื้อโรคนั้น แล้วน้าเลือดของม้า
หรือกระต่ายในส่วนที่เป็นซีรัม ในซีรัมจะมีแอนติบอดีอยู่ เมื่อน้าซีรัมมาฉีด
ให้แก่ผู้ป่วยก็เป็นการท้าให้ร่างกายได้รับภูมิคมกันโดยตรง สามารถต่อต้านโรค
ุ้
ได้ทันท่วงที เช่น ซีรัมส้าหรับคอตีบ ซีรัมส้าหรับแก้พิษงู ซีรัมแก้พิษสุนัขบ้า
ภูมิคมกันรับมายังรวมถึงภูมิคมกันที่แม่ให้ลูก โดยผ่านทารกและน้้านมที่
ุ้
ุ้
ทารกได้รับจากแม่หลังคลอดจะมีแอนติบอดีอยู่ด้วย
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ข้อดีของภูมิคุ้มกันรับมา คือ แอนติบอดีที่ได้รับจะให้ภูมิคมกันทันที ท้า
ุ้
ให้ผู้ป่วยรอดตายได้
ข้อเสียคือ แอนติบอดีอยู่ได้ไม่นานและผู้ปวยอาจแพ้วัคซีนจากสัตว์ได้
่
ข้อควรระวังในการสร้างภูมิคุ้มกันก่อเอง หญิงมีครรภ์ไม่ควรรับวัคซีนที่
เตรียมจากจุลินทรียที่ยังมีชีวิตอยู่ เพราะจุลินทรียอาจเข้าไปเจริญในตัว
์
์
ทารกที่อยู่ในครรภ์ซึ่งระบบภูมิคมกันยังไม่พัฒนาจึงอาจเป็นอันตรายได้
ุ้

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM
ภูมิคมกันที่รับมา คือ ภูมิคุ้มกันในนม
ุ้
น้้าเหลืองหรือคอลอสทรัม
ภูมิคมกันที่รับมา คือ ซีรัมป้องกันพิษงู
ุ้
WWW.UNIQUEPLACES.COM

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

การมีภมิคุ้มกันน้อยท้าให้
ู
เกิดโรคได้ง่าย แต่การมี
ภูมิคมกันมากเกินไป อาจท้าให้
ุ้
เกิดโรคได้ เช่นการแพ้เกสร
ดอกไม้ แพ้อาหารบางชนิด
หรือ โรค SLE ซึ่งเกิดจากการ
ที่ร่างกายสร้างภูมิคมกันขึ้นมา
ุ้
ต่อต้านเซลล์ของตนเอง
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM

กลไกการเกิดการแพ้เกสรดอกไม้
The End
สวัสดี
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
WWW.UNIQUEPLACES.COM

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

La actualidad más candente (20)

ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Destacado

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Destacado (8)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Más de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Más de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

ระบบน้ำเหลือง