SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
ความหมายของนิเวศวิทยา

คำาว่า ecology ได้รากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ oikos หมายความถึง "บ้าน" หรือ "ที่
อยู่อาศัย" และ ology หมายถึง "การศึกษา" ecology หรือนิเวศวิทยาจึงเป็นศาสตร์
แขนงหนึ่งว่าด้วยการศึกษาสิ่งมีชีวตใน แหล่งอาศัยและกินความกว้างไปถึงการศึกษา
                                 ิ
ความสัมพันธ

ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ นิเวศวิทยามีความเกี่ยวข้องกับ
สาขาวิชาหลัก 4 สาขาวิชาคือ พันธุศาสตร์ วิวัฒนาการ สรีรวิทยา และพฤติกรรม

ทฤษฎีของ นิเวศวิทยา

นิเวศวิทยามีหลักการของการพัฒนาและทฤษฎี 6 ประการ (Grubb and Whittaker,
2532) สามารถสรุปได้ดังนี้

1. หลักการของมัลธัส (Malthus, 2331) กล่าวว่า ประชากรต้องพบกับขีดจำากัดของ
ประชากร ถ้าไม่ถูกกำาจัดด้วยการล่า โรคภัย หรืออันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัย
สภาพแวดล้อม

2. หลักการของดาร์วิน (Darwin, 2402) กล่าวว่า สิ่งมีชีวตชนิดหนึ่งจะต้องถูกแทนที่
                                                            ิ
ด้วยสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ภายใต้สภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดที่สองนั้นมีการเจริญพันธุ์ที่สูง
กว่าหรือมีี อัตราการตายที่น้อยกว่า

3. หลักการของเกาส์ (Gause, 2477) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปสามารถ
อยู่ร่วมกันได้ก็ต่อเมื่อมีบทบาท หน้าที่และความต้องการที่แตกต่างกันออกไป หรืออยู่
ภายใต้อิทธิพลของการแก่งแย่งระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสูงกว่า การแก่งแย่ง
ระหว่างสิ่งมีชีวิต
ต่างชนิดกัน

4. หลักการของฮัฟเฟเกอร์ (Huffaker, 2501) กล่าวว่า สิ่งมีชีวตที่เป็นเหยื่อและผู้ล่า
                                                            ิ
                                                  ี่
ไม่สามารถที่จะอยู่ร่วมกันได้ตลอดไป ยกเว้นในกรณีที่สิ่งแวดล้อมนั้นไม่สามารถมีความ
สอดคล้องเป็นเนื้อเดียวกัน

5. หลักการของเมย์ (May, 2517) กล่าวว่า ผลของปัจจัยต่างๆ ขึนอยูกับความหนา
                                                          ้    ่
แน่นของประชากร การรักษาเสถียรภาพของขนาดประชากรทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของจำานวนประชากร เป็นวงจร หรือเกิดความผิดปกติ ซึงขึ้นอยูกับระดับความสัมพันธ์ที่
                                                 ่      ่
ไม่เป็นเส้นตรงระหว่างประชากรในวงจร อายุปัจจุบนกับวงจรอายุที่ผานมาหนึ่งช่วง
                                             ั               ่

6. หลักการของลินเดอร์มานน์ (Lindermann, 2485) กล่าวว่า พลังงานที่สามารถนำา
ไปใช้ประโยชน์ได้จะลดลงในแต่ละขั้นของการกินกันเป็นทอดๆ

ระบบนิเวศ



ความหมายของระบบ นิเวศ
ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่ง
                                                  ิ
หนึ่ง มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คำา คือ Oikos แปลว่า บ้าน, ที่อยู่อาศัย Logos
แปลว่า เหตุผล, ความคิด

ความหมายของคำา ต่างๆ ในระบบนิเวศ

-สิ่งมีชีวิต (Organism) หมายถึง สิ่งที่ต้องใช้พลังงานในการดำารงชีวิต ซึงมีลักษณะที่
                                                                       ่
สำาคัญดังนี้
1. ต้องมีการเจริญเติบโต
2. เคลื่อนไหวได้ด้วยพลังงานที่เกิดขึนในร่างกาย
                                    ้
3. สืบพันธุ์ได้
4. สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
5. ประกอบไปด้วยเซลล์
6. มีการหายใจ
7. มีการขับถ่ายของเสีย
8. ต้องกินอาหาร หรือแร่ธาตุตางๆ
                            ่

-ประชากร(Population)หมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยอยู่ใน
แหล่งที่อยู่เดียวกัน ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

-กลุ่มสิ่งมีชีวิต(Community)หมายถึง สิ่งมีชีวตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยู่รวมกัน
                                             ิ
ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวตนันๆ มีความสัมพันธ์กน โดยตรงหรือโดยทาง
                                  ิ ้                   ั
อ้อม

-โลกของสิ่งมีชีวต(Biosphere)หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน
                ิ

-แหล่งที่อยู่(Habitat)หมายถึง บริเวณ หรือสถานที่ที่ใช้สำาหรับผสมพันธุ์วางไข่ เป็น
แหล่งที่อยู่ เช่น บ้าน สระนำ้า ซอกฟัน ลำาไส้เล็ก

-สิ่งแวดล้อม(Environment)หมายถึง สรรพสิ่งที่อยู่รอบตัวเราแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ ได้แก่ มนุษย์ สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวตขนาดเล็ก
                                                             ิ
2. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
-สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ คือ ดิน นำ้า ป่าไม้ อากาศ แสง ฯลฯ
-สิ่งมีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึนได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถานศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม
                            ้
ประเพณี และวัฒนธรรม เป็นต้น
สิ่ง แวดล้อมแต่ละบริเวณจะมีความแตกต่างกันไปตามสภาพภูมศาสตร์ และสภาพภูมิ
                                                               ิ
อากาศทำาให้
มีกลุ่มสิ่งมีชีวต (community) อาศัยอยูในแต่ละบริเวณแตกต่างกันไปด้วย
                ิ                           ่



องค์ประกอบของระบบ นิเวศ
องค์ประกอบภายในระบบนิเวศจะ ประกอบไปด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วนดังนี้

1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ( Abiotic Components )
ได้แก่ ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวต แบ่งออกเป็น
                            ิ
1.1 อนินทรียสาร เช่นคาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซี่ยมนำ้า และออกซิเจน
เป็นต้น สารอนินทรียดังกล่าวเป็นองค์ปะรกอบของเซลสิ่งมีชีวต สารเหล่านี้จะเกี่ยวข้อง
                    ์                                        ิ
กับการหมุนเวียนของแร่ธาตุในวัฏจักร
1.2 อินทรีย์สาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฮิวมัส เป็นต้น สารอินทรีย์เหล่านี้
จำาเป็นต่อชีวต ทำาหน้าที่เป็นตัวเกียวโยง ระหว่างสิ่งมีชีวตและไม่มีชีวิต
             ิ                     ่                     ิ
1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูมิ อากาศ ความเป็นกรดเป็นด่าง
ความเค็ม ความชื้น ที่อยู่อาศัยเป็นต้น

2. องค์ประกอบที่มีชีวต ( Biotic Components )
                         ิ
ได้แก่สิ่งมี ชีวตทุกชนิด สามารถจำาแนกองค์ประกอบที่มีชีวตตามบทบาทหน้าที่ได้ 3
                   ิ                                                ิ
ชนิด ดังนี้
2.1 ผูผลิต ( Producer ) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยวิธการ
         ้                                                                       ี
สังเคราะห์ด้วยแสง ดังนัน สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเป็นผูผลิต คือ พืช แบคทีเรียบางชนิด
                           ้                              ้
ส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีสีเขียว แพลงตอน พืชซึ่งมีรงควัตถุสีเขียว คือคลอโรฟีลล์ไว้คอย
จับพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้เป็นปัจจัยร่วมในการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ระหว่างนำ้ากับ
คาร์บอนไดออกไซด์ ทำาให้เกิดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตขึ้น พืชบางชนิดแม้ว่า
สามารถสร้างอาหารได้ด้วยตนเองแล้ว ยังจับสิ่งมีชีวตอืนมาเป็นอาหารอีก เช่น ว่าน
                                                            ิ ่
กาบหอยแครง หยาดนำ้าค้าง ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น ถึงแม้พืชพวกนี้จะบริโภค
สัตว์เป็นอาหารได้ แต่ก็จดพืชพวกนี้เป็น
                             ั
“ ผูผลิต ”
     ้
2.2 ผูบริโภค ( Consumer ) หมายถึงสิ่งที่มีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่ได้
           ้
รับอาหารจากแหล่งอื่น สิ่งมีชีวตที่มีบทบาทเป็นผูบริโภค คือพวกสัตว์ต่าง ๆ แบ่งได้เป็น
                                 ิ                  ้
3 ประเภท
ก. ผู้บริโภคปฐมภูมิ ( Primary Consumer ) เป็นส่งมีชีวิตที่กนพืชเป็นอาหารอย่าง
                                                                      ิ
เดียว เรียกว่า ผูบริโภคพืช
                     ้
( Herbivores ) เช่น แมลง กระต่าย วัว ควาย ช้าง ม้า ปลาที่กนพืชเล็ก ๆ เป็นต้น
                                                                        ิ
ข. ผูบริโภคทุติยภูมิ ( Secondary Consumer ) เรียกว่าเป็นผูบริโภคสัตว์
       ้                                                                  ้
( Carnivores ) เป็นสิ่งมีชีวตที่กินสัตว์ด้วยกันเป็นอาหารอย่างเดียว เช่น กบ งู ปลากิน
                               ิ
เนื้อ เสือ สุนัขจิ้งจอก นกฮูก นกเค้าแมว จระเข้ สิงโต เป็นต้น
ค. ผู้บริโภคตติยภูมิ ( Tertiary Consumer ) เป็นสิ่งมีชีวตที่กินทั้งสัตว์และพืชเป็น
                                                                  ิ
อาหาร เรียกว่า พวก Omnivore หรือ top carnivore เช่น คน นก ไก่ หมู สุนัข แมว
เป็ด เป็นต้น นอกจากนั้นยังได้แก่สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระดับขันการกินสูงสุด ซึงหมายถึง
                                                                ้             ่
สัตว์ที่ไม่ถกกิน โดยสัตว์อื่น ๆ ต่อไป เป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับสุดท้ายของการถูกกินเป็น
                 ู
อาหาร ซึงได้แก่มนุษย์
               ่
2.3 ผูย่อยสลาย ( Decomposer ) หมายถึงสิ่งมีชีวตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง
             ้                                          ิ
แต่จะได้อาหารจากการผลิตเอนไซม์ออกมา ย่อยสลายซาก ของสิ่งมีชีวต ของเสีย       ิ
กากอาหาร ให้เป็นสารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กลง แล้วจึงดูดซึมไปใช้เป็นอาหารบางส่วน
ส่วนที่เหลือ ปลดปล่อยออกไป สู่ระบบนิเวศ ซึงผู้ผลิตจะสามารถเอาไปใช้สร้างอาหาร
                                               ่
ต่อไป สิ่งมีชีวิตที่มบทบาทเป็นผูย่อยสลายส่วนใหญ่ได้แก่ พวกแบคทีเรีย เห็ด และรา
                       ี           ้
จึงนับว่าในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ ผู้ย่อยสลายเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้สารอาหารหมุนเวียน
เป็นวัฏจักรได้



ปั จจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อระบบนิ เวศ
1. แสง
       ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะ
ออกหากินเวลากลางวันแต่ก็มีสัตว์อีกหลายชนิ ดท่ีออกหากินเวลา กลางคืนเช่น
ค้างคาว นกฮูก เป็ นต้น
2. อุณหภูมิ
        ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิ ดจะดำารงชีวิตอยู่ได้ในอุณหภูมิประมาณ 10 – 30 องศา
เซลเซียส ในท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูงมากหรืออุณหภูมิตำ่ามากจะมีส่ิงมี ชีวิตอาศัยอยู่น้อยทัง
                                                                                   ้
ชนิ ดและจำานวน หรืออาจไม่มีส่ิงมีชีวิตอยู่ได้เลย เช่น แถบขัวโลก และบริเวณทะเล
                                                              ้
ทราย ในแหล่งนำ ้ าท่ีอุณหภูมิไม่ค่อยเปล่ียนแปลง
        แต่ส่ิงมีชีวิตก็มีการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืชหลายชนิ ด ต้องพัก
ตัวหรือจำาศีล เพ่ ือหลีกเล่ียงการเปล่ียนแปลงดังกล่าว สัตว์ประเภทอพยพไปสู่ถ่ินใหม่
ท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสมเป็ นการชัวคราวในบง ฤดู เช่น นกนางแอ่นอพยพจากประเทศจีน
                                  ่
มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายน
ทุกปี
4
ส่ิงมีชีวิตจะมีรูปร่างลักษณะหรือสีท่ีสัมพันธ์กับอุณหภูมิของแหล่งท่ีอยู่ เฉพาะแตกต่าง
กันไปด้วย เช่น สุนัข ในประเทศท่ีมีอากาศหนาว จะเป็ นพันธ์ท่ีมีขนยาวปุกปุย แต่ใน
                                                                     ุ
แถบร้อนจะเป็ นพันธ์ุขนเกรียน ต้นไม้ เมืองหนาวก็มความเฉพาะ เช่น ป่ าสน จะอยู่ใน
                                                          ี
เขตหนาวแตกต่างจากพืชในป่ าดิบช้ืนในเขตร้อน
3. แร่ธาตุ
          แร่ธาตุต่างๆ จะมีอยู่ในอากาศท่ีห่อหุ้มโลก อย่ในดินและละลายอยู่ในนำ ้ า แร่
                                                        ู
ธาตุท่ีสำาคัญ ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่
ธาตุ อ่ ืนๆ เป็ นส่ิงจำาเป็ นท่ทุกชีวิตต้องการในกระบวนการดำารงชีพ แต่ส่ิงมีชีวิตแต่ละ
                               ี
ชนิ ดต้องการแร่ธาตุเหล่านี้ในปริมาณท่ีแตกต่างกัน และ ระบบนิ เวศแต่ละระบบจะมีแร่
ธาตุตางๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณท่ีแตกต่างกัน
        ่
4. ความช้ืน
          ความช้นในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคของโลกและยังเปล่ียน
                 ื
เแปลงไปตามฤดูกาล ความช้ืนมีผลต่อการระเหยของนำ ้ าออกจากร่างกายของส่ิงมี ชีวิต
 ทำาให้จำากัดชนิ ดและการกระจายของส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ด้วย ในเขตร้อนจะมี
ความช้นสูง เน่ องจากมีฝนตกชุกและสมำ่าเสมอ และจะมีความ อุดมสมบูรณ์ จึงมีความ
          ื        ื
หลากหลายของชนิ ดและปริมาณของส่ิงมีชีวิตมากกว่าใน เขตอบอุ่นหรือเขตหนาว
ความสัมพันระหว่างส่ิงมีชีวิต
1. ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม
            ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมในระบบนิ เวศ แบ่งออกได้เป็ น ๒
ลักษณะ คือ
1. เป็ นความผูกพัน พ่ ึงพากัน หรือส่งผลต่อกันระหว่างส่ิงมีชีวิตด้วยกันเอง
2. เป็ นความเก่ียวข้องสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตท่ีแวดล้อม มันอยู่
ซ่ึงลักษณะความสัมพันธ์ทัง 2 ประการนี้ จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน และมีอยู่ในทุก
                                       ้
ระบบนิ เวศและความสำาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ ส่ิงแวดล้อมก็คือ การ
ถ่ายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารซ่ึงเป็ นความสัมพันธ์ท่ีเป็ นไปตาม กฎเกณฑ์
อย่างมีระเบียบภายในระบบ ทำาให้ระบบอยู่ในภาวะท่ีสมดุลนั ้นคือ การดำารงชีวิตของส่ิง
มีชีวิตจะได้พลังงานโดยตรงมาจากดวงอาทิตย์ซ่ึงพลังงาน จากดวงอาทิตย์จะถูกตรึงไว้
ในชีวบริเวณด้วยขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชสี เขียว ทำาให้มีการเจริญเติบโตและ
เป็ นอาหารให้กับสัตว์ ขณะเดียวกันตลอดระยะเวลาของการเติบโตของพืชสีเขียว มันก็
จะปล่อยก๊าซออกซิเจนท่ีเป็ นประโยชน์ต่อกระบวนการหายใจของพืชและสัตว์ น่คือ               ี
ตัวอย่างของการถ่ายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารระหว่างส่ิงมีชีวิต กับส่ิง
แวดล้อมในระบบนิ เวศ
2. ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตต่างชนิ ดกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตต่างชนิ ดกัน เป็ นความสัมพันธ์ท่ีเกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ
ดังนี้
               1. ภาวะการเป็ นผู้อาศัย เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ดท่ีอาศัยอยู่
ร่วมกันฝ่ ายผู้อาศัยเป็ นผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ท่ีให้อาศัยเป็ นผู้เสียประโยชน์ เช่น ต้นกาฝาก
ซ่ึงเกิดบนต้นไม้ใหญ่ มีรากพิเศษท่ีเจาะลงไปยังท่อนำ ้ าและท่ออาหารของต้นไม้เพ่ ือดูด
นำ ้ าและธาตุ อาหารหรือสัตว์ประเภทหมัด เรือด เห็บ ปลิง ทาก เหา ไร เป็ นต้น
      2. การล่าเหย่ ือ เป็ นการอย่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีชีวิตหน่ ึงต้องตกเป็ นอาหารของอีก
                                  ู
ชีวิต หน่ ง เช่น กวางเป็ นอาหารของสัตว์ ปลาเป็ นอาหารของมนุษย์ ซ่ึงส่ิงมีชีวิตล่าชีวิต
           ึ
อ่ ืนเป็ นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า และชีวิตทีต้องตกเป็ นอาหารนั ้น เรียกว่า เหย่ ือ
      3. การได้ประโยชน์ร่วมกัน เป็ นการอย่ร่วมกันระหว่างส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีต่างฝ่ ายต่าง
                                             ู
ได้รับประโยชน์กันและกัน แต่ไม่จำาเป็ นต้องอยู่ด้วยกันตลอดเวลา นั่ นคือบางครังอาจอยู่ ้
ด้วยกัน บางครังก็อาจแยกใช้ชีวิตอยู่ตามลำาพังได้ เช่น นกเอียงกับ*** การ
                   ้                                                ้

5
ท่ีนกเอียงเกาะอย่บนหลัง***นั ้นมันจะจิกกินเห็บให้กับ*** ขณะเดียวกันก็จะส่งเสียง
         ้          ู
เตือนภัยให้กับความเม่ ือมีศัตรูมาทำาอันตราย***
    4. ภาวะแห่งการเก้ือฉั นล เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีฝ่ายหน่ ึงได้
ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ ายไม่เสียประโยชน์ แต่ก็ไม่ได้ประโยชน์อย่างเช่น กล้วยไม้ป่า ท่ีเกาะ
อยู่ตามเปลือกของต้นไม้ใหญ่ในป่ า อาศัยความช้ืนและธาตุอาหารจากเปลือกไม้ แต่ก็ไม่
ได้ชอนไชรากเข้าไปทำาอันตรายกับลำาต้นของต้นไม้ ต้นไม้จึงไม่เสียผลประโยชน์ แต่ก็ไม่
ได้ประโยชน์จากการเกาะของกล้วยไม้นั้น
    5. ภาวะท่ีต้องพ่ ึงพากันและกัน เป็ นการอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีไม่สามารถ
มีชีวิตอยู่ได้ ถ้าแยกจากกัน เช่นไลเคน ซ่ึงประกอบด้วยราและสาหร่าย สาหร่ายนั ้น
สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่ต้องอาศัยความช้ืนจากราและราก็ได้อาหารจากสาหร่าย
   6. ภาวะของการสร้างสารปฎิชีวนะ เป็ นการอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีฝ่ายหน่ ึงไม่ได้รับ
ประโยชน์ แต่อีกฝ่ ายหน่งต้องเสียประโยชน์เกิดขึ้นเน่ ือง
                           ึ
  7. ภาวะการกีดกัน เป็ นภาวะท่ีการดำารงอยู่ของส่ิงมีชีวิต ไปมีผลต่อการอยู่รอดของส่ิง
มีชีวิตอีกชนิ ดหน่ ึง เช่น ต้นไม้ใหญ่บังแสงไม่ให้ส่องถึงไม้เล็กท่ีอยู่ข้างล่าง ทำาให้ไม้เล็ก
ไม่อาจเติบโตได้
  8. ภาวะของการแข่งขัน เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชีวิต ซ่ ึงอาจเป็ นชนิ ด
เดียวกันหรือต่างชนิ ดกัน ท่ีมความต้องการท่ีอยู่อาศัยหรืออาหารอย่างเดียวกันในการ
                                 ี
ดำารงชีวิตและ ปั จจัยดังกล่าวนั ้นมีจำากัด
  9. ภาวะการเป็ นกลาง เป็ นการอย่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต ๒ ชีวิตใน ชุมชนเดียวกันแต่
                                      ู
ต่างดำารงชีวิตเป็ นอิสระแก่กนโดยไม่ให้และไม่เสียประโยชน์ ต่อกัน
                               ั
 10. ภาวะการย่อยสลาย เป็ นการดำารงชีวิตของพวกเห็ดรา บัคเตรีท่ีมีชีวิตอยู่ด้วยการ
หลังสารเอนไซม์ออกมานอกร่างกาย เพ่ ือย่อยซากส่ิงมีชีวิตให้เป็ นรูปของเหลว แล้วดูด
    ่
ซึมเข้าสู่ร่างกาย ในรูปของเหลว

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
yangclang22
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
dnavaroj
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
Wichai Likitponrak
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Bally Achimar
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 

La actualidad más candente (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Destacado

นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
Jaratpong Moonjai
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
krudararad
 
ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวด
benandboy
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
maleela
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
krupornpana55
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
supreechafkk
 

Destacado (20)

นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวด
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Biome of the world
Biome of the worldBiome of the world
Biome of the world
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 

Similar a ความหมายของนิเวศวิทยา

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
N'apple Naja
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Kru NoOk
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
พัน พัน
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
Subaidah Yunuh
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
crunui
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Saran Srimee
 

Similar a ความหมายของนิเวศวิทยา (20)

ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 

Más de weerabong

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
weerabong
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
weerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
weerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
weerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
weerabong
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
weerabong
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
weerabong
 

Más de weerabong (11)

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
Globalworming
GlobalwormingGlobalworming
Globalworming
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 

ความหมายของนิเวศวิทยา

  • 1. ความหมายของนิเวศวิทยา คำาว่า ecology ได้รากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ oikos หมายความถึง "บ้าน" หรือ "ที่ อยู่อาศัย" และ ology หมายถึง "การศึกษา" ecology หรือนิเวศวิทยาจึงเป็นศาสตร์ แขนงหนึ่งว่าด้วยการศึกษาสิ่งมีชีวตใน แหล่งอาศัยและกินความกว้างไปถึงการศึกษา ิ ความสัมพันธ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ นิเวศวิทยามีความเกี่ยวข้องกับ สาขาวิชาหลัก 4 สาขาวิชาคือ พันธุศาสตร์ วิวัฒนาการ สรีรวิทยา และพฤติกรรม ทฤษฎีของ นิเวศวิทยา นิเวศวิทยามีหลักการของการพัฒนาและทฤษฎี 6 ประการ (Grubb and Whittaker, 2532) สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. หลักการของมัลธัส (Malthus, 2331) กล่าวว่า ประชากรต้องพบกับขีดจำากัดของ ประชากร ถ้าไม่ถูกกำาจัดด้วยการล่า โรคภัย หรืออันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัย สภาพแวดล้อม 2. หลักการของดาร์วิน (Darwin, 2402) กล่าวว่า สิ่งมีชีวตชนิดหนึ่งจะต้องถูกแทนที่ ิ ด้วยสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ภายใต้สภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดที่สองนั้นมีการเจริญพันธุ์ที่สูง กว่าหรือมีี อัตราการตายที่น้อยกว่า 3. หลักการของเกาส์ (Gause, 2477) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปสามารถ อยู่ร่วมกันได้ก็ต่อเมื่อมีบทบาท หน้าที่และความต้องการที่แตกต่างกันออกไป หรืออยู่ ภายใต้อิทธิพลของการแก่งแย่งระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสูงกว่า การแก่งแย่ง ระหว่างสิ่งมีชีวิต ต่างชนิดกัน 4. หลักการของฮัฟเฟเกอร์ (Huffaker, 2501) กล่าวว่า สิ่งมีชีวตที่เป็นเหยื่อและผู้ล่า ิ ี่ ไม่สามารถที่จะอยู่ร่วมกันได้ตลอดไป ยกเว้นในกรณีที่สิ่งแวดล้อมนั้นไม่สามารถมีความ สอดคล้องเป็นเนื้อเดียวกัน 5. หลักการของเมย์ (May, 2517) กล่าวว่า ผลของปัจจัยต่างๆ ขึนอยูกับความหนา ้ ่ แน่นของประชากร การรักษาเสถียรภาพของขนาดประชากรทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของจำานวนประชากร เป็นวงจร หรือเกิดความผิดปกติ ซึงขึ้นอยูกับระดับความสัมพันธ์ที่ ่ ่ ไม่เป็นเส้นตรงระหว่างประชากรในวงจร อายุปัจจุบนกับวงจรอายุที่ผานมาหนึ่งช่วง ั ่ 6. หลักการของลินเดอร์มานน์ (Lindermann, 2485) กล่าวว่า พลังงานที่สามารถนำา ไปใช้ประโยชน์ได้จะลดลงในแต่ละขั้นของการกินกันเป็นทอดๆ ระบบนิเวศ ความหมายของระบบ นิเวศ
  • 2. ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่ง ิ หนึ่ง มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คำา คือ Oikos แปลว่า บ้าน, ที่อยู่อาศัย Logos แปลว่า เหตุผล, ความคิด ความหมายของคำา ต่างๆ ในระบบนิเวศ -สิ่งมีชีวิต (Organism) หมายถึง สิ่งที่ต้องใช้พลังงานในการดำารงชีวิต ซึงมีลักษณะที่ ่ สำาคัญดังนี้ 1. ต้องมีการเจริญเติบโต 2. เคลื่อนไหวได้ด้วยพลังงานที่เกิดขึนในร่างกาย ้ 3. สืบพันธุ์ได้ 4. สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม 5. ประกอบไปด้วยเซลล์ 6. มีการหายใจ 7. มีการขับถ่ายของเสีย 8. ต้องกินอาหาร หรือแร่ธาตุตางๆ ่ -ประชากร(Population)หมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยอยู่ใน แหล่งที่อยู่เดียวกัน ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง -กลุ่มสิ่งมีชีวิต(Community)หมายถึง สิ่งมีชีวตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยู่รวมกัน ิ ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวตนันๆ มีความสัมพันธ์กน โดยตรงหรือโดยทาง ิ ้ ั อ้อม -โลกของสิ่งมีชีวต(Biosphere)หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน ิ -แหล่งที่อยู่(Habitat)หมายถึง บริเวณ หรือสถานที่ที่ใช้สำาหรับผสมพันธุ์วางไข่ เป็น แหล่งที่อยู่ เช่น บ้าน สระนำ้า ซอกฟัน ลำาไส้เล็ก -สิ่งแวดล้อม(Environment)หมายถึง สรรพสิ่งที่อยู่รอบตัวเราแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ ได้แก่ มนุษย์ สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวตขนาดเล็ก ิ 2. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท -สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ คือ ดิน นำ้า ป่าไม้ อากาศ แสง ฯลฯ -สิ่งมีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึนได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถานศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม ้ ประเพณี และวัฒนธรรม เป็นต้น สิ่ง แวดล้อมแต่ละบริเวณจะมีความแตกต่างกันไปตามสภาพภูมศาสตร์ และสภาพภูมิ ิ อากาศทำาให้ มีกลุ่มสิ่งมีชีวต (community) อาศัยอยูในแต่ละบริเวณแตกต่างกันไปด้วย ิ ่ องค์ประกอบของระบบ นิเวศ องค์ประกอบภายในระบบนิเวศจะ ประกอบไปด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วนดังนี้ 1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ( Abiotic Components ) ได้แก่ ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวต แบ่งออกเป็น ิ 1.1 อนินทรียสาร เช่นคาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซี่ยมนำ้า และออกซิเจน
  • 3. เป็นต้น สารอนินทรียดังกล่าวเป็นองค์ปะรกอบของเซลสิ่งมีชีวต สารเหล่านี้จะเกี่ยวข้อง ์ ิ กับการหมุนเวียนของแร่ธาตุในวัฏจักร 1.2 อินทรีย์สาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฮิวมัส เป็นต้น สารอินทรีย์เหล่านี้ จำาเป็นต่อชีวต ทำาหน้าที่เป็นตัวเกียวโยง ระหว่างสิ่งมีชีวตและไม่มีชีวิต ิ ่ ิ 1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูมิ อากาศ ความเป็นกรดเป็นด่าง ความเค็ม ความชื้น ที่อยู่อาศัยเป็นต้น 2. องค์ประกอบที่มีชีวต ( Biotic Components ) ิ ได้แก่สิ่งมี ชีวตทุกชนิด สามารถจำาแนกองค์ประกอบที่มีชีวตตามบทบาทหน้าที่ได้ 3 ิ ิ ชนิด ดังนี้ 2.1 ผูผลิต ( Producer ) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยวิธการ ้ ี สังเคราะห์ด้วยแสง ดังนัน สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเป็นผูผลิต คือ พืช แบคทีเรียบางชนิด ้ ้ ส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีสีเขียว แพลงตอน พืชซึ่งมีรงควัตถุสีเขียว คือคลอโรฟีลล์ไว้คอย จับพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้เป็นปัจจัยร่วมในการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ระหว่างนำ้ากับ คาร์บอนไดออกไซด์ ทำาให้เกิดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตขึ้น พืชบางชนิดแม้ว่า สามารถสร้างอาหารได้ด้วยตนเองแล้ว ยังจับสิ่งมีชีวตอืนมาเป็นอาหารอีก เช่น ว่าน ิ ่ กาบหอยแครง หยาดนำ้าค้าง ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น ถึงแม้พืชพวกนี้จะบริโภค สัตว์เป็นอาหารได้ แต่ก็จดพืชพวกนี้เป็น ั “ ผูผลิต ” ้ 2.2 ผูบริโภค ( Consumer ) หมายถึงสิ่งที่มีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่ได้ ้ รับอาหารจากแหล่งอื่น สิ่งมีชีวตที่มีบทบาทเป็นผูบริโภค คือพวกสัตว์ต่าง ๆ แบ่งได้เป็น ิ ้ 3 ประเภท ก. ผู้บริโภคปฐมภูมิ ( Primary Consumer ) เป็นส่งมีชีวิตที่กนพืชเป็นอาหารอย่าง ิ เดียว เรียกว่า ผูบริโภคพืช ้ ( Herbivores ) เช่น แมลง กระต่าย วัว ควาย ช้าง ม้า ปลาที่กนพืชเล็ก ๆ เป็นต้น ิ ข. ผูบริโภคทุติยภูมิ ( Secondary Consumer ) เรียกว่าเป็นผูบริโภคสัตว์ ้ ้ ( Carnivores ) เป็นสิ่งมีชีวตที่กินสัตว์ด้วยกันเป็นอาหารอย่างเดียว เช่น กบ งู ปลากิน ิ เนื้อ เสือ สุนัขจิ้งจอก นกฮูก นกเค้าแมว จระเข้ สิงโต เป็นต้น ค. ผู้บริโภคตติยภูมิ ( Tertiary Consumer ) เป็นสิ่งมีชีวตที่กินทั้งสัตว์และพืชเป็น ิ อาหาร เรียกว่า พวก Omnivore หรือ top carnivore เช่น คน นก ไก่ หมู สุนัข แมว เป็ด เป็นต้น นอกจากนั้นยังได้แก่สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระดับขันการกินสูงสุด ซึงหมายถึง ้ ่ สัตว์ที่ไม่ถกกิน โดยสัตว์อื่น ๆ ต่อไป เป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับสุดท้ายของการถูกกินเป็น ู อาหาร ซึงได้แก่มนุษย์ ่ 2.3 ผูย่อยสลาย ( Decomposer ) หมายถึงสิ่งมีชีวตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ้ ิ แต่จะได้อาหารจากการผลิตเอนไซม์ออกมา ย่อยสลายซาก ของสิ่งมีชีวต ของเสีย ิ กากอาหาร ให้เป็นสารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กลง แล้วจึงดูดซึมไปใช้เป็นอาหารบางส่วน ส่วนที่เหลือ ปลดปล่อยออกไป สู่ระบบนิเวศ ซึงผู้ผลิตจะสามารถเอาไปใช้สร้างอาหาร ่ ต่อไป สิ่งมีชีวิตที่มบทบาทเป็นผูย่อยสลายส่วนใหญ่ได้แก่ พวกแบคทีเรีย เห็ด และรา ี ้ จึงนับว่าในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ ผู้ย่อยสลายเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้สารอาหารหมุนเวียน เป็นวัฏจักรได้ ปั จจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อระบบนิ เวศ 1. แสง ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะ
  • 4. ออกหากินเวลากลางวันแต่ก็มีสัตว์อีกหลายชนิ ดท่ีออกหากินเวลา กลางคืนเช่น ค้างคาว นกฮูก เป็ นต้น 2. อุณหภูมิ ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิ ดจะดำารงชีวิตอยู่ได้ในอุณหภูมิประมาณ 10 – 30 องศา เซลเซียส ในท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูงมากหรืออุณหภูมิตำ่ามากจะมีส่ิงมี ชีวิตอาศัยอยู่น้อยทัง ้ ชนิ ดและจำานวน หรืออาจไม่มีส่ิงมีชีวิตอยู่ได้เลย เช่น แถบขัวโลก และบริเวณทะเล ้ ทราย ในแหล่งนำ ้ าท่ีอุณหภูมิไม่ค่อยเปล่ียนแปลง แต่ส่ิงมีชีวิตก็มีการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืชหลายชนิ ด ต้องพัก ตัวหรือจำาศีล เพ่ ือหลีกเล่ียงการเปล่ียนแปลงดังกล่าว สัตว์ประเภทอพยพไปสู่ถ่ินใหม่ ท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสมเป็ นการชัวคราวในบง ฤดู เช่น นกนางแอ่นอพยพจากประเทศจีน ่ มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายน ทุกปี 4 ส่ิงมีชีวิตจะมีรูปร่างลักษณะหรือสีท่ีสัมพันธ์กับอุณหภูมิของแหล่งท่ีอยู่ เฉพาะแตกต่าง กันไปด้วย เช่น สุนัข ในประเทศท่ีมีอากาศหนาว จะเป็ นพันธ์ท่ีมีขนยาวปุกปุย แต่ใน ุ แถบร้อนจะเป็ นพันธ์ุขนเกรียน ต้นไม้ เมืองหนาวก็มความเฉพาะ เช่น ป่ าสน จะอยู่ใน ี เขตหนาวแตกต่างจากพืชในป่ าดิบช้ืนในเขตร้อน 3. แร่ธาตุ แร่ธาตุต่างๆ จะมีอยู่ในอากาศท่ีห่อหุ้มโลก อย่ในดินและละลายอยู่ในนำ ้ า แร่ ู ธาตุท่ีสำาคัญ ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ ธาตุ อ่ ืนๆ เป็ นส่ิงจำาเป็ นท่ทุกชีวิตต้องการในกระบวนการดำารงชีพ แต่ส่ิงมีชีวิตแต่ละ ี ชนิ ดต้องการแร่ธาตุเหล่านี้ในปริมาณท่ีแตกต่างกัน และ ระบบนิ เวศแต่ละระบบจะมีแร่ ธาตุตางๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณท่ีแตกต่างกัน ่ 4. ความช้ืน ความช้นในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคของโลกและยังเปล่ียน ื เแปลงไปตามฤดูกาล ความช้ืนมีผลต่อการระเหยของนำ ้ าออกจากร่างกายของส่ิงมี ชีวิต ทำาให้จำากัดชนิ ดและการกระจายของส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ด้วย ในเขตร้อนจะมี ความช้นสูง เน่ องจากมีฝนตกชุกและสมำ่าเสมอ และจะมีความ อุดมสมบูรณ์ จึงมีความ ื ื หลากหลายของชนิ ดและปริมาณของส่ิงมีชีวิตมากกว่าใน เขตอบอุ่นหรือเขตหนาว ความสัมพันระหว่างส่ิงมีชีวิต 1. ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมในระบบนิ เวศ แบ่งออกได้เป็ น ๒ ลักษณะ คือ 1. เป็ นความผูกพัน พ่ ึงพากัน หรือส่งผลต่อกันระหว่างส่ิงมีชีวิตด้วยกันเอง 2. เป็ นความเก่ียวข้องสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตท่ีแวดล้อม มันอยู่
  • 5. ซ่ึงลักษณะความสัมพันธ์ทัง 2 ประการนี้ จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน และมีอยู่ในทุก ้ ระบบนิ เวศและความสำาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ ส่ิงแวดล้อมก็คือ การ ถ่ายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารซ่ึงเป็ นความสัมพันธ์ท่ีเป็ นไปตาม กฎเกณฑ์ อย่างมีระเบียบภายในระบบ ทำาให้ระบบอยู่ในภาวะท่ีสมดุลนั ้นคือ การดำารงชีวิตของส่ิง มีชีวิตจะได้พลังงานโดยตรงมาจากดวงอาทิตย์ซ่ึงพลังงาน จากดวงอาทิตย์จะถูกตรึงไว้ ในชีวบริเวณด้วยขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชสี เขียว ทำาให้มีการเจริญเติบโตและ เป็ นอาหารให้กับสัตว์ ขณะเดียวกันตลอดระยะเวลาของการเติบโตของพืชสีเขียว มันก็ จะปล่อยก๊าซออกซิเจนท่ีเป็ นประโยชน์ต่อกระบวนการหายใจของพืชและสัตว์ น่คือ ี ตัวอย่างของการถ่ายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารระหว่างส่ิงมีชีวิต กับส่ิง แวดล้อมในระบบนิ เวศ 2. ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตต่างชนิ ดกัน ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตต่างชนิ ดกัน เป็ นความสัมพันธ์ท่ีเกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1. ภาวะการเป็ นผู้อาศัย เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ดท่ีอาศัยอยู่ ร่วมกันฝ่ ายผู้อาศัยเป็ นผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ท่ีให้อาศัยเป็ นผู้เสียประโยชน์ เช่น ต้นกาฝาก ซ่ึงเกิดบนต้นไม้ใหญ่ มีรากพิเศษท่ีเจาะลงไปยังท่อนำ ้ าและท่ออาหารของต้นไม้เพ่ ือดูด นำ ้ าและธาตุ อาหารหรือสัตว์ประเภทหมัด เรือด เห็บ ปลิง ทาก เหา ไร เป็ นต้น 2. การล่าเหย่ ือ เป็ นการอย่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีชีวิตหน่ ึงต้องตกเป็ นอาหารของอีก ู ชีวิต หน่ ง เช่น กวางเป็ นอาหารของสัตว์ ปลาเป็ นอาหารของมนุษย์ ซ่ึงส่ิงมีชีวิตล่าชีวิต ึ อ่ ืนเป็ นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า และชีวิตทีต้องตกเป็ นอาหารนั ้น เรียกว่า เหย่ ือ 3. การได้ประโยชน์ร่วมกัน เป็ นการอย่ร่วมกันระหว่างส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีต่างฝ่ ายต่าง ู ได้รับประโยชน์กันและกัน แต่ไม่จำาเป็ นต้องอยู่ด้วยกันตลอดเวลา นั่ นคือบางครังอาจอยู่ ้ ด้วยกัน บางครังก็อาจแยกใช้ชีวิตอยู่ตามลำาพังได้ เช่น นกเอียงกับ*** การ ้ ้ 5 ท่ีนกเอียงเกาะอย่บนหลัง***นั ้นมันจะจิกกินเห็บให้กับ*** ขณะเดียวกันก็จะส่งเสียง ้ ู เตือนภัยให้กับความเม่ ือมีศัตรูมาทำาอันตราย*** 4. ภาวะแห่งการเก้ือฉั นล เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีฝ่ายหน่ ึงได้ ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ ายไม่เสียประโยชน์ แต่ก็ไม่ได้ประโยชน์อย่างเช่น กล้วยไม้ป่า ท่ีเกาะ อยู่ตามเปลือกของต้นไม้ใหญ่ในป่ า อาศัยความช้ืนและธาตุอาหารจากเปลือกไม้ แต่ก็ไม่ ได้ชอนไชรากเข้าไปทำาอันตรายกับลำาต้นของต้นไม้ ต้นไม้จึงไม่เสียผลประโยชน์ แต่ก็ไม่ ได้ประโยชน์จากการเกาะของกล้วยไม้นั้น 5. ภาวะท่ีต้องพ่ ึงพากันและกัน เป็ นการอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิ ด ท่ีไม่สามารถ มีชีวิตอยู่ได้ ถ้าแยกจากกัน เช่นไลเคน ซ่ึงประกอบด้วยราและสาหร่าย สาหร่ายนั ้น สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่ต้องอาศัยความช้ืนจากราและราก็ได้อาหารจากสาหร่าย 6. ภาวะของการสร้างสารปฎิชีวนะ เป็ นการอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีฝ่ายหน่ ึงไม่ได้รับ
  • 6. ประโยชน์ แต่อีกฝ่ ายหน่งต้องเสียประโยชน์เกิดขึ้นเน่ ือง ึ 7. ภาวะการกีดกัน เป็ นภาวะท่ีการดำารงอยู่ของส่ิงมีชีวิต ไปมีผลต่อการอยู่รอดของส่ิง มีชีวิตอีกชนิ ดหน่ ึง เช่น ต้นไม้ใหญ่บังแสงไม่ให้ส่องถึงไม้เล็กท่ีอยู่ข้างล่าง ทำาให้ไม้เล็ก ไม่อาจเติบโตได้ 8. ภาวะของการแข่งขัน เป็ นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ๒ ชีวิต ซ่ ึงอาจเป็ นชนิ ด เดียวกันหรือต่างชนิ ดกัน ท่ีมความต้องการท่ีอยู่อาศัยหรืออาหารอย่างเดียวกันในการ ี ดำารงชีวิตและ ปั จจัยดังกล่าวนั ้นมีจำากัด 9. ภาวะการเป็ นกลาง เป็ นการอย่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต ๒ ชีวิตใน ชุมชนเดียวกันแต่ ู ต่างดำารงชีวิตเป็ นอิสระแก่กนโดยไม่ให้และไม่เสียประโยชน์ ต่อกัน ั 10. ภาวะการย่อยสลาย เป็ นการดำารงชีวิตของพวกเห็ดรา บัคเตรีท่ีมีชีวิตอยู่ด้วยการ หลังสารเอนไซม์ออกมานอกร่างกาย เพ่ ือย่อยซากส่ิงมีชีวิตให้เป็ นรูปของเหลว แล้วดูด ่ ซึมเข้าสู่ร่างกาย ในรูปของเหลว