SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 67
Descargar para leer sin conexión
๑
   ธุดงค์คือส่วนประกอบข้อปฏิบติเพื่อละ เลิกกิเลส เพื่อพ้นทุกข์ + สุข นิพพาน ณ วัดป่ าดงใหญ่ อีเมล watpadongyai@hotmail.com วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๕๕๑
                             ั


                   วิธี การ ถือ ธุดงค์ ทั้ง ๑๓ ข้ อ                                       แบบ ได้ รายละเอียด ของ แบบ สู ง กลาง ต่า
๑. ปังสุ กูลกงคะ ถือ ใช้ แต่ ผ้าบังสุ กุล งดผ้าที่ชาวบ้านถวาย จะรับแต่ผา สู ง
              ิั                                                       ้                                   เอาเฉพาะผ้าตามป่ า หรื อ จากป่ าช้า
          ่
ซึ่ งมีอยูประมาณ ๒๓ ชนิด เช่น ผ้าจากป่ าช้า ผ้าห่ อศพ ผ้าที่เก่า ๆ ผ้า กลาง                                ผ้าที่คนทาบุญวางไว้ หวังจะให้พระ
ไม่มีเจ้าของ ผ้าเปื้ อนครรภ์แม่ลูกอ่อน ผ้าเก่าไม่มีใครๆใช้ในวัด ฯลฯ                                        ถือเอา เช่น ผ้าป่ า
         ถ้า ไปรับเอาผ้าที่ได้มาจากโยม        ธุ ดงค์ขอนี้ ก็ขาด
                                                      ้                  ต่า                                 ผ้าที่เขาวางไว้ ที่ใกล้ ๆ เท้า
๒. เตจีวริกงคะ ถือ การใช้ ผ้าแค่ เพียงสามผืน เท่านั้น ก็มี ๑. ผ้าจีวร (หนา
           ั                                                                              สู ง             ใช้ผา ๓ ผืนจริ ง ๆ ไม่ใช้ผา ไม่ยมผ้า
                                                                                                               ้                        ้    ื
หนึ่งชั้น) คือ ผ้าที่พระใช้ห่ม แทนเสื้ อผ้า ๒. มีผาสังฆาฏิ ( หนาสองชั้น ) ใช้ห่ม
                                                  ้                                                        จากผูอื่น จากที่อื่นมาใช้เลย
                                                                                                                 ้
กันหนาว ห่มซ้อนกับจีวรเป็ นสองผืน ( รวมผ้าที่ใช้ห่มจะหนาสามชั้น ) เพื่อเข้าไปใน กลาง                       ยืมผ้าเก่าที่โรงย้อมผ้ามานุ่งชัวคราว ใน
                                                                                                                                          ่
บ้าน หรื อไปบิณฑบาต ๓. และมีผาสบงที่มีขนธ์ ( หนาหนึ่งชั้น ) ที่ใช้นุ่งแทนกางเกง
                                        ้      ั
                                                                                                           ตอนที่กาลังซักผ้า เมื่อผ้าแห้ง ก็เลิกใช้
ยกเว้นใช้ ผ้าอังสะ ทีกว้าง หนึ่งคืบ ยาวสามศอก จานวนหนึ่งผืน เท่านั้น
                     ่
                                                                                          ต่า              ยืมผ้าพระมานุ่ง เพื่อซ่อมจีวรตัวเองได้
ถ้ายินดีเมื่อใช้ผาผืนที่ ๔ เช่น ผ้าไตรจีวร (สบง จีวร) ที่เพิ่มมาเป็ นบริ ขารโจร ผ้าห่ม
                 ้
                                                                                                           แต่ไม่ใช่ยมเพื่อห่มตลอดวัน
                                                                                                                      ื
ผ้ากันหนาว ที่ส่งเสริ มการภาวนา ที่เกินความจาเป็ นเป็ นนิจ ธุดงค์ขอนี้กจะขาด
                                                                      ้ ็
๓. ปิ ณฑปาติกงคะ ถือ การไปเทียวบิณฑบาต เป็ นประจา เป็ นวัตร คือ ไม่
                       ั                ่                                                 สู ง             รับจากโยมข้างหน้า -หลัง - กลับ เมื่อนัง ่
รับนิมนต์ หรื อรับลาภพิเศษอย่างอื่นใด ๆ จะฉันเฉพาะอาหารที่ได้จาก                                           ลงหลังกลับจากบิณ ฯ แล้ว ก็หยุดรับภัต
การไปบิณฑบาตมาแล้ว เท่านั้น                                                               กลาง             ไปบิณ ฯ เหมือนข้างบนมาแล้ว นังลงก็    ่
      ที่เราเห็นพระภิกษุ สามเณร ท่าน ออกรับอาหารบิณฑบาตในตอนช่วง                                           ยังรับได้ แต่ไม่รับนิมนต์ในวันพรุ่ งนี้
เช้าๆ ทุกวัน นั้น ก็ เพราะว่า ท่านได้ถือ หรื อทาตามธุดงค์ขอนี้ นันเอง
                                                                    ้   ่                 ต่า              ไปบิณ ฯมานังลงแล้วยังรับได้ แต่จะรับ
                                                                                                                         ่
เมื่อรับอาหารจากที่อื่น ที่ไม่ใช่ได้จากออกรับบิณฑบาต ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด้                                    กิจนิมนต์ในวันพรุ่ งนี้ในวันต่อไปก็ได้
๔. สปทานจาริกังคะ ถือ จะออกรับ บิณฑบาตตามลาดับ เป็ นประจา                                 สู ง             ไม่ รับสลับลาดับหน้ามาหลัง หรื อไม่
เป็ นวัตร คือจะออกรับอาหารบิณฑบาต ตามลาดับของบ้าน เรี ยง                                                   สลับหลังไปหน้า เขาเอาบาตรไปตักภัต
ตามลาดับของคนที่จะถวายอาหาร รับเรี ยงไปตามลาดับที่โยมที่จะใส่                                              ใส่ ได้ แต่ไม่นงรออาหารที่มีคนมาส่ ง
                                                                                                                             ั่
บาตร เท่านั้น คือ จะรับอาหารไปตามลาดับที่ชาวบ้านที่กาลังรอใส่                             กลาง             รับสลับลาดับจากหน้ามาหลัง หรื อจาก
บาตรอยูขางหน้า่ ้                                                                                          หลังมาหน้าได้ หรื อโยมเอาบาตรไป
ถ้า ไปบิณฑบาตที่อื่นโดยละโมบ โดย เลือกรับเอาแต่ของที่ตนชอบ ธุ ดงค์                                         ตักอาหารได้ แต่ ไม่ นั่งคอยอาหารอีก
ข้อนี้จะขาด                                                                               ต่า              ไปรับบิณ ฯ เหมือนข้างบนมาแล้ว และ
               ถ้าถือในข้อที่ ๔ นี้ได้ ก็ได้ถือในข้อที่ ๓ ไปด้วยกัน                                        ยังนังคอยอาหาร ที่จะตามมาในวันนั้น
                                                                                                                 ่
๕. เอกาสนิกงคะ ถือ จะฉัน ณ ที่ อาสนะเดียว เป็ นประจา เป็ นวัตร เป็ น
                     ั                                                                    สู ง             ภัตจะน้อยหรื อมาก เมื่อหย่อนมือลงใน
ปกติ คือ จะ เพียงฉันมื้อเดียว คาบเดียว ครั้งเดียว เท่านั้น เมื่อได้ ลุก                                    บาตรแล้ว จะหยุดภัตที่มาเพิ่มจากเดิม
จากที่นงแล้ว จะไม่ฉน (จะไม่รับประทาน) อีก เลย
           ั่                   ั                                                         กลาง             ช่วงที่ภตในบาตรยังไม่หมดก็ยงรับภัต
                                                                                                                    ั                        ั
                              (ภัตตาหาร = ภัต )                                                            อื่นเติมได้อีก ถือเอาภัตเป็ นด่านสุ ดท้าย
                                                                                          ต่า              ตลอดเวลาที่ยงไม่ได้ลุกก็ยงรับอาหาร
                                                                                                                           ั            ั
 ถ้า ไปนังฉันที่อาสนะอื่น หรื อที่นงฉันที่อื่น อีกครั้ง ธุ ดงค์ขอนี้ ก็ขาด
         ่                            ั่                        ้                                          ที่มาเติมได้ หรื อยังไม่ได้รับน้ าล้าง
ถ้าถือข้อที่ ๕ นี้ได้ ก็จะเป็ นการถือข้อที่ ๖ และในข้อที่ ๗ ได้พร้อมๆ กัน                                  บาตร ถ้ามีคนมาส่ งอาหารให้ก็ยงรับได้ั

                                                                           ๑
๒


                                                       วิธีการ ถือธุดงค์                                                                             แบบ ได้ รายละเอียด ของแบบ สู ง กลาง ต่า
๖. ปัตตปิ ณฑิกงคะ ถือ จะฉันอาหารเฉพาะทีมอยู่ในบาตรเท่ านั้น เป็ นวัตร
               ั                            ่ ี                                                                                                      สู ง                         นาเข้าปากเลย ไม่ใช้มือบิด มิใช้ฟัน กัด
ถ้า ใช้ภาชนะอื่น เช่น ฝาบาตร แก้ว ห่ อ กล่อง ใบไม้ ฯลฯ ธุ ดงค์ขอนี้ก็
                                                                    ้                                                                                กลาง                          ใช้มือบิด บิแบ่งเป็ นชิ้นได้ มิใช้ฟัน
                 ่ ้
จะขาด เน้นอยูที่ตองไม่ใช้ภาชนะเพิ่มเติม นอกจากมือ ฟัน เพื่อจากัดอาหาร                                                                                ต่า                          ใช้มือบิ และฟันแทะ ภัตจากบาตรได้
๗. ขลุปัจฉาภัตติกงคะ ถือ จะไม่ รับอาหารทีมาตอนหลังบิณฑบาต
                     ั                            ่                                                                                                  สู ง                         ฉันภัตของรายแรกแล้ว ก็หยุดรับอีก
เป็ นประจา เป็ นวัตร คือ เมื่อลงมือฉันแล้ว จะไม่รับอาหารอื่นที่ตามมาส่ ง                                                                             กลาง                         ฉันแต่ภตในบาตร จะไม่รับภัตอีกเลย
                                                                                                                                                                                           ั
อีก ถ้าเลิกฉัน ลุกแล้ว ก็ยงทาอาหารให้ถูกวินย แล้วก็ฉน ธุดงค์ขอนี้กขาด
                          ั                     ั      ั         ้ ็                                                                                 ต่า                          ตราบที่ยงไม่ได้ลุก ก็ยงรับภัตได้อีก
                                                                                                                                                                                             ั             ั
๘. อารัญญิกงคะ ถือ อยู่ในป่ าเป็ นประจา เป็ นวัตร ( = โทษะจริ ต )
               ั                                                                                                                                     สู ง                            ่
                                                                                                                                                                                  อยูป่าตลอด ๓ ฤดู ตลอด ๑๒ เดือน
ถ้า เกิดสว่าง หรื อได้อรุ ณขึ้นในขณะที่พระกาลังอยูชายบ้าน หรื ออยู่
                                                  ่                                                                                                  กลาง                              ่
                                                                                                                                                                                  อยูป่าในฤดูร้อนกับหนาว รวม ๘ เดือน
                   ่                        ้ ็
ใกล้บาน หรื ออยูในบ้าน ที่ไม่ใช่ป่า ธุ ดงค์ขอนี้กจะขาด
       ้                                                                                                                                                                                                      ่ั
                                                                                                                                                                                     แต่ ๔ เดือนในฤดูฝน อยูวดชายบ้าน
                                    ่
พุทโธ และ อรหันต์ท้ งหลายชอบอยูวเิ วก เช่น ตามป่ า ตามที่สงบ
                       ั                                                                                                                             ต่า                                 ่
                                                                                                                                                                                  อยูป่า ๔ เดือนได้ในฤดูร้อน เท่านั้น
๙. รุ กขมูลกงคะ ถือ อยู่ตามโคนไม้ เป็ นประจา ( = โทษะจริ ต )
           ิั                                                                                                                                        สู ง                         มิมีใครช่วยจัดที่ให้ ใช้เท้ากวาดใบไม้เอง
(ในพรรษาของพระภิกษุ พระพุทธเจ้าอนุญาตให้พระ จะต้องมี กุฎีเพื่องป้ องกันหนาว ร้อน เหลือบ ยุง ลม แดด )
                                                                                                                                                     กลาง                         เผือมีคนมาก็วานเขาช่วยกวาด จัดที่ได้
                                                                                                                                                                                     ่
 ถ้า อยูที่มุง ที่บงฝนจากสิ่ งอื่น ที่นอกเหนือจากต้นไม้ ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด
        ่          ั                                            ้
                                                                                                                                                     ต่า                          ให้คนวัด สามเณรมาช่วยจัดสถานที่พก     ั
๑๐. อัพโพกาสิ กงคะ ถือ การอยู่ทแจ้ ง เป็ นประจา เป็ นวัตร
                    ั                   ี่                                                                                                           สู ง                              ่         ่
                                                                                                                                                                                  อยูกลด อยูกระโจมกลางแจ้งได้ แต่จะ
                  ่                ่ ั
 ถ้า ผูที่ถือ อยูในที่มุง หรื ออยูที่บงฝนจากสิ่ งอื่นในขณะกาลังจะสว่าง
       ้                                                                                                                                                                          อาศัยเงาจากต้นไม้ เงาภูเขา ไม่ได้
กาลังจะรุ่ งอรุ ณแล้ว           ธุ ดงค์ขอนี้ก็จะขาด
                                           ้                                                                                                         กลาง                         อาศัยเงาต้นไม้ เงาภูเขา เงากุฎีได้
ถ้า ถือข้อที่ ๑๐ นี้ได้ ก็จะได้ถือข้อที่ ๙ และข้อที่ ๑๑ ไปพร้อม ๆ กัน                                                                                                                                 ่
                                                                                                                                                                                       แต่ไม่เข้าไปอยูภายในกุฎี
เพราะว่าการปฏิบติในข้อนี้ จะมีความเข้มข้น ดีมาก
                      ั                                                                                                                              ต่า                                 ่
                                                                                                                                                                                  อยูกระท่อมใบไม้ - ผ้า เถียงเก่าๆได้
๑๑. โสสานิกงคะ ถือ อยู่ในป่ าช้ า เป็ นประจา เป็ นวัตร
                ั                                                                                                                                    สู ง                         มีเผา มีซากศพ มีการร้องให้ประจา
                                                                                                                                                     กลาง                         มีแค่อย่างใด อย่างหนึ่ง จากข้างบนนี้
           เมื่อไม่อยูในป่ าช้า หรื อไม่ไปป่ าช้า ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด
                      ่                                   ้                                                                                          ต่า                                   ่
                                                                                                                                                                                  สักแต่วาป่ า ที่มีลกษณะคล้าย ๆ ป่ าช้า
                                                                                                                                                                                                        ั
๑๒. ยถาสั นถติกงคะ ถือ การอยู่ในที่ ที่แล้วแต่ ท่าน เขา จะจัดที่
                 ั                                                                                                                                   สู ง                         ไม่ไปดูไม่ถามว่า ใกล้ ดี ร้อน ใดๆ เลย
อยู่ ทีพก ทีอาศัย ให้
       ่ ั ่                                                                                                                                         กลาง                                    ่
                                                                                                                                                                                  ถามได้วายังไง? แต่จะไปตรวจดูไม่ได้
                   ถ้าโลเล เลือกที่อยู่ ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด
                                                ้                                                                                                    ต่า                          ถามได้ ไปดูได้ ถ้าไม่ชอบ ก็เปลี่ยนได้
๑๓. เนสั ชชิกงคะ คือ พระภิกษุผ้ ูถือ การนั่งเป็ นวัตร เป็ นปกติ คือ ถือ
             ั                                                                                                                                       สู ง                         งดพนักพิง ผ้ารัดที่เข่า ผ้ารัดตัว รวม ๓
งดการการนอน แต่...ในวิธีการปฏิบติน้ น ก็ อาจจะนังตลอดจะดีที่สุด หรื อเดินจงกรม (
                               ั ั              ่                                                                                                    กลาง                         อย่างใดอย่างหนึ่งจาก ๓ อย่างข้างบนนี้
อาจจะจงกรม ประมาณ ๑ ยาม ( ๔ ช.ม.) จากใน ๓ ยาม (๑๒ ช.ม. ในตอนกลางคืน ) หรื อจงกรม
ตามถนัด) หรื อ ยืน เดิน นัง เคลื่อนที่ นิ่ ง ก้ม เงย จะภาวนา สวดมนต์ นังสมาธิ เรี ยนธรรม
                          ่                                            ่
                                                                                                                                                     ต่า                          ใช้ท้ ง ๓ อย่าง หรื อ ใช้เก้าอี้ที่มีที่พิง
                                                                                                                                                                                        ั
ฟังเทศน์ อ่านพระไตรปิ ฎก อ่านธรรมมะ หรื อตามที่ถนัด ฯ                                                                                                                             ด้านหลังด้านข้าง หรื อพิงฝา ผนัง ต้นไม้ หมอน
 ถ้า เมื่อนอนเอาหลังแตะพื้นราบ กับพื้น กับที่นอน ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด
                                                         ้
:: ย่อมาจาก พระไตรปิ ฎก อัง. ทสก ข้อ ๑๘๑ , ๑๑๙๒ , จากหนังสื อวิสุทธิมรรค ภาค ๑ ตอน ๑ , มิลินทปัญหา และ จากประสบการณ์โดยตรงของพระวัดป่ าดงใหญ่ ::
ที่ช่อง ได้ ถ้าทาได้ ๑๐๐ ให้เติม ก ถ้าถือได้ ๗๕ ให้เติม ข ถ้าถือได้ ๕๐ ให้เติม ค ถ้าถือได้ ๒๕ ให้เติม ง ถ้าไม่ได้ถือเลยให้เติม จ ตามความจริ ง
   ถ้ายังไม่เคยถือ ก็น่าจะลองถือดู เพื่อความก้าวหน้า ความเจริ ญ รุ่ งเรื อง เพื่อสร้างบารมีธรรมที่สูงๆ ช่วยให้บรรลุถึงธรรม นิพพาน ได้ง่าย ๆ ต่อไป
 ชื่อ....................................................ชื่ อเล่น.....................ฉายา/นามสกุล ............................................ วันเกิด ว/ด/ป....................................... กรอกเมื่อ ว/ด/ป.............................................
                                                                                                                                 ๒
๓


       น่าสังเกตมาก ในข้อที่ ๑ ๒ จะเป็ นหมวดที่เกี่ยวกับจีวร เครื่ องนุ่งห่ม ในข้อที่ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เป็ นหมวดที่เกี่ยวกับ
อาหาร ในข้อที่ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ เป็ นหมวดที่เกี่ยวกับที่อยู่ และในข้อที่ ๑๓ จะเกี่ยวกับความเพียรฆ่ากิเลสโดยเฉพาะ
                                                         ั                   ่
    ข้อที่ ๙ ๑๐ ภิกษุถือได้เฉพาะในพรรษา เพราะตามวินยพระจะต้องมีกุฎีอยูจาพรรษา นี่ตามตารา แต่ถาฝนไม่ตก ที่วด
                                                                                                       ้           ั
ป่ าดงใหญ่น้ น ก็อาจจะถือได้เป็ นบางครั้ง หรื อหลาย ๆ วัน ก็มี ต้องดูสุขภาพ แต่ไม่ข้ ีแย อ่อนแอ ใจไม่กล้า กล้าทดลอง
               ั


 สาหรับพระภิกษุจะถือได้ ท้ง ๑๓ ข้ อเต็ม ส่ วนภิกษุณี ถือได้ ๘ ข้อ คือข้อ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑๒ ๑๓ นี่วาตามตารา
                            ั                                                                                   ่
ส่ วนข้อที่เหลือทุกข้อนั้นในวัดป่ าดงใหญ่ ก็อาจจะถือได้เป็ นบางครั้ง บางเวลา ถ้ามีความปลอดภัย มีผอารักขา มีผชาย มีพระ
                                                                                                      ู้           ู้
ผูชายที่ร่วมฝึ กภาวนาในบริ เวณวัดป่ า ที่ในป่ าเดียวกัน แต่ไม่รบกวนกัน เหมือนที่พวกเข้าร่ วมงานปฏิบติธรรมตามวัดป่ าทัวไปทากัน
   ้                                                                                               ั                  ่
                                         ่
        สามเณรถือได้ ๑๒ ข้อ ยกเว้นข้อที่วา ด้วยการใช้ผาเพียงแค่สามผืน เพราะว่า สามเณร จะไม่มีผา
                                                      ้                                       ้
สังฆาฏิ สาหรับที่วดป่ าดงใหญ่น้ น อาจจะดัดแปลงให้สามเณรใช้ผาอย่างอื่นเป็ นผืนที่สาม แทนสังฆาฏิ ผ้ากัน
                  ั             ั                             ้
หมอก

           สิ กขมานาและสามเณรี ถือได้ ๗ ข้อ คือลดข้อที่ ๒ ออกจากภิกษุณีได้ ก็อาจจะดัดแปลงให้ใช้ผา
                                                                                                ้
                                                       ่
อย่างอื่น แทนเป็ นผืนที่สามได้ เหมือน กับ สามเณร ที่อยูตามวัดป่ า นิยมทากัน

         ส่ วน อุบาสก อุบาสิ กา ถือได้ ๒ ข้อ คือ ข้อที่ ๕ และ ข้อที่ ๖ นี่ตามตารา ที่น้ ี พวกเรา...ก็อาจจะ
ดัดแปลงถือเพิ่มในข้ออื่น ๆ ตามที่เคยพาโยมที่วดป่ าดงใหญ่ทา มาแล้ว ก็คือ การถือใช้ผาบังสุ กล ( ข้อ ๑ ) ก็
                                                 ั                                        ้         ุ
อาจจะใช้ผาที่ได้จากที่เขาไม่หวงแล้ว ผ้าเก่า ผ้าเหลือใช้ ผ้าที่เหลือในวัด ผ้าเก่าของคนตายที่ซกดีแล้ว ถ้า
               ้                                                                                ั
จะถือการใช้ผาเพียงแค่สามผืน ( ข้อ ๓ ) ก็ดดแปลงเป็ น สามตัว แต่ทาความสะอาดให้ดี ถ้าจะถือการไม่รับ
                 ้                         ั
อาหารทีหลัง ( ข้อ ๗ ) ก็เช่น เมื่อตักอาหารจนพอแล้ว จะไม่เอาเพิ่มอีกถ้วย อีกช้อน เป็ นต้น ถ้าจะถือการอยู่
                     ่                   ่                           ่
ป่ า ( ๘ ) ถือ การอยูโคนไม้ ( ๙ ) ถืออยูในที่แจ้ง ( ๑๐ ) ถือการอยูป่าช้า ( ๑๑) นี่ในวัดป่ าที่มีป่าพอที่จะทาได้
อย่างง่าย ๆ เลย เช่นที่วดป่ าดงใหญ่ ถ้าจะถือการยินดีในที่อยูตามที่ท่านจัดที่อยูให้ ( ๑๒ ) นี่กถือตามที่อยูที่
                         ั                                      ่                ่                ็         ่
ทางวัดจะจัดให้ ตามที่ทางเจ้าของสถานที่จะจัดที่อยูให้ได้ ถ้า จะถือการอยูเ่ นสัชชิก ( ๑๓ ) คือไม่นอน นี่
                                                       ่
ก็ถือได้ เพราะบางครั้ง การปฏิบติธรรม การจาศีลภาวนาในวัดป่ า หรื อบางวัด ก็นิยมไม่นอนในบางวันพระ
                                  ั
หรื อทุก ๆ วันพระ หรื อตามที่จะสมาทานตั้งใจทา ทั้งที่บางคนอาจจะทาเป็ นส่ วนรวม และทาส่ วนตัว ก็มี
วิธีการ ใน ๑ คืน ( ๑๒ ชัวโมง ) ก็อาจจะมีการเดินจงกรม ใน หนึ่งยาม ( สี่ ชวโมง) อีก ๒ ยาม (๘ ชัวโมง)
                           ่                                                  ั่                         ่
ก็อาจจะนัง ก็ได้ หรื ออาจจะนังยาวรวดเดียว หรื อ จะนัง ยืน เดิน ตามที่ถนัด
             ่                 ่                         ่

                    การถือธุดงค์น้ ี เป็ นข้อปฏิบติเพิมเติม ให้บรรลุธรรม มรรค ผล นิพพาน สาเร็จอริ ยะทั้ง ๘
                                                  ั ่
ได้เร็วๆ ง่ายขึ้น เพื่อเพิมเวลา เพิมโอกาส เพิมข้อวัตรให้มีความเข้มข้นในการภาวนาฆ่ากิเลส เพื่อความพ้น
                          ่         ่           ่
ทุกข์ พบความสุ ข อย่าง เร็ว ๆ ไว ไว มาก ๆ ขึ้น              เป็ นการสมัครใจที่จะทา จะถือ จะไม่ถือก็ได้ ไม่ผด
                                                                                                           ิ
                                                             ๓
๔
                                                            ่
วินย เหมือนการไม่รักษาศีล ของพระที่มีศีลที่จะต้องรักษาศีลอยูประจาประมาณ ๒๒๗ ข้อ นอกจากนี้กยงมี
      ั                                                                                             ็ั
ศีลอีกมากที่นอกเหนือจากศีลในปาฏิโมกข์ ๒๒๗ ข้อนี้ และการรักษาศีลของสามเณรมี ๑๐ ข้อ การรักษาศีล
ของผูที่ถือศีลอุโบสถ ก็มี ๘ ข้อ การรักษาศีลของชาวบ้านทัวไป ก็มีอยู่ ๕ ข้อ ซึ่งศีลนี้ ก็อาจจะถือเกินศีล
          ้                                            ่
    ่
ที่วามานี้ ก็ได้ และศีลนีจะต้ องถือตลอดเวลา ถ้าถือธุดงค์แล้ว การภาวนาดี กุศลธรรมเจริ ญคือศีล สมาธิ
                          ้
ปัญญา พละ ๕ อินทรี ย ์ ๕ มรรค ๘ เจริ ญงอกงามยิง ๆ ขึ้น และถ้าถือธุดงค์แล้วทาให้อกุศลธรรมเสื่ อม ๆ
                                                 ่
ลด ลง ขาด เบาบาง หาย ๆ ลืม ๆ ไป เช่น ความอ่อนแอ ความฟุ่ มเฟื อย ไม่ประหยัด ความกลัว ความขาด
สติ ขาดสมาธิ ขาดปัญญา โง่ ง่วง ท้อแท้ ฟุ้ งซ่าน สงสัย ลังเล ขี้เกียจ ฯลฯ และอกุศลอื่น ๆ เสื่ อม ดับ
                    ็
หายไปแล้ว อย่างนี้กควรจะถือธุดงค์ ถ้าถือธุดงค์แล้ว กุศลธรรมเสื่ อม และทาให้อกุศลธรรม เจริ ญ อย่าง
        ็
นี้กไม่ควรควรจะถือธุดงค์

                         ็
           ถ้าถือธุดงค์กตาม หรื อไม่ถือก็ตามแล้ว ก็ไม่ทาให้กรรมฐานเจริ ญเพิ่มขึ้น หรื อไม่เสื่ อมแล้ว เช่น
พระอรหันต์ และ คนทัว ๆ ไป ปุถุชน หรื อผูที่ภาวนาที่ยงไม่ได้ถึงขั้น โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อย่างนี้ก็
                           ่                    ้        ั
ควรถือธุดงค์เพื่อสร้างบารมี ให้สูง ๆ ขึ้นไปอีกสาหรับคนทัวไป่      ส่ วนพระอรหันต์ นี่ ท่านถือธุดงค์น้ นก็  ั
เพื่อเป็ นตัวอย่างแก่รุ่นหลัง ๆ แก่พระภิกษุ แก่สามเณร แก่ชาวบ้าน แก่นกภาวนา แก่วด บ้าน ชุมชน แก่
                                                                      ั               ั
ประเทศ แก่ลูก หลาน เหลน ให้รู้จกประหยัด อด ออม อดทน ขยัน ไม่อยูเ่ ฉย ๆ ต่อไป
                                     ั

             เรา จะถือธุดงค์ ข้ อไหนบ้ าง เป็ นบางข้ อ หรือ ถือ ๑๐ ข้ อ หรือ ทั้งหมด ก็เอาเถิด จะถือเป็ นเวลา
เป็ นช่ วง ตามเหตุการณ์ กีชั่วโมง กีวน คืน สัปดาห์ กีเ่ ดือน ๕ เดือน กีปี่ ก็เอาเถิด ดี หรือจะถือตลอดชีวต
                             ่       ่ั                                     ่                               ิ
หรือ เฉพาะตอนเด็ก ๆ ช่ วงกลางคน เมือคราวแก่ หรือตามถนัด ก็เลือกเอาเถิด เพราะ เป็ นสิ่งทีดเี ลิศจาก
                                            ่                                                       ่
พระไตรปิ ฎก สาหรับพวกเราทุก ๆ สมัย

                                     [ ธุตังคเสวนา ธุดงค์ น้ัน จะ เหมาะกับจริตใด? ]
                                                       ่
      ข้อว่า การเสพธุดงค์เป็ นสัปปายะสาหรับใคนั้น แก้วา การเสพธุดงค์เป็ นสัปปายะสาหรับคนราคจริต
และคนโมหจริต เพราะเหตุไร? เพราะการเสพธุดงค์เป็ นทุกขาปฏิปทา (ปฏิบติลาบาก) และเป็ นสัลเลขวิหาร
                                                                            ั
    ่
(อยูอย่างเคร่ ง) อันราคะย่อมสงบเพราะอาศัยทุกขาปฏิปทา โมหะ ผูที่ไม่ประมาทย่อมละได้เพราะ
                                                                        ้
                                                              ั                  ั
อาศัยสัลเลขปฏิบติ อนึ่ง ในธุดงค์เหล่านี้ การเสพอารัญญิกงคะ และ รุ กขมูลิกงคะเป็ นสัปปายะ แม้
                  ั
                                                                    ่ ่
แห่งคนโทสจริ ต ด้วยเมื่อคนโทสจริ ตนั้นแม้นไม่มีใครกระทบกระทังอยูในป่ าและโคนไม้น้ น แม้โทสะก็
                                                                                    ั
ย่อมสงบแล นี้เป็ นคาพรรณนาโดยจาแนกศัพท์ มี ธุตศัพท์ เป็ นต้น.

                            วิธีขดเกลากิเลส ( สัลเลขปฏิบัต)
                                 ั                        ิ             เพือความสุ ข
                                                                           ่
[๑๐๔] ดูกรจุนทะ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลากิเลสในข้อเหล่านี้แล คือ เธอทั้งหลาย พึงทาความขัดเกลา (ขูด ขัด ละ ) ว่า
ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูเ้ บียดเบียนกัน ในข้อนี้เราทั้งหลายจักเป็ นผูไม่เบียดเบียนกัน.
                                                                  ้
                                                         ๔
๕
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูฆ่าสัตว์ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการฆ่าสัตว์.
                                                                   ้
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูลกทรัพย์ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการลักทรัพย์.
                                                                     ้ั
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเสพเมถุนธรรม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักประพฤติพรหมจรรย์.
      เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวเท็จ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวเท็จ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวส่ อเสี ยด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวส่ อเสี ยด.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวคาหยาบ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวคาหยาบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวคาเพ้อเจ้อ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวเพ้อเจ้อ.
เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมักเพ่งเล็งภัณฑะของผูอื่น ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่เพ่งเล็งภัณฑะของผูอื่น.
                                                                              ้                                        ้
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีจิตพยาบาท ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีจิตพยาบาท.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความเห็นผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความเห็นชอบ.
   เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความดาริ ผด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความดาริ ชอบ.
                                                                        ิ
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวาจาผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีวาจาชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีการงานผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีการงานชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีอาชีพผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีอาชีพชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความเพียรผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความเพียรชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีสติผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีสติชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีสมาธิ ผด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีสมาธิ ชอบ.
                                                                            ิ
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีญาณผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีญาณชอบ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวมุติผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีวมุติชอบ.
                                                               ิ                             ิ
เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักถูกถิ่นมิทธะกลุมรุ ม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักปราศจากถิ่นมิทธะ.
                                                                      ้
     เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูฟุ้งซ่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูไม่ฟุ้งซ่าน.
                                                          ้                                       ้
    เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวิจิกิจฉา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักห้ามพ้นจากวิจิกิจฉา.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความโกรธ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความโกรธ.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักผูกโกรธไว้ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ผกโกรธไว้.
                                                                                                    ู
    เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักลบหลู่คุณท่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ลบหลู่คุณท่าน.
     เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักยกตนเทียมท่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ยกตนเทียมท่าน.
       เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความริ ษยา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความริ ษยา.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความตระหนี่ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความตระหนี่.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักโอ้อวด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่โอ้อวด.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีมารยา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีมารยา.
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักดื้อด้าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ด้ือด้าน.
     เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักดูหมิ่นท่าน ในข้อนี้เราทั้งหลายจักไม่ดูหมิ่นท่าน.
                                                            ้่                                   ้่
     เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูวายาก ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูวาง่าย.
                                                                                               ั
          เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีมิตรชัว ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีกลยาณมิตร.
                                                                          ่
     เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนประมาท ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนไม่ประมาท.
เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนไม่มีศรัทธา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนมีศรัทธา.
                                                           ๕
๖
         เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักไม่มีหิริ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีหิริในใจ.
                                                                                                 ้
    เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักไม่มีโอตตัปปะ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีโอตตัปปะ.
                                                                                                   ้
 เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูมี สุ ตะน้อย ในข้อนี้ เรทั้งหลายจักเป็ นผูมีสุตะมาก.
                                                     ้                                         ้
    เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนเกียจคร้าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูปรารภความเพียร.
                                                                                                       ้
         เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูมีสติหลงลืม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีสติดารงมัน.
                                                                ้                                        ้        ่
เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนมีปัญญาทราม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนถึงพร้อมด้วยปั ญญา.
         เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนลูบคลาทิฏฐิของตน ยึดถืออย่างมันคง และสละคืนได้โดย
                                                                                                     ่
ยาก ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่เป็ นผูลูบคลาทิฏฐิของตน ไม่ยดถืออย่างมันคง และสละคืนได้โดยง่าย.
                                     ้                      ึ         ่
                         ่
      เมื่อเรา ทาดัง ที่วา มานี้ ไว้ในใจแล้ว ก็สามารถหลบหลีก เอาตัวรอด ชนะผูอื่นได้ หลบภัย หลบคนชัว ป้ องกันคนชัว เราสามารถที่
                                                                              ้                      ่           ่
จะเป็ นผู ้ นาของคนอื่นได้ สอนคนอื่นได้ สามารถที่จะยกตนเองให้สูงขึ้น สูงขึ้น เหนือคนอื่นได้ สามารถก้าวหน้าในการภาวนา การปฏิบติ
                                                                                                                            ั
เพื่อฆ่ากิเลสได้โดยเร็ วพลันบรรลุธรรมทันที พุทโธ สอนว่า “ .. นันโคนไม้ นันเรื อนว่าง เธอทั้งหลายจงเพ่งพินิจเถิด อย่าประมาท
                                                                   ่            ่
อย่าได้เป็ นผูมีความเดือดร้อนในภายหลังเลย นี้เป็ นคาสอนของเราสาหรับเธอทั้งหลาย แล.. ”
              ้
     พระสู ตรนี้ ชื่อสัลเลขสู ตร ลุ่มลึก เปรี ยบด้วยสาคร ฉะนี้ จบ. จากเล่มที่ ๑๗ ข้อ ๑๐๑ หน้า ๔๖๙ จากชุด ๙๑ เล่ม

                วันอาทิตย์ที่ วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เวลา ๑๘:๔๖:๕๒ น. พระประสิ ทธิ์ ฐานะธัมโม ( แววศรี ) รวบรวม

จงมีสุข พ้นทุกข์ บรรลุนิพพานบรมสุ ขเร็ วๆ ไวๆ จากวัดป่ าดงใหญ่ ๑๓๕ ม. ๒ บ./ต.แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบล ๓๔๑๕๐




                                                                ๖
๗


รวม ๆ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์                         จาก หนังสื อวิสุทธิ มรรค และหนังสื อ มิลินทปั ญหา

                อานิสงส์แบบแยกเป็ นข้อ ๆ จากหนังสื อวิสุทธิมรรค ภาค ๑ ตอน ๑
 ข้ อที่ ๑ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ที่ว่าด้วยการใช้ ผ้าบังสุ กล เป็ นวัตร เป็ นประจา เสมอ เท่ านั้น
                                                               ุ

1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ว่า การบรรพชาที่อาศัยผ้าปังสุ กล
                    ้        ั                                                                            ุ
         ั ่
2. ได้ต้ งอยูในอริ ยะวงศ์ขอที่ ๑ คือการสันโดษในจีวร
                                      ้
3. ไม่ตองลาบากในการรักษาผ้า เพราะมีไม่มาก น้อยผืน
          ้
4. ไม่ตองไปเกี่ยวข้องกับผูอ่ืน ในเรื่ องผ้า การซัก การรักษา การยืม การหาผ้า
            ้                            ้
5. ไม่ตองกลัวโจร ขโมยลักเครื่ องนุ่งห่ม จีวรไป เพราะว่าไม่มีใครที่ตองการเลย นอกจารกพระ
              ้                                                               ้
6. ไม่มีตณหาในการบริ โภค จีวร เครื่ องนุ่งห่ม ลดเรื่ องความอยากในการแต่งตัว ได้เยอะ
                ั
7. มีบริ ขารได้ตามสมณรู ป คือ เหมาะสมที่จะเป็ นพระภิกษุ
8. มีปัจจัยตามที่พทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้
                               ุ
9. เป็ นผูท่ีน่าเลื่อมใส
                  ้
10.                   ได้มีความมักน้อย อดทน เลี้ยงง่าย เป็ นต้น เป็ นผล
11.                   มีสัมมาปฏิบติเพิ่มขึ้น จะเพิ่มความแม่นยา ตรงตามทางสู่ พระนิพพาน เพื่อพ้นจากทุกข์ได้
                                   ั
12.                   คนรุ่ นหลังถือเป็ นแบบอย่างได้

             ข้ อที่ ๒ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ในข้ อ การใช้ ผ้าแค่เพียงสามผืน เท่ านั้น

1.   สันโดษในจีวรน้อย มีเพียงแครักษาร่ างกาย ไปไหนเบา ดุจนกบิน
2.   มีงานที่จะต้องทาเกี่ยวกับผ้าน้อย มีเวลาที่จะภาวนา ฆ่ากิเลส เพื่อจะได้พนจากทุกข์ เร็ว ๆ
                                                                               ้
3.   เลิกสะสมผ้า ไม่ตองเป็ นภาระในการเก็บ รักษา การซัก ขน ย้าย
                        ้
4.   มีความประพฤติเป็ นคนเบาดี            เพระว่า ไม่ตองแบก ไม่ตองยก หอบผ้ามาก ๆหลาย ๆ ผืน
                                                      ้           ้
5.   ละความละโมบในอดิเรกจีวร ที่เกินจากผ้าสามผืนได้
6.   ทาความพอใจในผ้าที่เป็ นกัปปิ ยะ ( ผ้าที่ไม่ผดธรรมวินย ไม่ได้ขอ เรี่ ยไร มา) คือ ผ้าสามผืน นี้เท่านั้น
                                                 ิ       ั
7.   มีความประพฤติขดเกลากิเลส ที่จะพาให้หลงในรู ปร่ าง ในเครื่ องนุ่งห่ม ในตัณหาที่จะเกิดมาจาก จีวร
                      ู
8.   ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ( หมวดนี้ ขาด การทาเป็ นตัวอย่างแก่รุ่นหลัง )



                                                   ๗
๘




            ข้ อที่ ๓ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะ เที่ยวบิณฑบาต เป็ นประจา เป็ นวัตร

1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย เมื่อตอนขอบวชใหม่ ๆ ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ที่วา
             ้       ั                                                                          ่
   บรรพชาที่อาศัยลาแข้งบิณฑบาตเลี้ยงชีพ
2. ได้ต้ งอยูในอริ ยวงศ์ ข้อที่ ๒ คือการสันโดษในอาหาร (ในกลุ่ม ในคณะ ในวงศ์ ของพระอริ ยเจ้า ทั้ง ๘
            ั ่
                                                                                   ่
   จาพวก นั้น อริ ยะวงศ์จะมีความสันโดษในของ ๔ อย่าง คือ จีวร อาหาร ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค )
3. ไม่ตองไปเกี่ยวข้องกับผูอ่ืน ในเรื่ องอาหาร เพราะว่ามีแล้ว ได้แล้ว ไม่ตองไป หาซื้อ หายืมที่ไหนอีก
        ้                     ้                                           ้
4. มีปัจจัยตามที่พทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้ เพราะหาง่ายดี
                         ุ
5. ยายีความเกียจคร้านได้ เพราะว่า ต้องตื่นแต่เช้า ต้องเดินไปทุก ๆ วัน ตั้งแต่เช้า ต้องไปตามเวลาด้วย
    ่
6. มีอาชีวะ คือการเลี้ยงชีพที่บริ สุทธิ์ เพราะรับแบบแมลงภู่ที่ดูดน้ าหวานจากดอกไม้เบา ๆ โดยไม่ชอกช้ า
7. ได้บาเพ็ญตามเสขิยวัตร ทั้งการเข้าบ้าน ๒๖ ข้อ การรับอาหาร การฉัน ๓๐ ข้อ การแสดงธรรม เป็ นต้น
                       ้            ั                                   ็
8. ไม่ตองเลี้ยงผูอื่น เพราะว่า รู ้จกประมาณว่า จะรับมากน้อยเท่าไหร่ กรู้ ฉันคนเดียว ไม่ตองเลี้ยงใครอีก
          ้                                                                              ้
9. ได้อนุเคราะห์ผอื่น คือไปให้โยมได้ทาบุญ ทาทาน ได้กราบ ไหว้ ได้เห็นพระ ได้รับอาหารจากหลายๆ บ้าน
                           ู้
10.            ละมานะได้ เพราะเป็ นวิธีการที่ต่าสุ ดในการหาเลี้ยงชีพ ไม่หลงลืมตัว
11.            ป้ องกันตัณหาในรสอาหารได้ เพราะว่า ฉันรวมกันในบาตร ได้มายังไง ก็ฉนตามที่ไม่ผดวินย
                                                                                     ั         ิ ั

                                                ๘
๙
 12.     ไม่ตองอาบัติ เพราะคณโภชนฯ ที่วาด้วยการฉันเป็ น หมู่เป็ นคณะฯ เพราะปรัมประฯ ที่วาด้วย
               ้                           ่                                                 ่
                                      ่
   การฉันทีหลังฯ เพราะจาริ ตตฯ ที่วาด้วยการไปบิณฑบาต แล้วไล่พระกลับ ฯ ซึ่งเป็ นปาจิตตียท้ ง ๓ ข้อ
                                                                                        ์ ั
 13.     ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์
 14.     มีสัมมาปฏิบติเพิ่มขึ้น จะเพิ่มความแม่นยา ตรงตามทางสู่ พระนิพพาน เพื่อพ้นจากทุกข์ได้
                      ั
 15.     คนรุ่ นหลัง ๆ ทั้งพระภิกษุ และสามเณร ชาวบ้าน จะถือเอาเป็ นแบบอย่างได้

ข้ อที่ ๔ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะออกรับบิณฑบาตตามลาดับบ้ านของคนที่ใส่ บาตร เท่ านั้น

 1.  เป็ นผูใหม่ต่อโยมอยูเ่ สมอ จะทาให้เกรงใจโยม ต้องภาวนาดี ๆ
              ้
 2.  มีใจไม่ติดข้องในโยมดังดวงจันทร์ เพระไม่ได้เข้าไปคุยกันในบ้าน หรื อพระจะมองในบาตรเสมอ ๆ
                             ่
 3.  ละความตระหนี่ในตระกูลได้ แก้การหวงโยม เช่น หวงไม่ให้โยมไปทาบุญที่อื่น ได้
 4.  ได้อนุเคราะห์ชาวบ้านเสมอ ๆ กัน เพราะว่า ไปแทบทุก บ้าน อย่างทัวถึง ทุก ๆ คน
                                                                     ่
 5.  ไม่มีโทษอันที่จะพึงมีแก่ปุลุปกภิกษุ คือพระประจา ที่ปรึ กษาของตระกูล ที่ชอบต้องอาบัติ เช่น การอยู่
    ในที่ ลับหู ลับตา กับมาตุคามหรื อหญิง การที่ตองพูดกับหญิงเกิน ๖ คา การที่จะต้อง อดกลั้นการปวด
                                                 ้
    หนัก เบา การต้องคุนเคยกับโยมบ่อย ๆ เพราะว่า พระไม่ตองเข้าไปในเรื อน อยูแค่ตามถนน
                         ้                                       ้                  ่
 6. ไม่ตองรอการขานชื่อ ในการรับกิจนิมนต์ เดินไปตามหมู่บาน ก่อนเลย
          ้                                                    ้
 7. ไม่ตองการที่จะโยมนาอาหารมาให้เฉพาะตัวเอง เลี้ยงง่าย พระไม่ตองนังรอ โดยมไม่ตองลาบากมาก
            ้                                                       ้ ่               ้
 8. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์

      ข้ อที่ ๕ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะฉันมื้อเดียว คาบเดียว ครั้งเดียว เท่ านั้น

 1. มีอาพาธน้ อย
 2. มีโรคน้ อย
 3. ร่ างกายคล่องแคล่ว             เบาตัว ไม่ หนัก
 4. แข็งแรง มีกาลังมาก
 5. อยู่อย่ างสาราญ          มีความสุ ข
 6. ไม่ตองอาบัติเพราะว่า ถูกคนอื่นชักชวนพระอื่นให้ฉนอาหารอีกครั้งครั้ง และไม่ได้ชกชวนใครฉันอีก
         ้                                         ั                             ั
    ให้เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์
 7. บรรเทาตัณหาในรสของอาหารได้ ถ้าอยาก มากก็มีกิเลสมาก ก็จะทาให้ทุกข์มากตามไปด้วย
 8. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์

      ข้ อที่ ๖ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะ ฉันเฉพาะอาหารที่มีอยู่ในบาตร เท่ านั้น
                                                 ๙
๑๐

1. บรรเทาตัณหาในรสของอาหารได้
2. ละความตะกละในอาหารได้
3. เป็ นผูท่ีมุ่งแต่ประโยชน์ในอาหาร คือเห็นคุณค่าของอาหาร ฉันเพื่อบาเพ็ญเพียรภาวนา จะฆ่ากิเลส ไม่
          ้
   ฉันเล่น
4. มีภาชนะน้อย ไม่ตองลาบากในการรักษา ล้าง เก็บ ถือ วาง ยก ภาชนะหลาย ๆ ชิ้น อัน ใบ
                        ้
                                 ่
5. ไม่สอดส่ ายหาอาหาร ตามที่อยูในถ้วย ชาม ภาชนะที่ใส่ อาหารที่หลาย ๆ อัน ที่วางรอบ ๆ ตัว นั้น
6. ย่อมได้รับความมักน้อย ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ย่อมได้รับความมักน้อย เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์

      ข้ อที่ ๗ อานิสงส์ การถือธุดงค์ ว่ า เมือลงมือฉันแล้ ว จะไม่ ยอมรับอาหารอื่นเพิมเติมอีก
                                              ่                                      ่

1.         ้                           ่
     ไม่ตองห่วงว่าจะต้องอาบัติในข้อที่วา ฉันอาหารที่หลัง อีกครั้ง เมื่อพอ เมื่อลุกแล้ว ( เป็ นปาจิตตีย ์ )
2.   ไม่ตองแน่นท้อง อึดอัด จุก เรอ ก้มไม่ลง
             ้
3.   ไม่มีการสั่งสมอาหาร ไม่ตองหาที่เก็บ ไม่ตองห่วงว่าง มดจะมากิน
                               ้               ้
4.   เมื่อลงมือฉันแล้ว ไม่ตองแสวงหาอาหาร อีก ง่ายดี เลี้ยงง่ายที่สุด
                           ้
5.   ย่อมได้รับความมักน้อย ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์

       ข้ อที่ ๘ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะอยู่ในป่ าเป็ นประจา เป็ นวัตร เสมอ ๆ

1. ถ้านึกถึงป่ า อยู่ เสมอ ๆ ถ้ายังไม่ได้สมาธิ ก็จะได้สมาธิ เมื่อมีสมาธิแล้ว ก็จะรักษาสมาธิไว้ได้ดี
2. พุทโธท่านนั้นสรรเสริ ญมาก เมือ อยู่ในป่ าเป็ นประจา เหมือนกับพระวัดป่ าที่ท่านนิยมถือธุดงค์
                                    ่
   แล้วปฏิบติตามกรรมฐาน ทั้งประมาณ ๔๐ อย่าง ทั้งหลาย ( วัดป่ าที่มีการถือตามธุงดงค์ท้ง ๑๓ ข้อ มีศีลครบ
            ั                                                                         ั
     บริ บูรณ์ (ไม่ผดศีลเลย) มีกรรมฐานทั้ง ๔๐ มีขอวัตรทั้ง ๑๔ มีสมาธิ (ที่ดี) มีปัญญา มีนิพพาน มีความรู้เรื่ อง
                    ิ                             ้
     นิพพาน จริ ง ๆ มีพระอริ ย อย่างใดอย่างหนึ่ง ใน ๘ อย่าง ในเพศพระภิกษุ สามเณร ชี และในเพศโยม ในชาติน้ ี )
3. ถ้าอยูในป่ าที่สงัดแล้ว ก็จะปลอดภัยจากสิ่ งที่ไม่สัปปายะ คือปลอดภัยจากสิ่ งที่ไม่ช่วยข่ม ไม่ช่วยฆ่า
         ่
   กิเลส เช่น รู ปงาม เสี ยงเพราะๆ กลิ่นที่หอม รสที่ดี สัมผัสที่นุ่มนิ่ม ปลอดจากสิ่ งที่ไม่สัปปายะ
   คือใจที่คิดว่าทุก ๆ อย่างนั้น เที่ยง สุ ข เป็ นของเรา ร่ างกายสะอาดสวยงามไม่สกปรก
   ส่ วนที่เป็ นสับปายะ คือ ช่วยข่มกิเลส ช่วย ฆ่า บรรเทา ละ เว้น ห่าง หลีก จากกิเลส เช่น การคิดอย่าง
   ยอมรับจริ งๆ ไม่เบี้ยว ไม่โกหก แล้วก็ยอมรับในตัวเอง ว่า ร่ างกายของเรานี้ ถ้าจะว่า จริ งๆ แล้ว จะ
   สกปรก เหม็น อับ ฉุน ทรมาน ทนได้ยาก ป่ วย เจ็บ ตาย จะทุกข์ จะไม่เที่ยง จะไม่ใช่ของเราจริ ง ๆ
4. หายจากความกลัว สะดุง       ้          คนขี้กลัว ต้องฝึ กแบบนี้
5. ไม่ห่วงชีวต ไม่กลัวตายมาก ละความเยือใยในชีวตได้
                ิ                            ่         ิ
                                                    ๑๐
๑๑
6. ย่อมได้สัมผัส ความสุ ขที่เกิดจากความสงัด ความวิเวก ทางร่ างกาย ทางกิเลส และทางใจ
7. เหมาะกับผูที่ถือผ้าปังสุ กุลหรื อถือธุดงค์ขออื่นๆอีกมาก ย่อมเหมาะกับเธอด้วย
             ้                                ้

        ข้ อที่ ๙ อานิสงของการถือธุดงค์ ว่ า จะ อยู่ตามโคนไม้ เป็ นประจา

1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ว่า การบรรพชาที่อาศัยผ้าปังสุ กล
             ้   ั                                                                               ุ
2. มีปัจจัยตามที่พุทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้ เพราะหาง่ายดี
3. สร้างสัญญา ความจาในความไม่เที่ยง คืออนิจจังจากใบไม้ท่ีเปลี่ยนสี หล่น ไหว ผลิใบใหม่อีกอยูเ่ นือง ๆ
4. เลิกความขี้เหนียวในเสนาสนะกุฎีวหารและเลิกความเพลิดเพลินในการก่อสร้าง ที่อยูเ่ พิมเติม สร้างอื่น ๆ
                                     ิ                                             ่
         ่ ั             ่ ั
5. ได้อยูกบเทวดา หรื ออยูกบรุ กขเทวดา ทั้งหลาย
6. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ( หมวดนี้ ขาด การทาเป็ นตัวอย่างแก่รุ่ นหลัง )

     ข้ อที่ ๑๐ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะ อยู่ในที่แจ้ ง กลางแปลง เป็ นประจา เป็ นวัตร

                                       ่
1. ตัดความกังวล ห่วง อาลัยในที่อยูอาศัย เสนาสนะ วัดได้
2. แก้ความง่วง ท้อแท้ อ่อนแอได้ แก้เซื่องซึม เซ่อ ไม่ตื่นตัว ไม่กระตือลือล้นได้
3. ไม่ยดติดกับที่อยูใด ๆ เหมือนมฤคที่เที่ยวไปโดยไม่ติดที่นง ที่อยู่ ไม่ขด ไม่ติดข้อง สบาย
        ึ           ่                                     ั่            ั
4. เป็ นพระ ๔ ทิศ คือรู ้ เห็น ได้ท้ ง ๔ ทิศ
                                     ั         อนุเคราะห์ได้ท้ ง ๔ ทิศ
                                                                ั
5. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์


          ข้ อที่ ๑๑ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะ อยู่ในป่ าช้ า เป็ นประจา เป็ นวัตร

1. ได้มรณสติ คือระลึกถึงความตายอยูเ่ สมอ ๆ ( แต่ ไม่ ใช่ ต้องการให้ ตัวเอง และคนอื่นตายเร็ ว มีแต่ ให้ อายุยืนๆ )
2.      ่ ้
   อยูดวยความไม่ประมาทเป็ นปกติ
3. บรรลุ อสุ ภนิมิต คือ จา มี ระลึก สิ่ งที่ไม่สวยไม่งาม ที่ติดตา ติดใจ ได้ตลอดเวลา
4. บรรเทากามราคะ เรื่ องเพศตรงกันข้ามได้ แก้กระสัน แก้เงี่ยน กาหนัดได้ดีนกแล     ั
5. เห็นสภาพของร่ างกายอยูเ่ นือง ๆ                ว่า เรา และเขา จะต้องเป็ นเหมือนกับศพในป่ าช้า
6. มีความสังเวช หนัก คือได้ความตื่นตัว ไม่หลงใหล ได้สติ
7. ละ แก้ความมัว เมา ในการศึกษา ความที่ยงหนุ่ม ไม่มีโรค ยังไม่ป่วย เมาในยศ ชื่อเสี ยง เงิน ทอง ที่
                                                ั
      ่
   อยูอาศัย หลงตาแหน่ง หน้าที่การงาน หลงเพื่อน หลงสนุก หลงกิเลส หลง อร่ อย งาม ๆ ง่าย ๆ ได้
8. ข่มความวาดกลัวได้                คนขี้กลัว ต้องฝึ กแบบนี้

                                                     ๑๑
๑๒
   9. เป็ นที่เคารพ สรรเสริ ญของอมนุษย์ คือสัตว์ท้ งหลายที่ไม่ใช้คน เช่น ช้าง ม้า เสื อ ยุง ลิง นก หนู
                                                     ั
      กวาง เก้ง ผี ยักษ์ มาร พรหม เทวดา เปรต นาค ครุ ฑ ฯลฯ
   10.         ย่อมได้รับความมักน้อย เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์

   ข้ อที่ ๑๒ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่า จะยินดีในเสนาสนะ ตามทีท่านจัดหาให้ ได้ เป็ นวัตร
                                                                 ่

                                         ่
         1. ได้กระทาตามโอวาท ที่ดี ที่วา “ ได้สิ่งใด ก็พึงยินดีในสิ่ งนั้น ” ( ในสิ่ งที่ดี ๆ ไม่ ผิดศีลธรรม ไม่ ชั่ว )
         2. ใฝ่ ประโยชน์เกื้อกูลแก่เพื่อนสพรหมจารี ( มี พระภิกษุสามเณร ) คือไม่ตองรบกวนให้ท่านลาบาก
                                                                                       ้
            ในการจัดหาที่พกให้ การเตรี ยม การย้ายที่พก
                             ั                           ั
         3. เลิก ตัดความตั้งใจ กาหนดว่า จะได้ ดี เลว ประณี ต ในเสนาสะที่อยูอาศัย ่
         4. ละ เลิก ความยินดี ยินร้าย ได้
         5. ปิ ดประตูความตระกราม
         6. มีความประพฤติที่สมควรแก่ธุตธรรม มีความมักน้อย เป็ นอาทิ

ข้ อที่ ๑๓ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ว่าจะนั่งเป็ นวัตร คือ ถือว่ าจะนั่ง หรืออาจจะยืน เดิน เท่ านั้น ไม่
นอน ไม่ เอาหลังแตะพืนกับราบ เป็ นวัตร
                      ้

   1. ตัดความผูกพันในเรื่ องที่ เกี่ยวกับ การแสวงหาความสุ ขจากการหลับ การเอน การนอน ได้
   2. สะดวกในการประกอบกรรมฐานทั้ง ๔๐ ทั้งการภาวนา การรักษาศีล การศึกษา การทากิจของสงฆ์ ได้
      เป็ นอย่างดี
   3. มีอิริยาบถ ท่าทาง ที่น่าเลื่อมใสมาก ๆ            เพราะไม่นอนให้ใครเห็น
   4. เป็ นผูท่ีมีสภาวะ ที่เหมาะที่จะทาความเพียรได้อย่างง่าย ๆ เพราะว่าไม่นอนให้เสี ยเวลาที่จะไปทาสิ่ งที่ดี ๆ
             ้
      อย่างอื่น เป็ นการเพิ่ม สัมมาปฏิบติ คือการปฏิบติที่ถูกต้องได้เป็ นอย่างดี มุ่งสู่ นิพพานได้อย่างรวดเร็ว
                                         ั          ั


          ส่ วนในข้อท้าย ๆ ในอานิสงส์ของธุดงค์ในบางข้อที่กล่าว ว่า ย่ อมได้ รับคุณของการถือ ธุดงค์ มี ความ
มักน้ อย อดทน ประหยัด เป็ นต้ น นั้น                มีอธิบายเพิ่มว่าอานิสงส์ในข้ออื่น ๆ อีก ก็ เช่ น
                 ( จากหนังสื อ มิลินทปัญหา ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ หน้าที่ 492 )




                                                         ๑๒
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปราบมาร ภาค 1
ปราบมาร ภาค 1ปราบมาร ภาค 1
ปราบมาร ภาค 1Touch Thanaboramat
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8SomAo
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้Kasetsart University
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์Nirut Uthatip
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps wordsAnurak Menrum
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะNirut Uthatip
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาNickky Prapat
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาPherayu Suwan
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16Supichaya Tamaneewan
 

La actualidad más candente (17)

ปราบมาร ภาค 1
ปราบมาร ภาค 1ปราบมาร ภาค 1
ปราบมาร ภาค 1
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16
 

๐๐๖.๐๓. ตารางถือ ธุดงค์ (๒ หน้าแรก) และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า

  • 1. ธุดงค์คือส่วนประกอบข้อปฏิบติเพื่อละ เลิกกิเลส เพื่อพ้นทุกข์ + สุข นิพพาน ณ วัดป่ าดงใหญ่ อีเมล watpadongyai@hotmail.com วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๕๕๑ ั วิธี การ ถือ ธุดงค์ ทั้ง ๑๓ ข้ อ แบบ ได้ รายละเอียด ของ แบบ สู ง กลาง ต่า ๑. ปังสุ กูลกงคะ ถือ ใช้ แต่ ผ้าบังสุ กุล งดผ้าที่ชาวบ้านถวาย จะรับแต่ผา สู ง ิั ้ เอาเฉพาะผ้าตามป่ า หรื อ จากป่ าช้า ่ ซึ่ งมีอยูประมาณ ๒๓ ชนิด เช่น ผ้าจากป่ าช้า ผ้าห่ อศพ ผ้าที่เก่า ๆ ผ้า กลาง ผ้าที่คนทาบุญวางไว้ หวังจะให้พระ ไม่มีเจ้าของ ผ้าเปื้ อนครรภ์แม่ลูกอ่อน ผ้าเก่าไม่มีใครๆใช้ในวัด ฯลฯ ถือเอา เช่น ผ้าป่ า ถ้า ไปรับเอาผ้าที่ได้มาจากโยม ธุ ดงค์ขอนี้ ก็ขาด ้ ต่า ผ้าที่เขาวางไว้ ที่ใกล้ ๆ เท้า ๒. เตจีวริกงคะ ถือ การใช้ ผ้าแค่ เพียงสามผืน เท่านั้น ก็มี ๑. ผ้าจีวร (หนา ั สู ง ใช้ผา ๓ ผืนจริ ง ๆ ไม่ใช้ผา ไม่ยมผ้า ้ ้ ื หนึ่งชั้น) คือ ผ้าที่พระใช้ห่ม แทนเสื้ อผ้า ๒. มีผาสังฆาฏิ ( หนาสองชั้น ) ใช้ห่ม ้ จากผูอื่น จากที่อื่นมาใช้เลย ้ กันหนาว ห่มซ้อนกับจีวรเป็ นสองผืน ( รวมผ้าที่ใช้ห่มจะหนาสามชั้น ) เพื่อเข้าไปใน กลาง ยืมผ้าเก่าที่โรงย้อมผ้ามานุ่งชัวคราว ใน ่ บ้าน หรื อไปบิณฑบาต ๓. และมีผาสบงที่มีขนธ์ ( หนาหนึ่งชั้น ) ที่ใช้นุ่งแทนกางเกง ้ ั ตอนที่กาลังซักผ้า เมื่อผ้าแห้ง ก็เลิกใช้ ยกเว้นใช้ ผ้าอังสะ ทีกว้าง หนึ่งคืบ ยาวสามศอก จานวนหนึ่งผืน เท่านั้น ่ ต่า ยืมผ้าพระมานุ่ง เพื่อซ่อมจีวรตัวเองได้ ถ้ายินดีเมื่อใช้ผาผืนที่ ๔ เช่น ผ้าไตรจีวร (สบง จีวร) ที่เพิ่มมาเป็ นบริ ขารโจร ผ้าห่ม ้ แต่ไม่ใช่ยมเพื่อห่มตลอดวัน ื ผ้ากันหนาว ที่ส่งเสริ มการภาวนา ที่เกินความจาเป็ นเป็ นนิจ ธุดงค์ขอนี้กจะขาด ้ ็ ๓. ปิ ณฑปาติกงคะ ถือ การไปเทียวบิณฑบาต เป็ นประจา เป็ นวัตร คือ ไม่ ั ่ สู ง รับจากโยมข้างหน้า -หลัง - กลับ เมื่อนัง ่ รับนิมนต์ หรื อรับลาภพิเศษอย่างอื่นใด ๆ จะฉันเฉพาะอาหารที่ได้จาก ลงหลังกลับจากบิณ ฯ แล้ว ก็หยุดรับภัต การไปบิณฑบาตมาแล้ว เท่านั้น กลาง ไปบิณ ฯ เหมือนข้างบนมาแล้ว นังลงก็ ่ ที่เราเห็นพระภิกษุ สามเณร ท่าน ออกรับอาหารบิณฑบาตในตอนช่วง ยังรับได้ แต่ไม่รับนิมนต์ในวันพรุ่ งนี้ เช้าๆ ทุกวัน นั้น ก็ เพราะว่า ท่านได้ถือ หรื อทาตามธุดงค์ขอนี้ นันเอง ้ ่ ต่า ไปบิณ ฯมานังลงแล้วยังรับได้ แต่จะรับ ่ เมื่อรับอาหารจากที่อื่น ที่ไม่ใช่ได้จากออกรับบิณฑบาต ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด้ กิจนิมนต์ในวันพรุ่ งนี้ในวันต่อไปก็ได้ ๔. สปทานจาริกังคะ ถือ จะออกรับ บิณฑบาตตามลาดับ เป็ นประจา สู ง ไม่ รับสลับลาดับหน้ามาหลัง หรื อไม่ เป็ นวัตร คือจะออกรับอาหารบิณฑบาต ตามลาดับของบ้าน เรี ยง สลับหลังไปหน้า เขาเอาบาตรไปตักภัต ตามลาดับของคนที่จะถวายอาหาร รับเรี ยงไปตามลาดับที่โยมที่จะใส่ ใส่ ได้ แต่ไม่นงรออาหารที่มีคนมาส่ ง ั่ บาตร เท่านั้น คือ จะรับอาหารไปตามลาดับที่ชาวบ้านที่กาลังรอใส่ กลาง รับสลับลาดับจากหน้ามาหลัง หรื อจาก บาตรอยูขางหน้า่ ้ หลังมาหน้าได้ หรื อโยมเอาบาตรไป ถ้า ไปบิณฑบาตที่อื่นโดยละโมบ โดย เลือกรับเอาแต่ของที่ตนชอบ ธุ ดงค์ ตักอาหารได้ แต่ ไม่ นั่งคอยอาหารอีก ข้อนี้จะขาด ต่า ไปรับบิณ ฯ เหมือนข้างบนมาแล้ว และ ถ้าถือในข้อที่ ๔ นี้ได้ ก็ได้ถือในข้อที่ ๓ ไปด้วยกัน ยังนังคอยอาหาร ที่จะตามมาในวันนั้น ่ ๕. เอกาสนิกงคะ ถือ จะฉัน ณ ที่ อาสนะเดียว เป็ นประจา เป็ นวัตร เป็ น ั สู ง ภัตจะน้อยหรื อมาก เมื่อหย่อนมือลงใน ปกติ คือ จะ เพียงฉันมื้อเดียว คาบเดียว ครั้งเดียว เท่านั้น เมื่อได้ ลุก บาตรแล้ว จะหยุดภัตที่มาเพิ่มจากเดิม จากที่นงแล้ว จะไม่ฉน (จะไม่รับประทาน) อีก เลย ั่ ั กลาง ช่วงที่ภตในบาตรยังไม่หมดก็ยงรับภัต ั ั (ภัตตาหาร = ภัต ) อื่นเติมได้อีก ถือเอาภัตเป็ นด่านสุ ดท้าย ต่า ตลอดเวลาที่ยงไม่ได้ลุกก็ยงรับอาหาร ั ั ถ้า ไปนังฉันที่อาสนะอื่น หรื อที่นงฉันที่อื่น อีกครั้ง ธุ ดงค์ขอนี้ ก็ขาด ่ ั่ ้ ที่มาเติมได้ หรื อยังไม่ได้รับน้ าล้าง ถ้าถือข้อที่ ๕ นี้ได้ ก็จะเป็ นการถือข้อที่ ๖ และในข้อที่ ๗ ได้พร้อมๆ กัน บาตร ถ้ามีคนมาส่ งอาหารให้ก็ยงรับได้ั ๑
  • 2. วิธีการ ถือธุดงค์ แบบ ได้ รายละเอียด ของแบบ สู ง กลาง ต่า ๖. ปัตตปิ ณฑิกงคะ ถือ จะฉันอาหารเฉพาะทีมอยู่ในบาตรเท่ านั้น เป็ นวัตร ั ่ ี สู ง นาเข้าปากเลย ไม่ใช้มือบิด มิใช้ฟัน กัด ถ้า ใช้ภาชนะอื่น เช่น ฝาบาตร แก้ว ห่ อ กล่อง ใบไม้ ฯลฯ ธุ ดงค์ขอนี้ก็ ้ กลาง ใช้มือบิด บิแบ่งเป็ นชิ้นได้ มิใช้ฟัน ่ ้ จะขาด เน้นอยูที่ตองไม่ใช้ภาชนะเพิ่มเติม นอกจากมือ ฟัน เพื่อจากัดอาหาร ต่า ใช้มือบิ และฟันแทะ ภัตจากบาตรได้ ๗. ขลุปัจฉาภัตติกงคะ ถือ จะไม่ รับอาหารทีมาตอนหลังบิณฑบาต ั ่ สู ง ฉันภัตของรายแรกแล้ว ก็หยุดรับอีก เป็ นประจา เป็ นวัตร คือ เมื่อลงมือฉันแล้ว จะไม่รับอาหารอื่นที่ตามมาส่ ง กลาง ฉันแต่ภตในบาตร จะไม่รับภัตอีกเลย ั อีก ถ้าเลิกฉัน ลุกแล้ว ก็ยงทาอาหารให้ถูกวินย แล้วก็ฉน ธุดงค์ขอนี้กขาด ั ั ั ้ ็ ต่า ตราบที่ยงไม่ได้ลุก ก็ยงรับภัตได้อีก ั ั ๘. อารัญญิกงคะ ถือ อยู่ในป่ าเป็ นประจา เป็ นวัตร ( = โทษะจริ ต ) ั สู ง ่ อยูป่าตลอด ๓ ฤดู ตลอด ๑๒ เดือน ถ้า เกิดสว่าง หรื อได้อรุ ณขึ้นในขณะที่พระกาลังอยูชายบ้าน หรื ออยู่ ่ กลาง ่ อยูป่าในฤดูร้อนกับหนาว รวม ๘ เดือน ่ ้ ็ ใกล้บาน หรื ออยูในบ้าน ที่ไม่ใช่ป่า ธุ ดงค์ขอนี้กจะขาด ้ ่ั แต่ ๔ เดือนในฤดูฝน อยูวดชายบ้าน ่ พุทโธ และ อรหันต์ท้ งหลายชอบอยูวเิ วก เช่น ตามป่ า ตามที่สงบ ั ต่า ่ อยูป่า ๔ เดือนได้ในฤดูร้อน เท่านั้น ๙. รุ กขมูลกงคะ ถือ อยู่ตามโคนไม้ เป็ นประจา ( = โทษะจริ ต ) ิั สู ง มิมีใครช่วยจัดที่ให้ ใช้เท้ากวาดใบไม้เอง (ในพรรษาของพระภิกษุ พระพุทธเจ้าอนุญาตให้พระ จะต้องมี กุฎีเพื่องป้ องกันหนาว ร้อน เหลือบ ยุง ลม แดด ) กลาง เผือมีคนมาก็วานเขาช่วยกวาด จัดที่ได้ ่ ถ้า อยูที่มุง ที่บงฝนจากสิ่ งอื่น ที่นอกเหนือจากต้นไม้ ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด ่ ั ้ ต่า ให้คนวัด สามเณรมาช่วยจัดสถานที่พก ั ๑๐. อัพโพกาสิ กงคะ ถือ การอยู่ทแจ้ ง เป็ นประจา เป็ นวัตร ั ี่ สู ง ่ ่ อยูกลด อยูกระโจมกลางแจ้งได้ แต่จะ ่ ่ ั ถ้า ผูที่ถือ อยูในที่มุง หรื ออยูที่บงฝนจากสิ่ งอื่นในขณะกาลังจะสว่าง ้ อาศัยเงาจากต้นไม้ เงาภูเขา ไม่ได้ กาลังจะรุ่ งอรุ ณแล้ว ธุ ดงค์ขอนี้ก็จะขาด ้ กลาง อาศัยเงาต้นไม้ เงาภูเขา เงากุฎีได้ ถ้า ถือข้อที่ ๑๐ นี้ได้ ก็จะได้ถือข้อที่ ๙ และข้อที่ ๑๑ ไปพร้อม ๆ กัน ่ แต่ไม่เข้าไปอยูภายในกุฎี เพราะว่าการปฏิบติในข้อนี้ จะมีความเข้มข้น ดีมาก ั ต่า ่ อยูกระท่อมใบไม้ - ผ้า เถียงเก่าๆได้ ๑๑. โสสานิกงคะ ถือ อยู่ในป่ าช้ า เป็ นประจา เป็ นวัตร ั สู ง มีเผา มีซากศพ มีการร้องให้ประจา กลาง มีแค่อย่างใด อย่างหนึ่ง จากข้างบนนี้ เมื่อไม่อยูในป่ าช้า หรื อไม่ไปป่ าช้า ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด ่ ้ ต่า ่ สักแต่วาป่ า ที่มีลกษณะคล้าย ๆ ป่ าช้า ั ๑๒. ยถาสั นถติกงคะ ถือ การอยู่ในที่ ที่แล้วแต่ ท่าน เขา จะจัดที่ ั สู ง ไม่ไปดูไม่ถามว่า ใกล้ ดี ร้อน ใดๆ เลย อยู่ ทีพก ทีอาศัย ให้ ่ ั ่ กลาง ่ ถามได้วายังไง? แต่จะไปตรวจดูไม่ได้ ถ้าโลเล เลือกที่อยู่ ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด ้ ต่า ถามได้ ไปดูได้ ถ้าไม่ชอบ ก็เปลี่ยนได้ ๑๓. เนสั ชชิกงคะ คือ พระภิกษุผ้ ูถือ การนั่งเป็ นวัตร เป็ นปกติ คือ ถือ ั สู ง งดพนักพิง ผ้ารัดที่เข่า ผ้ารัดตัว รวม ๓ งดการการนอน แต่...ในวิธีการปฏิบติน้ น ก็ อาจจะนังตลอดจะดีที่สุด หรื อเดินจงกรม ( ั ั ่ กลาง อย่างใดอย่างหนึ่งจาก ๓ อย่างข้างบนนี้ อาจจะจงกรม ประมาณ ๑ ยาม ( ๔ ช.ม.) จากใน ๓ ยาม (๑๒ ช.ม. ในตอนกลางคืน ) หรื อจงกรม ตามถนัด) หรื อ ยืน เดิน นัง เคลื่อนที่ นิ่ ง ก้ม เงย จะภาวนา สวดมนต์ นังสมาธิ เรี ยนธรรม ่ ่ ต่า ใช้ท้ ง ๓ อย่าง หรื อ ใช้เก้าอี้ที่มีที่พิง ั ฟังเทศน์ อ่านพระไตรปิ ฎก อ่านธรรมมะ หรื อตามที่ถนัด ฯ ด้านหลังด้านข้าง หรื อพิงฝา ผนัง ต้นไม้ หมอน ถ้า เมื่อนอนเอาหลังแตะพื้นราบ กับพื้น กับที่นอน ธุ ดงค์ขอนี้ก็ขาด ้ :: ย่อมาจาก พระไตรปิ ฎก อัง. ทสก ข้อ ๑๘๑ , ๑๑๙๒ , จากหนังสื อวิสุทธิมรรค ภาค ๑ ตอน ๑ , มิลินทปัญหา และ จากประสบการณ์โดยตรงของพระวัดป่ าดงใหญ่ :: ที่ช่อง ได้ ถ้าทาได้ ๑๐๐ ให้เติม ก ถ้าถือได้ ๗๕ ให้เติม ข ถ้าถือได้ ๕๐ ให้เติม ค ถ้าถือได้ ๒๕ ให้เติม ง ถ้าไม่ได้ถือเลยให้เติม จ ตามความจริ ง ถ้ายังไม่เคยถือ ก็น่าจะลองถือดู เพื่อความก้าวหน้า ความเจริ ญ รุ่ งเรื อง เพื่อสร้างบารมีธรรมที่สูงๆ ช่วยให้บรรลุถึงธรรม นิพพาน ได้ง่าย ๆ ต่อไป ชื่อ....................................................ชื่ อเล่น.....................ฉายา/นามสกุล ............................................ วันเกิด ว/ด/ป....................................... กรอกเมื่อ ว/ด/ป............................................. ๒
  • 3. น่าสังเกตมาก ในข้อที่ ๑ ๒ จะเป็ นหมวดที่เกี่ยวกับจีวร เครื่ องนุ่งห่ม ในข้อที่ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เป็ นหมวดที่เกี่ยวกับ อาหาร ในข้อที่ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ เป็ นหมวดที่เกี่ยวกับที่อยู่ และในข้อที่ ๑๓ จะเกี่ยวกับความเพียรฆ่ากิเลสโดยเฉพาะ ั ่ ข้อที่ ๙ ๑๐ ภิกษุถือได้เฉพาะในพรรษา เพราะตามวินยพระจะต้องมีกุฎีอยูจาพรรษา นี่ตามตารา แต่ถาฝนไม่ตก ที่วด ้ ั ป่ าดงใหญ่น้ น ก็อาจจะถือได้เป็ นบางครั้ง หรื อหลาย ๆ วัน ก็มี ต้องดูสุขภาพ แต่ไม่ข้ ีแย อ่อนแอ ใจไม่กล้า กล้าทดลอง ั สาหรับพระภิกษุจะถือได้ ท้ง ๑๓ ข้ อเต็ม ส่ วนภิกษุณี ถือได้ ๘ ข้อ คือข้อ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑๒ ๑๓ นี่วาตามตารา ั ่ ส่ วนข้อที่เหลือทุกข้อนั้นในวัดป่ าดงใหญ่ ก็อาจจะถือได้เป็ นบางครั้ง บางเวลา ถ้ามีความปลอดภัย มีผอารักขา มีผชาย มีพระ ู้ ู้ ผูชายที่ร่วมฝึ กภาวนาในบริ เวณวัดป่ า ที่ในป่ าเดียวกัน แต่ไม่รบกวนกัน เหมือนที่พวกเข้าร่ วมงานปฏิบติธรรมตามวัดป่ าทัวไปทากัน ้ ั ่ ่ สามเณรถือได้ ๑๒ ข้อ ยกเว้นข้อที่วา ด้วยการใช้ผาเพียงแค่สามผืน เพราะว่า สามเณร จะไม่มีผา ้ ้ สังฆาฏิ สาหรับที่วดป่ าดงใหญ่น้ น อาจจะดัดแปลงให้สามเณรใช้ผาอย่างอื่นเป็ นผืนที่สาม แทนสังฆาฏิ ผ้ากัน ั ั ้ หมอก สิ กขมานาและสามเณรี ถือได้ ๗ ข้อ คือลดข้อที่ ๒ ออกจากภิกษุณีได้ ก็อาจจะดัดแปลงให้ใช้ผา ้ ่ อย่างอื่น แทนเป็ นผืนที่สามได้ เหมือน กับ สามเณร ที่อยูตามวัดป่ า นิยมทากัน ส่ วน อุบาสก อุบาสิ กา ถือได้ ๒ ข้อ คือ ข้อที่ ๕ และ ข้อที่ ๖ นี่ตามตารา ที่น้ ี พวกเรา...ก็อาจจะ ดัดแปลงถือเพิ่มในข้ออื่น ๆ ตามที่เคยพาโยมที่วดป่ าดงใหญ่ทา มาแล้ว ก็คือ การถือใช้ผาบังสุ กล ( ข้อ ๑ ) ก็ ั ้ ุ อาจจะใช้ผาที่ได้จากที่เขาไม่หวงแล้ว ผ้าเก่า ผ้าเหลือใช้ ผ้าที่เหลือในวัด ผ้าเก่าของคนตายที่ซกดีแล้ว ถ้า ้ ั จะถือการใช้ผาเพียงแค่สามผืน ( ข้อ ๓ ) ก็ดดแปลงเป็ น สามตัว แต่ทาความสะอาดให้ดี ถ้าจะถือการไม่รับ ้ ั อาหารทีหลัง ( ข้อ ๗ ) ก็เช่น เมื่อตักอาหารจนพอแล้ว จะไม่เอาเพิ่มอีกถ้วย อีกช้อน เป็ นต้น ถ้าจะถือการอยู่ ่ ่ ่ ป่ า ( ๘ ) ถือ การอยูโคนไม้ ( ๙ ) ถืออยูในที่แจ้ง ( ๑๐ ) ถือการอยูป่าช้า ( ๑๑) นี่ในวัดป่ าที่มีป่าพอที่จะทาได้ อย่างง่าย ๆ เลย เช่นที่วดป่ าดงใหญ่ ถ้าจะถือการยินดีในที่อยูตามที่ท่านจัดที่อยูให้ ( ๑๒ ) นี่กถือตามที่อยูที่ ั ่ ่ ็ ่ ทางวัดจะจัดให้ ตามที่ทางเจ้าของสถานที่จะจัดที่อยูให้ได้ ถ้า จะถือการอยูเ่ นสัชชิก ( ๑๓ ) คือไม่นอน นี่ ่ ก็ถือได้ เพราะบางครั้ง การปฏิบติธรรม การจาศีลภาวนาในวัดป่ า หรื อบางวัด ก็นิยมไม่นอนในบางวันพระ ั หรื อทุก ๆ วันพระ หรื อตามที่จะสมาทานตั้งใจทา ทั้งที่บางคนอาจจะทาเป็ นส่ วนรวม และทาส่ วนตัว ก็มี วิธีการ ใน ๑ คืน ( ๑๒ ชัวโมง ) ก็อาจจะมีการเดินจงกรม ใน หนึ่งยาม ( สี่ ชวโมง) อีก ๒ ยาม (๘ ชัวโมง) ่ ั่ ่ ก็อาจจะนัง ก็ได้ หรื ออาจจะนังยาวรวดเดียว หรื อ จะนัง ยืน เดิน ตามที่ถนัด ่ ่ ่ การถือธุดงค์น้ ี เป็ นข้อปฏิบติเพิมเติม ให้บรรลุธรรม มรรค ผล นิพพาน สาเร็จอริ ยะทั้ง ๘ ั ่ ได้เร็วๆ ง่ายขึ้น เพื่อเพิมเวลา เพิมโอกาส เพิมข้อวัตรให้มีความเข้มข้นในการภาวนาฆ่ากิเลส เพื่อความพ้น ่ ่ ่ ทุกข์ พบความสุ ข อย่าง เร็ว ๆ ไว ไว มาก ๆ ขึ้น เป็ นการสมัครใจที่จะทา จะถือ จะไม่ถือก็ได้ ไม่ผด ิ ๓
  • 4. ่ วินย เหมือนการไม่รักษาศีล ของพระที่มีศีลที่จะต้องรักษาศีลอยูประจาประมาณ ๒๒๗ ข้อ นอกจากนี้กยงมี ั ็ั ศีลอีกมากที่นอกเหนือจากศีลในปาฏิโมกข์ ๒๒๗ ข้อนี้ และการรักษาศีลของสามเณรมี ๑๐ ข้อ การรักษาศีล ของผูที่ถือศีลอุโบสถ ก็มี ๘ ข้อ การรักษาศีลของชาวบ้านทัวไป ก็มีอยู่ ๕ ข้อ ซึ่งศีลนี้ ก็อาจจะถือเกินศีล ้ ่ ่ ที่วามานี้ ก็ได้ และศีลนีจะต้ องถือตลอดเวลา ถ้าถือธุดงค์แล้ว การภาวนาดี กุศลธรรมเจริ ญคือศีล สมาธิ ้ ปัญญา พละ ๕ อินทรี ย ์ ๕ มรรค ๘ เจริ ญงอกงามยิง ๆ ขึ้น และถ้าถือธุดงค์แล้วทาให้อกุศลธรรมเสื่ อม ๆ ่ ลด ลง ขาด เบาบาง หาย ๆ ลืม ๆ ไป เช่น ความอ่อนแอ ความฟุ่ มเฟื อย ไม่ประหยัด ความกลัว ความขาด สติ ขาดสมาธิ ขาดปัญญา โง่ ง่วง ท้อแท้ ฟุ้ งซ่าน สงสัย ลังเล ขี้เกียจ ฯลฯ และอกุศลอื่น ๆ เสื่ อม ดับ ็ หายไปแล้ว อย่างนี้กควรจะถือธุดงค์ ถ้าถือธุดงค์แล้ว กุศลธรรมเสื่ อม และทาให้อกุศลธรรม เจริ ญ อย่าง ็ นี้กไม่ควรควรจะถือธุดงค์ ็ ถ้าถือธุดงค์กตาม หรื อไม่ถือก็ตามแล้ว ก็ไม่ทาให้กรรมฐานเจริ ญเพิ่มขึ้น หรื อไม่เสื่ อมแล้ว เช่น พระอรหันต์ และ คนทัว ๆ ไป ปุถุชน หรื อผูที่ภาวนาที่ยงไม่ได้ถึงขั้น โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อย่างนี้ก็ ่ ้ ั ควรถือธุดงค์เพื่อสร้างบารมี ให้สูง ๆ ขึ้นไปอีกสาหรับคนทัวไป่ ส่ วนพระอรหันต์ นี่ ท่านถือธุดงค์น้ นก็ ั เพื่อเป็ นตัวอย่างแก่รุ่นหลัง ๆ แก่พระภิกษุ แก่สามเณร แก่ชาวบ้าน แก่นกภาวนา แก่วด บ้าน ชุมชน แก่ ั ั ประเทศ แก่ลูก หลาน เหลน ให้รู้จกประหยัด อด ออม อดทน ขยัน ไม่อยูเ่ ฉย ๆ ต่อไป ั เรา จะถือธุดงค์ ข้ อไหนบ้ าง เป็ นบางข้ อ หรือ ถือ ๑๐ ข้ อ หรือ ทั้งหมด ก็เอาเถิด จะถือเป็ นเวลา เป็ นช่ วง ตามเหตุการณ์ กีชั่วโมง กีวน คืน สัปดาห์ กีเ่ ดือน ๕ เดือน กีปี่ ก็เอาเถิด ดี หรือจะถือตลอดชีวต ่ ่ั ่ ิ หรือ เฉพาะตอนเด็ก ๆ ช่ วงกลางคน เมือคราวแก่ หรือตามถนัด ก็เลือกเอาเถิด เพราะ เป็ นสิ่งทีดเี ลิศจาก ่ ่ พระไตรปิ ฎก สาหรับพวกเราทุก ๆ สมัย [ ธุตังคเสวนา ธุดงค์ น้ัน จะ เหมาะกับจริตใด? ] ่ ข้อว่า การเสพธุดงค์เป็ นสัปปายะสาหรับใคนั้น แก้วา การเสพธุดงค์เป็ นสัปปายะสาหรับคนราคจริต และคนโมหจริต เพราะเหตุไร? เพราะการเสพธุดงค์เป็ นทุกขาปฏิปทา (ปฏิบติลาบาก) และเป็ นสัลเลขวิหาร ั ่ (อยูอย่างเคร่ ง) อันราคะย่อมสงบเพราะอาศัยทุกขาปฏิปทา โมหะ ผูที่ไม่ประมาทย่อมละได้เพราะ ้ ั ั อาศัยสัลเลขปฏิบติ อนึ่ง ในธุดงค์เหล่านี้ การเสพอารัญญิกงคะ และ รุ กขมูลิกงคะเป็ นสัปปายะ แม้ ั ่ ่ แห่งคนโทสจริ ต ด้วยเมื่อคนโทสจริ ตนั้นแม้นไม่มีใครกระทบกระทังอยูในป่ าและโคนไม้น้ น แม้โทสะก็ ั ย่อมสงบแล นี้เป็ นคาพรรณนาโดยจาแนกศัพท์ มี ธุตศัพท์ เป็ นต้น. วิธีขดเกลากิเลส ( สัลเลขปฏิบัต) ั ิ เพือความสุ ข ่ [๑๐๔] ดูกรจุนทะ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลากิเลสในข้อเหล่านี้แล คือ เธอทั้งหลาย พึงทาความขัดเกลา (ขูด ขัด ละ ) ว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูเ้ บียดเบียนกัน ในข้อนี้เราทั้งหลายจักเป็ นผูไม่เบียดเบียนกัน. ้ ๔
  • 5. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูฆ่าสัตว์ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการฆ่าสัตว์. ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูลกทรัพย์ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการลักทรัพย์. ้ั เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเสพเมถุนธรรม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักประพฤติพรหมจรรย์. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวเท็จ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวเท็จ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวส่ อเสี ยด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวส่ อเสี ยด. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวคาหยาบ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวคาหยาบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักกล่าวคาเพ้อเจ้อ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักงดเว้นจากการกล่าวเพ้อเจ้อ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมักเพ่งเล็งภัณฑะของผูอื่น ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่เพ่งเล็งภัณฑะของผูอื่น. ้ ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีจิตพยาบาท ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีจิตพยาบาท. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความเห็นผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความเห็นชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความดาริ ผด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความดาริ ชอบ. ิ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวาจาผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีวาจาชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีการงานผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีการงานชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีอาชีพผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีอาชีพชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความเพียรผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีความเพียรชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีสติผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีสติชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีสมาธิ ผด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีสมาธิ ชอบ. ิ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีญาณผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีญาณชอบ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวมุติผิด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีวมุติชอบ. ิ ิ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักถูกถิ่นมิทธะกลุมรุ ม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักปราศจากถิ่นมิทธะ. ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูฟุ้งซ่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูไม่ฟุ้งซ่าน. ้ ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีวิจิกิจฉา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักห้ามพ้นจากวิจิกิจฉา. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความโกรธ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความโกรธ. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักผูกโกรธไว้ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ผกโกรธไว้. ู เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักลบหลู่คุณท่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ลบหลู่คุณท่าน. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักยกตนเทียมท่าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ยกตนเทียมท่าน. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความริ ษยา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความริ ษยา. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีความตระหนี่ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีความตระหนี่. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักโอ้อวด ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่โอ้อวด. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีมารยา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่มีมารยา. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักดื้อด้าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่ด้ือด้าน. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักดูหมิ่นท่าน ในข้อนี้เราทั้งหลายจักไม่ดูหมิ่นท่าน. ้่ ้่ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูวายาก ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูวาง่าย. ั เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักมีมิตรชัว ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักมีกลยาณมิตร. ่ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนประมาท ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนไม่ประมาท. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนไม่มีศรัทธา ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนมีศรัทธา. ๕
  • 6. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักไม่มีหิริ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีหิริในใจ. ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักไม่มีโอตตัปปะ ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีโอตตัปปะ. ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูมี สุ ตะน้อย ในข้อนี้ เรทั้งหลายจักเป็ นผูมีสุตะมาก. ้ ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนเกียจคร้าน ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูปรารภความเพียร. ้ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นผูมีสติหลงลืม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นผูมีสติดารงมัน. ้ ้ ่ เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนมีปัญญาทราม ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักเป็ นคนถึงพร้อมด้วยปั ญญา. เธอทั้งหลายพึงทาความขัดเกลาว่า ชนเหล่าอื่นจักเป็ นคนลูบคลาทิฏฐิของตน ยึดถืออย่างมันคง และสละคืนได้โดย ่ ยาก ในข้อนี้ เราทั้งหลายจักไม่เป็ นผูลูบคลาทิฏฐิของตน ไม่ยดถืออย่างมันคง และสละคืนได้โดยง่าย. ้ ึ ่ ่ เมื่อเรา ทาดัง ที่วา มานี้ ไว้ในใจแล้ว ก็สามารถหลบหลีก เอาตัวรอด ชนะผูอื่นได้ หลบภัย หลบคนชัว ป้ องกันคนชัว เราสามารถที่ ้ ่ ่ จะเป็ นผู ้ นาของคนอื่นได้ สอนคนอื่นได้ สามารถที่จะยกตนเองให้สูงขึ้น สูงขึ้น เหนือคนอื่นได้ สามารถก้าวหน้าในการภาวนา การปฏิบติ ั เพื่อฆ่ากิเลสได้โดยเร็ วพลันบรรลุธรรมทันที พุทโธ สอนว่า “ .. นันโคนไม้ นันเรื อนว่าง เธอทั้งหลายจงเพ่งพินิจเถิด อย่าประมาท ่ ่ อย่าได้เป็ นผูมีความเดือดร้อนในภายหลังเลย นี้เป็ นคาสอนของเราสาหรับเธอทั้งหลาย แล.. ” ้ พระสู ตรนี้ ชื่อสัลเลขสู ตร ลุ่มลึก เปรี ยบด้วยสาคร ฉะนี้ จบ. จากเล่มที่ ๑๗ ข้อ ๑๐๑ หน้า ๔๖๙ จากชุด ๙๑ เล่ม วันอาทิตย์ที่ วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เวลา ๑๘:๔๖:๕๒ น. พระประสิ ทธิ์ ฐานะธัมโม ( แววศรี ) รวบรวม จงมีสุข พ้นทุกข์ บรรลุนิพพานบรมสุ ขเร็ วๆ ไวๆ จากวัดป่ าดงใหญ่ ๑๓๕ ม. ๒ บ./ต.แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบล ๓๔๑๕๐ ๖
  • 7. ๗ รวม ๆ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ จาก หนังสื อวิสุทธิ มรรค และหนังสื อ มิลินทปั ญหา อานิสงส์แบบแยกเป็ นข้อ ๆ จากหนังสื อวิสุทธิมรรค ภาค ๑ ตอน ๑ ข้ อที่ ๑ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ที่ว่าด้วยการใช้ ผ้าบังสุ กล เป็ นวัตร เป็ นประจา เสมอ เท่ านั้น ุ 1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ว่า การบรรพชาที่อาศัยผ้าปังสุ กล ้ ั ุ ั ่ 2. ได้ต้ งอยูในอริ ยะวงศ์ขอที่ ๑ คือการสันโดษในจีวร ้ 3. ไม่ตองลาบากในการรักษาผ้า เพราะมีไม่มาก น้อยผืน ้ 4. ไม่ตองไปเกี่ยวข้องกับผูอ่ืน ในเรื่ องผ้า การซัก การรักษา การยืม การหาผ้า ้ ้ 5. ไม่ตองกลัวโจร ขโมยลักเครื่ องนุ่งห่ม จีวรไป เพราะว่าไม่มีใครที่ตองการเลย นอกจารกพระ ้ ้ 6. ไม่มีตณหาในการบริ โภค จีวร เครื่ องนุ่งห่ม ลดเรื่ องความอยากในการแต่งตัว ได้เยอะ ั 7. มีบริ ขารได้ตามสมณรู ป คือ เหมาะสมที่จะเป็ นพระภิกษุ 8. มีปัจจัยตามที่พทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้ ุ 9. เป็ นผูท่ีน่าเลื่อมใส ้ 10. ได้มีความมักน้อย อดทน เลี้ยงง่าย เป็ นต้น เป็ นผล 11. มีสัมมาปฏิบติเพิ่มขึ้น จะเพิ่มความแม่นยา ตรงตามทางสู่ พระนิพพาน เพื่อพ้นจากทุกข์ได้ ั 12. คนรุ่ นหลังถือเป็ นแบบอย่างได้ ข้ อที่ ๒ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ในข้ อ การใช้ ผ้าแค่เพียงสามผืน เท่ านั้น 1. สันโดษในจีวรน้อย มีเพียงแครักษาร่ างกาย ไปไหนเบา ดุจนกบิน 2. มีงานที่จะต้องทาเกี่ยวกับผ้าน้อย มีเวลาที่จะภาวนา ฆ่ากิเลส เพื่อจะได้พนจากทุกข์ เร็ว ๆ ้ 3. เลิกสะสมผ้า ไม่ตองเป็ นภาระในการเก็บ รักษา การซัก ขน ย้าย ้ 4. มีความประพฤติเป็ นคนเบาดี เพระว่า ไม่ตองแบก ไม่ตองยก หอบผ้ามาก ๆหลาย ๆ ผืน ้ ้ 5. ละความละโมบในอดิเรกจีวร ที่เกินจากผ้าสามผืนได้ 6. ทาความพอใจในผ้าที่เป็ นกัปปิ ยะ ( ผ้าที่ไม่ผดธรรมวินย ไม่ได้ขอ เรี่ ยไร มา) คือ ผ้าสามผืน นี้เท่านั้น ิ ั 7. มีความประพฤติขดเกลากิเลส ที่จะพาให้หลงในรู ปร่ าง ในเครื่ องนุ่งห่ม ในตัณหาที่จะเกิดมาจาก จีวร ู 8. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ( หมวดนี้ ขาด การทาเป็ นตัวอย่างแก่รุ่นหลัง ) ๗
  • 8. ข้ อที่ ๓ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะ เที่ยวบิณฑบาต เป็ นประจา เป็ นวัตร 1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย เมื่อตอนขอบวชใหม่ ๆ ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ที่วา ้ ั ่ บรรพชาที่อาศัยลาแข้งบิณฑบาตเลี้ยงชีพ 2. ได้ต้ งอยูในอริ ยวงศ์ ข้อที่ ๒ คือการสันโดษในอาหาร (ในกลุ่ม ในคณะ ในวงศ์ ของพระอริ ยเจ้า ทั้ง ๘ ั ่ ่ จาพวก นั้น อริ ยะวงศ์จะมีความสันโดษในของ ๔ อย่าง คือ จีวร อาหาร ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค ) 3. ไม่ตองไปเกี่ยวข้องกับผูอ่ืน ในเรื่ องอาหาร เพราะว่ามีแล้ว ได้แล้ว ไม่ตองไป หาซื้อ หายืมที่ไหนอีก ้ ้ ้ 4. มีปัจจัยตามที่พทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้ เพราะหาง่ายดี ุ 5. ยายีความเกียจคร้านได้ เพราะว่า ต้องตื่นแต่เช้า ต้องเดินไปทุก ๆ วัน ตั้งแต่เช้า ต้องไปตามเวลาด้วย ่ 6. มีอาชีวะ คือการเลี้ยงชีพที่บริ สุทธิ์ เพราะรับแบบแมลงภู่ที่ดูดน้ าหวานจากดอกไม้เบา ๆ โดยไม่ชอกช้ า 7. ได้บาเพ็ญตามเสขิยวัตร ทั้งการเข้าบ้าน ๒๖ ข้อ การรับอาหาร การฉัน ๓๐ ข้อ การแสดงธรรม เป็ นต้น ้ ั ็ 8. ไม่ตองเลี้ยงผูอื่น เพราะว่า รู ้จกประมาณว่า จะรับมากน้อยเท่าไหร่ กรู้ ฉันคนเดียว ไม่ตองเลี้ยงใครอีก ้ ้ 9. ได้อนุเคราะห์ผอื่น คือไปให้โยมได้ทาบุญ ทาทาน ได้กราบ ไหว้ ได้เห็นพระ ได้รับอาหารจากหลายๆ บ้าน ู้ 10. ละมานะได้ เพราะเป็ นวิธีการที่ต่าสุ ดในการหาเลี้ยงชีพ ไม่หลงลืมตัว 11. ป้ องกันตัณหาในรสอาหารได้ เพราะว่า ฉันรวมกันในบาตร ได้มายังไง ก็ฉนตามที่ไม่ผดวินย ั ิ ั ๘
  • 9. ๙ 12. ไม่ตองอาบัติ เพราะคณโภชนฯ ที่วาด้วยการฉันเป็ น หมู่เป็ นคณะฯ เพราะปรัมประฯ ที่วาด้วย ้ ่ ่ ่ การฉันทีหลังฯ เพราะจาริ ตตฯ ที่วาด้วยการไปบิณฑบาต แล้วไล่พระกลับ ฯ ซึ่งเป็ นปาจิตตียท้ ง ๓ ข้อ ์ ั 13. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ 14. มีสัมมาปฏิบติเพิ่มขึ้น จะเพิ่มความแม่นยา ตรงตามทางสู่ พระนิพพาน เพื่อพ้นจากทุกข์ได้ ั 15. คนรุ่ นหลัง ๆ ทั้งพระภิกษุ และสามเณร ชาวบ้าน จะถือเอาเป็ นแบบอย่างได้ ข้ อที่ ๔ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะออกรับบิณฑบาตตามลาดับบ้ านของคนที่ใส่ บาตร เท่ านั้น 1. เป็ นผูใหม่ต่อโยมอยูเ่ สมอ จะทาให้เกรงใจโยม ต้องภาวนาดี ๆ ้ 2. มีใจไม่ติดข้องในโยมดังดวงจันทร์ เพระไม่ได้เข้าไปคุยกันในบ้าน หรื อพระจะมองในบาตรเสมอ ๆ ่ 3. ละความตระหนี่ในตระกูลได้ แก้การหวงโยม เช่น หวงไม่ให้โยมไปทาบุญที่อื่น ได้ 4. ได้อนุเคราะห์ชาวบ้านเสมอ ๆ กัน เพราะว่า ไปแทบทุก บ้าน อย่างทัวถึง ทุก ๆ คน ่ 5. ไม่มีโทษอันที่จะพึงมีแก่ปุลุปกภิกษุ คือพระประจา ที่ปรึ กษาของตระกูล ที่ชอบต้องอาบัติ เช่น การอยู่ ในที่ ลับหู ลับตา กับมาตุคามหรื อหญิง การที่ตองพูดกับหญิงเกิน ๖ คา การที่จะต้อง อดกลั้นการปวด ้ หนัก เบา การต้องคุนเคยกับโยมบ่อย ๆ เพราะว่า พระไม่ตองเข้าไปในเรื อน อยูแค่ตามถนน ้ ้ ่ 6. ไม่ตองรอการขานชื่อ ในการรับกิจนิมนต์ เดินไปตามหมู่บาน ก่อนเลย ้ ้ 7. ไม่ตองการที่จะโยมนาอาหารมาให้เฉพาะตัวเอง เลี้ยงง่าย พระไม่ตองนังรอ โดยมไม่ตองลาบากมาก ้ ้ ่ ้ 8. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๕ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะฉันมื้อเดียว คาบเดียว ครั้งเดียว เท่ านั้น 1. มีอาพาธน้ อย 2. มีโรคน้ อย 3. ร่ างกายคล่องแคล่ว เบาตัว ไม่ หนัก 4. แข็งแรง มีกาลังมาก 5. อยู่อย่ างสาราญ มีความสุ ข 6. ไม่ตองอาบัติเพราะว่า ถูกคนอื่นชักชวนพระอื่นให้ฉนอาหารอีกครั้งครั้ง และไม่ได้ชกชวนใครฉันอีก ้ ั ั ให้เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ 7. บรรเทาตัณหาในรสของอาหารได้ ถ้าอยาก มากก็มีกิเลสมาก ก็จะทาให้ทุกข์มากตามไปด้วย 8. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๖ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะ ฉันเฉพาะอาหารที่มีอยู่ในบาตร เท่ านั้น ๙
  • 10. ๑๐ 1. บรรเทาตัณหาในรสของอาหารได้ 2. ละความตะกละในอาหารได้ 3. เป็ นผูท่ีมุ่งแต่ประโยชน์ในอาหาร คือเห็นคุณค่าของอาหาร ฉันเพื่อบาเพ็ญเพียรภาวนา จะฆ่ากิเลส ไม่ ้ ฉันเล่น 4. มีภาชนะน้อย ไม่ตองลาบากในการรักษา ล้าง เก็บ ถือ วาง ยก ภาชนะหลาย ๆ ชิ้น อัน ใบ ้ ่ 5. ไม่สอดส่ ายหาอาหาร ตามที่อยูในถ้วย ชาม ภาชนะที่ใส่ อาหารที่หลาย ๆ อัน ที่วางรอบ ๆ ตัว นั้น 6. ย่อมได้รับความมักน้อย ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ย่อมได้รับความมักน้อย เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๗ อานิสงส์ การถือธุดงค์ ว่ า เมือลงมือฉันแล้ ว จะไม่ ยอมรับอาหารอื่นเพิมเติมอีก ่ ่ 1. ้ ่ ไม่ตองห่วงว่าจะต้องอาบัติในข้อที่วา ฉันอาหารที่หลัง อีกครั้ง เมื่อพอ เมื่อลุกแล้ว ( เป็ นปาจิตตีย ์ ) 2. ไม่ตองแน่นท้อง อึดอัด จุก เรอ ก้มไม่ลง ้ 3. ไม่มีการสั่งสมอาหาร ไม่ตองหาที่เก็บ ไม่ตองห่วงว่าง มดจะมากิน ้ ้ 4. เมื่อลงมือฉันแล้ว ไม่ตองแสวงหาอาหาร อีก ง่ายดี เลี้ยงง่ายที่สุด ้ 5. ย่อมได้รับความมักน้อย ประหยัด เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๘ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะอยู่ในป่ าเป็ นประจา เป็ นวัตร เสมอ ๆ 1. ถ้านึกถึงป่ า อยู่ เสมอ ๆ ถ้ายังไม่ได้สมาธิ ก็จะได้สมาธิ เมื่อมีสมาธิแล้ว ก็จะรักษาสมาธิไว้ได้ดี 2. พุทโธท่านนั้นสรรเสริ ญมาก เมือ อยู่ในป่ าเป็ นประจา เหมือนกับพระวัดป่ าที่ท่านนิยมถือธุดงค์ ่ แล้วปฏิบติตามกรรมฐาน ทั้งประมาณ ๔๐ อย่าง ทั้งหลาย ( วัดป่ าที่มีการถือตามธุงดงค์ท้ง ๑๓ ข้อ มีศีลครบ ั ั บริ บูรณ์ (ไม่ผดศีลเลย) มีกรรมฐานทั้ง ๔๐ มีขอวัตรทั้ง ๑๔ มีสมาธิ (ที่ดี) มีปัญญา มีนิพพาน มีความรู้เรื่ อง ิ ้ นิพพาน จริ ง ๆ มีพระอริ ย อย่างใดอย่างหนึ่ง ใน ๘ อย่าง ในเพศพระภิกษุ สามเณร ชี และในเพศโยม ในชาติน้ ี ) 3. ถ้าอยูในป่ าที่สงัดแล้ว ก็จะปลอดภัยจากสิ่ งที่ไม่สัปปายะ คือปลอดภัยจากสิ่ งที่ไม่ช่วยข่ม ไม่ช่วยฆ่า ่ กิเลส เช่น รู ปงาม เสี ยงเพราะๆ กลิ่นที่หอม รสที่ดี สัมผัสที่นุ่มนิ่ม ปลอดจากสิ่ งที่ไม่สัปปายะ คือใจที่คิดว่าทุก ๆ อย่างนั้น เที่ยง สุ ข เป็ นของเรา ร่ างกายสะอาดสวยงามไม่สกปรก ส่ วนที่เป็ นสับปายะ คือ ช่วยข่มกิเลส ช่วย ฆ่า บรรเทา ละ เว้น ห่าง หลีก จากกิเลส เช่น การคิดอย่าง ยอมรับจริ งๆ ไม่เบี้ยว ไม่โกหก แล้วก็ยอมรับในตัวเอง ว่า ร่ างกายของเรานี้ ถ้าจะว่า จริ งๆ แล้ว จะ สกปรก เหม็น อับ ฉุน ทรมาน ทนได้ยาก ป่ วย เจ็บ ตาย จะทุกข์ จะไม่เที่ยง จะไม่ใช่ของเราจริ ง ๆ 4. หายจากความกลัว สะดุง ้ คนขี้กลัว ต้องฝึ กแบบนี้ 5. ไม่ห่วงชีวต ไม่กลัวตายมาก ละความเยือใยในชีวตได้ ิ ่ ิ ๑๐
  • 11. ๑๑ 6. ย่อมได้สัมผัส ความสุ ขที่เกิดจากความสงัด ความวิเวก ทางร่ างกาย ทางกิเลส และทางใจ 7. เหมาะกับผูที่ถือผ้าปังสุ กุลหรื อถือธุดงค์ขออื่นๆอีกมาก ย่อมเหมาะกับเธอด้วย ้ ้ ข้ อที่ ๙ อานิสงของการถือธุดงค์ ว่ า จะ อยู่ตามโคนไม้ เป็ นประจา 1. เกิดมีขอปฏิบติที่สมควรกับนิสัย ตามบาลี ที่บอกอนุศาสน์ตอนบวช ว่า การบรรพชาที่อาศัยผ้าปังสุ กล ้ ั ุ 2. มีปัจจัยตามที่พุทธะสรรเสริ ญว่า เป็ นของเล็กน้อย เป็ นของหาง่าย เป็ นของหาโทษมิได้ เพราะหาง่ายดี 3. สร้างสัญญา ความจาในความไม่เที่ยง คืออนิจจังจากใบไม้ท่ีเปลี่ยนสี หล่น ไหว ผลิใบใหม่อีกอยูเ่ นือง ๆ 4. เลิกความขี้เหนียวในเสนาสนะกุฎีวหารและเลิกความเพลิดเพลินในการก่อสร้าง ที่อยูเ่ พิมเติม สร้างอื่น ๆ ิ ่ ่ ั ่ ั 5. ได้อยูกบเทวดา หรื ออยูกบรุ กขเทวดา ทั้งหลาย 6. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ( หมวดนี้ ขาด การทาเป็ นตัวอย่างแก่รุ่ นหลัง ) ข้ อที่ ๑๐ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ า จะ อยู่ในที่แจ้ ง กลางแปลง เป็ นประจา เป็ นวัตร ่ 1. ตัดความกังวล ห่วง อาลัยในที่อยูอาศัย เสนาสนะ วัดได้ 2. แก้ความง่วง ท้อแท้ อ่อนแอได้ แก้เซื่องซึม เซ่อ ไม่ตื่นตัว ไม่กระตือลือล้นได้ 3. ไม่ยดติดกับที่อยูใด ๆ เหมือนมฤคที่เที่ยวไปโดยไม่ติดที่นง ที่อยู่ ไม่ขด ไม่ติดข้อง สบาย ึ ่ ั่ ั 4. เป็ นพระ ๔ ทิศ คือรู ้ เห็น ได้ท้ ง ๔ ทิศ ั อนุเคราะห์ได้ท้ ง ๔ ทิศ ั 5. ย่อมได้รับความมักน้อย อดทน เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๑๑ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่ าจะ อยู่ในป่ าช้ า เป็ นประจา เป็ นวัตร 1. ได้มรณสติ คือระลึกถึงความตายอยูเ่ สมอ ๆ ( แต่ ไม่ ใช่ ต้องการให้ ตัวเอง และคนอื่นตายเร็ ว มีแต่ ให้ อายุยืนๆ ) 2. ่ ้ อยูดวยความไม่ประมาทเป็ นปกติ 3. บรรลุ อสุ ภนิมิต คือ จา มี ระลึก สิ่ งที่ไม่สวยไม่งาม ที่ติดตา ติดใจ ได้ตลอดเวลา 4. บรรเทากามราคะ เรื่ องเพศตรงกันข้ามได้ แก้กระสัน แก้เงี่ยน กาหนัดได้ดีนกแล ั 5. เห็นสภาพของร่ างกายอยูเ่ นือง ๆ ว่า เรา และเขา จะต้องเป็ นเหมือนกับศพในป่ าช้า 6. มีความสังเวช หนัก คือได้ความตื่นตัว ไม่หลงใหล ได้สติ 7. ละ แก้ความมัว เมา ในการศึกษา ความที่ยงหนุ่ม ไม่มีโรค ยังไม่ป่วย เมาในยศ ชื่อเสี ยง เงิน ทอง ที่ ั ่ อยูอาศัย หลงตาแหน่ง หน้าที่การงาน หลงเพื่อน หลงสนุก หลงกิเลส หลง อร่ อย งาม ๆ ง่าย ๆ ได้ 8. ข่มความวาดกลัวได้ คนขี้กลัว ต้องฝึ กแบบนี้ ๑๑
  • 12. ๑๒ 9. เป็ นที่เคารพ สรรเสริ ญของอมนุษย์ คือสัตว์ท้ งหลายที่ไม่ใช้คน เช่น ช้าง ม้า เสื อ ยุง ลิง นก หนู ั กวาง เก้ง ผี ยักษ์ มาร พรหม เทวดา เปรต นาค ครุ ฑ ฯลฯ 10. ย่อมได้รับความมักน้อย เป็ นต้น เป็ นอานิสงส์ ข้ อที่ ๑๒ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ ว่า จะยินดีในเสนาสนะ ตามทีท่านจัดหาให้ ได้ เป็ นวัตร ่ ่ 1. ได้กระทาตามโอวาท ที่ดี ที่วา “ ได้สิ่งใด ก็พึงยินดีในสิ่ งนั้น ” ( ในสิ่ งที่ดี ๆ ไม่ ผิดศีลธรรม ไม่ ชั่ว ) 2. ใฝ่ ประโยชน์เกื้อกูลแก่เพื่อนสพรหมจารี ( มี พระภิกษุสามเณร ) คือไม่ตองรบกวนให้ท่านลาบาก ้ ในการจัดหาที่พกให้ การเตรี ยม การย้ายที่พก ั ั 3. เลิก ตัดความตั้งใจ กาหนดว่า จะได้ ดี เลว ประณี ต ในเสนาสะที่อยูอาศัย ่ 4. ละ เลิก ความยินดี ยินร้าย ได้ 5. ปิ ดประตูความตระกราม 6. มีความประพฤติที่สมควรแก่ธุตธรรม มีความมักน้อย เป็ นอาทิ ข้ อที่ ๑๓ อานิสงส์ ของการถือธุดงค์ว่าจะนั่งเป็ นวัตร คือ ถือว่ าจะนั่ง หรืออาจจะยืน เดิน เท่ านั้น ไม่ นอน ไม่ เอาหลังแตะพืนกับราบ เป็ นวัตร ้ 1. ตัดความผูกพันในเรื่ องที่ เกี่ยวกับ การแสวงหาความสุ ขจากการหลับ การเอน การนอน ได้ 2. สะดวกในการประกอบกรรมฐานทั้ง ๔๐ ทั้งการภาวนา การรักษาศีล การศึกษา การทากิจของสงฆ์ ได้ เป็ นอย่างดี 3. มีอิริยาบถ ท่าทาง ที่น่าเลื่อมใสมาก ๆ เพราะไม่นอนให้ใครเห็น 4. เป็ นผูท่ีมีสภาวะ ที่เหมาะที่จะทาความเพียรได้อย่างง่าย ๆ เพราะว่าไม่นอนให้เสี ยเวลาที่จะไปทาสิ่ งที่ดี ๆ ้ อย่างอื่น เป็ นการเพิ่ม สัมมาปฏิบติ คือการปฏิบติที่ถูกต้องได้เป็ นอย่างดี มุ่งสู่ นิพพานได้อย่างรวดเร็ว ั ั ส่ วนในข้อท้าย ๆ ในอานิสงส์ของธุดงค์ในบางข้อที่กล่าว ว่า ย่ อมได้ รับคุณของการถือ ธุดงค์ มี ความ มักน้ อย อดทน ประหยัด เป็ นต้ น นั้น มีอธิบายเพิ่มว่าอานิสงส์ในข้ออื่น ๆ อีก ก็ เช่ น ( จากหนังสื อ มิลินทปัญหา ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ หน้าที่ 492 ) ๑๒