SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 92
PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การสร้างและพัฒนาเครือข่าย  ภาคการผลิตทางการเกษตร โดย  ภาณี บุณยเกื้อกูล กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร ส่วนพัฒนาองค์กรเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร
สภาวะคุกคามต่างประเทศ  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
กระบวนทัศน์การพัฒนาประเทศ  ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก ปัจจัยทุนและการลงทุน ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ที่มา  : สุวิชา มิ่งขวัญ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ประเทศด้อยพัฒนา ,[object Object],[object Object],ประเทศกำลังพัฒนา ,[object Object],[object Object],[object Object],ประเทศพัฒนาเต็มที่ ,[object Object],[object Object]
5  ยุทธศาสตร์ของแผนฯ  10 ใช้กระบวนการ พัฒนาคลัสเตอร์ เป็นแนวทางสำคัญ ในการเพิ่มผลิตภาพ ภาคการผลิต PANEE ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลย์และแข่งขันได้ในช่วงศตวรรษแห่งเอเชีย พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรฯและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารจัดการประเทศสู่ความยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ของประเทศกับการพัฒนาเครือข่าย PANEE ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ( คลัสเตอร์ ) เป็นกลไกและยุทธศาสตร์ ของการขับเคลื่อนขีดความามารถการแข่งขัน และเศรษฐกิจของประเทศ
กำหนดให้กระบวนการพัฒนาคลัสเตอร์และห่วงโซ่ อุปทานสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพภาคการผลิตตาม แนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 10 PANEE ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
PANEE ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เป้าหมายพัฒนาคลัสเตอร์ การพัฒนาคลัสเตอร์ จะไม่มีประโยชน์เลย  ถ้าหากไม่ได้ มุ่งพัฒนาเพื่อเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันโดยรวม  (Competitiveness)  ของ  Cluster  นั้น  ซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตของธุรกิจอย่างมั่นคง
คลัสเตอร์เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ เศรษฐกิจของประเทศอยู่ในระดับที่แข่งขันได้ เป้าหมายคลัสเตอร์ ที่มา  :  สุวิชชา มิ่งขวัญ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ที่มา  :   คุณสุวิชา มิ่งขวัญ ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ผลิตภาพรวม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขัน เครือข่ายที่เข้มแข็ง จุดเริ่มต้นการพัฒนา
เครือข่ายภาคการเกษตร ในงานส่งเสริมการเกษตร PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการพัฒนาเครือข่ายภาคการเกษตร การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายการเกษตรเป็นภารกิจหนึ่งของงานส่งเสริมการเกษตร โดยมีเป้าหมาย  2  มิติ มิติด้านองค์กร   เป็นเครื่องมือส่งผ่านและสร้างองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและการจัดการการเกษตรแก่เกษตรกร มิติด้านเกษตรกร  มุ่งเน้นให้เกษตรกรใช้กลไกความร่วมมือเพื่อสร้างความสามารถในการจัดการการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ลักษณะเครือข่ายการเกษตรที่กรมดำเนินการอยู่ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / กิจกรรมของเกษตรกร เครือข่ายเชื่อมโยงการตลาดระหว่างเกษตรกรกับคู่ค้า เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตการเกษตร
เครือข่ายระดับอำเภอ ภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร  ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หลักการของการจัดกิจกรรมเครือข่าย   PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
จัดกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้าง องค์ความรู้สินค้าเกษตรปลอดภัยของชุมชน เริ่มจาก สร้างองค์ความรู้ของกลุ่ม  จากสภาวะปัญหาการผลิต มากำหนดเป็นประเด็นร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ สร้างช่องทางการพัฒนาองค์ความรู้ผ่านเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้ ทบทวนผลการจำแนกพื้นที่ วิเคระห์ประเด็นเสี่ยง / เทียบค่าเป้าหมาย เกษตรกรเป้าหมาย แยกเป็นกลุ่ม ประเมินผลการเรียนรู้เทียบ ค่าเป้าหมาย กลุ่มร่วมกำหนดประเด็น เรียนรู้ แผนการเรียนรู้ ภารกิจสมาชิก ในกระบวนการเรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม ดำเนินการตามแผน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การจัด กระบวนการกลุ่ม ก่อนเข้าเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้
4 Networking Forum*  เวทีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ เพื่อแลกเปลี่ยนและสรุปบทเรียนการพัฒนาและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการผลิตร่วมกัน   3  Best Practice   ในการผลิตที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ของแต่ละกลุ่ม 2 Learning/Aciton Process ดำเนินการพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้เที่เหมาะสมในกลุ่ม / ระหว่างกลุ่ม 1  Benchmarking  วิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาการผลิตและการจัดการผลผลิตจัดทำค่าเปรียบเทียบต้นแบบ สร้างองค์ความรู้การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของชุมชน เป้าหมายเพื่อ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร กระบวนการของกลุ่ม กระบวนการของเครือข่าย
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร แบบที่  1  แกนนำของกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีภายใต้โครงการฯ  ซึ่งมาจากตัวแทนที่เข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ภายใต้กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร G2 G3 Gn G6 G7 G4 G5 G1
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร แบบที่  2  แกนนำของกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีภายใต้โครงการฯ ร่วมกับแกนนำกลุ่มเครือข่ายการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มีอยู่เดิมแล้วในพื้นที่อำเภอ โดยให้พิจารณาว่าสามารถจะเอื้อต่อการจัดกระบวนการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ในอนาคต
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร G2 G3 Gn G6 G7 G4 G5 G1 N3 Nn N1 N2
จัดกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการเข้าถึง ตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย เริ่มจาก การวิเคราะห์ปัญหาร่วมด้านการตลาด ที่เชื่อมโยงกับแผนการผลิตและคุณภาพผลผลิต  กำหนดเป็นประเด็นแผนกลยุทธ์ในการดำเนินงานจัดแผนการจัดการการผลิตของเครือข่ายและแผนปฏิบัติการผลิตของกลุ่ม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้ วิเคราะห์คุณภาพมาตรฐานตามตลาด  กำหนดประเด็นเสี่ยง / เทียบค่าเป้าหมาย เกษตรกรเป้าหมายผลิตคุณภาพ 3  ดาว +  ตลาด + ผู้เกี่ยวข้อง  ประเมินผลการการผลิต กับความพึงพอใจของตลาด กลุ่มร่วมกำหนดประเด็น แผนควบคุมการผลิตร่วมกัน กำหนดภารกิจสมาชิก ในการควบคุมคุณภาพ สรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม ในการปฏิบัติด้านการควบคุมคุณภาพ ดำเนินการตามแผน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การจัด กระบวนการกลุ่ม ก่อนเข้าเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการเชื่อมโยงตลาด
เป้าหมายเพื่อ 1  Consultation Networking Forum*  เวทีเครือข่ายแบบผสมระดับอำเภอ เพื่อกำหนดกลยุทธ์และวางแผนด้านการผลิตและการตลาดท้องถิ่น 4  Best practice ในการผลิตที่ได้คุณภาพสอดคล้องกับตลาด 3 Learning/Action Process ดำเนินการพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ที่เหมาะสมในกลุ่ม / ระหว่างกลุ่ม 2   Benchmarking วิเคราะห์ประเด็นพัฒนาการผลิตและการจัดการผลผลิตจัดทำค่าเปรียบเทียบต้นแบบ เป้าหมายการเข้าถึง ตลาดคุณภาพ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย แบบที่  3 การจัดบุคคลเป้าหมายแบบผสม ที่มีผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องในระบบการผลิตสินค้าปลอดภัยของพื้นที่ ได้แก่ กลุ่มผู้ค้าผลผลิตสด  ( ปลีก / ส่ง )  กลุ่มอุตสาหกรรมต่อเนื่อง  กลุ่มทุน  กลุ่มผู้ค้าปัจจัยการผลิต  สถาบันการศึกษา หรือหน่วยสนับสนุนเทคโนโลยีในท้องถิ่น เข้าร่วมได้   PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร G2 G3 Gn G6 G7 G4 G5 G1 หน่วยทุน / บริการ ปัจจัย / วัตถุดิบ หน่วยรัฐ / วิชาการ Suppliers/ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง
แนวทางการจัดเวที PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร 3 . ถ้าเป้าหมาย ให้ความสำคัญกับเรื่องตลาดที่สามารถดำเนินการร่วมกัน ในหลายๆพืชให้จัดกลุ่มพืชที่ทำตลาดร่วมกันได้  2 . ถ้าเป้าหมาย การพัฒนาให้ความสำคัญกับการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีอาจให้เป้าหมายเป็นพืชรวมๆ เพื่อร่วมกันพิจารณาถึงวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 . ถ้าเป้าหมาย การพัฒนาเครือข่ายให้ความสำคัญกับการและเปลี่ยนเทคโนโลยีเฉพาะและการเชื่อมโยงตลาดเชิงพืชเดี่ยว อาจกำหนดพืชใดพืชหนึ่งมาจัดเครือข่ายได้
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร กำหนดกรอบคร่าวๆ ให้มีการพูดคุยใน  3  ประเด็น 1.  การ ชี้แจงถึงการจัดเวทีประชุมเครือข่าย โดยเน้น  ถึงความสำคัญของการผนึกกำลังร่วมกันในรูปของ เครือข่ายการแนะนำตัวและกิจกรรมของแต่ละคน
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม  ( ต่อ ) กำหนดกรอบคร่าวๆ ให้มีการพูดคุยใน  3  ประเด็น 2.  สาระของการประชุม อาจจัดเป็น  3   ช่วง ช่วงที่ 1   ช่วงของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น / ข้อมูล ช่วงที่  2   ช่วงของการเสนอปัญหาที่คล้ายกัน / เหมือนกัน   ที่ต้องการความร่วมมือในการคลี่คลายปัญหา ช่วงที่  3   ช่วงของการกำหนดแนวทางในการสร้างความ   ร่วมมือเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือความต้องการ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
เทคนิคการจัดเวทีเครือข่ายโดยสรุป จัดเวทีพูดคุย  ใคร กับ ใคร  เมื่อไหร่  เรื่องอะไร   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ก่อนปิดเวทีทุกครั้งจะต้อง มีเรื่องนี้ทุกครั้ง   PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การเตรียมการวางแผนเพื่อจัดเวที ,[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตการเกษตร ภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดเรื่องเครือข่ายวิสาหกิจเพื่อการแข่งขัน “คลัสเตอร์” Cluster Competitiveness PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
คลัสเตอร์  ( cluster)  คือ กลุ่มของธุรกิจและสถาบันที่  เกี่ยวข้องมารวมตัว ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ใกล้เคียงกัน  มีความ ร่วมมือเกื้อหนุนเชื่อมโยงและเสริมกิจการซึ่งกันและกันอย่างครบ วงจร  ทั้ง ในแนวตั้งและแนวนอน  เพื่อบรรลุ เป้าหมายร่วมกัน คือ การเพิ่มผลิตภาพ  ( Productivity )  ของคลัสเตอร์โดยรวม ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความหมายของคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เหล่านี้ยังอาจไม่ใช่  Cluster  ที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์ คลัสเตอร์ ? ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
สภาพภูมิศาสตร์กับคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การเกาะตัวหลังการพัฒนา การเกาะตัวตามธรรมชาติ
ลักษณะการเกาะตัวทางภูมิศาสตร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร 1.  มีแหล่งวัตถุดิบที่เข้าถึงง่าย 2.  มีเงื่อนไขของสภาพดิน สภาพอากาศที่เหมาะสม 3.  มีโอกาสที่เอื้ออำนวยให้เกิดการรวมตัวกันของธุรกิจ 4.  เกิดจากการผลักดันของภาครัฐ เช่นการเกิดนิคม
ลักษณะการเชื่อมโยงของเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เชื่อมโยงแนวตั้ง   การเชื่อมโยงกันของธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ เชื่อมโยงแนวนอน   การเชื่อมโยงกันของธุรกิจ สนับสนุน ต่างๆ เช่นสถาบันการ เงิน ภาคการบริการ ธุรกิจที่สัมพันธ์กัน องค์กรด้านการ วิจัยพัฒนา  สมาคมองค์กรที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบสำคัญของคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร 1.  มีการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน  (Connectivity) 2.  มี ความร่วมมือ  (Collaboration) 3.  มี การแข่งขัน  (Competition) 4.  เกิด ประสิทธิภาพโดยรวม  (Collective Efficiency)
ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้  ข้อมูลข่าวสาร เป็นการเชื่อมโยง ทั้งแนวตั้งและแนวนอน การเชื่อมโยงไม่ได้จำกัดอยู่เพียงผู้ประกอบการเท่านั้น  แต่รวมถึงสถาบันการศึกษา / วิจัยและพัฒนา  สถาบันการเงิน  องค์กรภาครัฐ สมาคม เอกชน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร 1.  การเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน  (Connectivity)
2.  ความร่วมมือ  (Collaboration) สมาชิกใน  Cluster  จะร่วมมือกัน โดยมีการกำหนด เป้าหมายร่วมกัน  (Core Objective/Value) รวมทั้งกลยุทธ์ โดยมีเครื่องมือวิเคราะห์ความสามารถ ทางการแข่งขันในทางเศรษฐกิจเป็นกลไกในการกำหนดเป้าหมาย และกลยุทธ์ร่วมในการพัฒนา กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
Cluster  มิใช่ระบบผูกขาดทางการค้าที่มุ่งกำหนด กลไกราคาหรือปริมาณ เพื่อผลประโยชน์ร่วมของ สมาชิก การรวมกลุ่มแบบ  Cluster  จะต้องอยู่บนพื้นฐาน ของการแข่งขัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร 3.  การแข่งขัน  (Competition)
4.  ประสิทธิภาพโดยรวม  (Collective Efficiency) ความร่วมมือท่ามกลางการแข่งขันประกอบกับ การเชื่อมโยงที่เป็นระบบ  การแลกเปลี่ยนข้อมูล  ความรู้ ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ จะทำให้เกิด ประสิทธิภาพโดยรวม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร คลัสเตอร์ทำให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพโดยรวมและนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขัน เชื่อมโยงกันทั้ง แนวตั้งแนวนอน มีจุดเน้นที่ ยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อน โดยอุปสงค์ ส่งเสริมการ เปิดกว้าง ทางการค้า CLUSTER ภาคเอกชน   :  ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ต้นน้ำ ถึงปลายน้ำ สถาบัน / สมาคม / ผู้ให้บริการต่างๆ  :  พื้นฐานการพัฒนา เทคนิคและการรวม กลุ่ม ธุรรกิจ ภาครัฐบาล  :   นโยบาย กฎ  ระเบียบ เกี่ยวกับ อุตสาหกรรม  สถาบันการศึกษา และ  R&D   :  พัฒนา เสริมสร้างพื้นฐานด้าน  ทรัพยากรมนุษย์ และนวัตกรรม
ผู้ประกอบการ เอกชน องค์กร ภาครัฐ สถาบันการ ศึกษา / วิจัย หน่วยสนับสนุน อื่นๆ Cluster ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร บทบาทของฝ่ายต่างๆ ในคลัสเตอร์
ประโยชน์ของคลัสเตอร์ ที่มา  :  สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและ คุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง ช่วยให้เกิดการ แลกเปลี่ยนข้อมูล และองค์ความรู้ของ สมาชิก ช่วยลดต้นทุนของ ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม การสร้าง นวัตกรรม ส่งเสริมการเกิด ธุรกิจใหม่และ การขยายตัวของ ธุรกิจเดิม
PANEE ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการพัฒนาคลัสเตอร์ มีผู้ประสานงานคลัสเตอร์ ทำหน้าที่ผลักดันให้เป็น ไปตามแนวทางที่กำหนด สมาชิกเชื่อใจวางใจกัน  และสมัครใจในการลงทุน  เพื่อพัฒนาคลัสเตอร์ มีเจ้าภาพหรือแกนกลาง ในการริเริ่ม ผลักดันและ มีกลไกในการบริหาร จัดการที่เข้มแข็งและ มีประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาค รัฐ เอกชนและประชาชน ในท้องถิ่น โดยแสดงบทบาท ที่เหมาะสมของตน มีระบบข้อมูลที่ทุกฝ่าย สามารถเข้าถึง และใช้ ประโยชน์ได้ และมีการ แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกัน และกัน ภายในคลัสเตอร์ การมีวิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์ร่วมของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในการพัฒนาคลัสเตอร์ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์ การสร้างความร่วมมือบนพื้นฐานของการแข่งขันกัน การกำหนดทิศทางและเป้าหมายและกลยุทธ์การพัฒนา PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ตลอดจน ทรัพยากรต่างๆ ระหว่างกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการพัฒนาคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร กระตุ้น / สร้างจิตสำนึกของการรวมกลุ่ม  ให้เข้าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ (Promotion and Mobilization) วิเคราะห์สถานภาพของ คลัสเตอร์  (Diagnosis) จัดทำยุทธศาสตร์ ที่เป็นความเห็นร่วมกัน (Collaborative Strategy) นำไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)
เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร ภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการสร้างเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร  ( Agriculture - base Supply Chain network  :  Cluster Competitiveness ) เน้นการนำเอาแนวคิดและเครื่องมือ การพัฒนาคลัสเตอร์มาใช้ในการดำเนินงาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการสร้างเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร  ( Agriculture - base Supply Chain network  :  Cluster Competitiveness ) สร้างโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการระดม ทั้งความคิดและทรัพยากรในการสนับสนุนการการ พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน โดยมุ่งที่ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน  โดยมีการกำหนด เป้าหมาย  ยุทธศาสตร์ กิจกรรม ที่เอื้อกันอย่างชัดเจน  และก่อประโยชน์แก่ทุกฝ่าย   PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ความหมาย  เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร  ( Agriculture - base Supply Chain network) เครือข่ายประเภทหนึ่งที่ประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มผู้ประกอบการตลอด สายการผลิตและองค์กรสนับสนุนการขับเคลื่อนผู้ประกอบการดังกล่าว ได้แก่  องค์กรด้านทุน  การขนส่ง / บริการ สถาบันงานทางวิชาการ และ  หน่วยงานภาครัฐ  มาดำเนินงานร่วมกันโดยมุ่งเน้นที่กำหนดเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพของสินค้าเกษตรและการตลาดของสินค้าเกษตร เพื่อ นำมาวางยุทธศาสตร์ และ ดำเนินการการขับเคลื่อนการพัฒนาของกลุ่มสินค้าเกษตรของพื้นที่ให้สามารถแข่งขันได้ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ประโยชน์ของเครือข่ายบูรณาการฯ เกิดการบูรณาการทางความคิด และการกำหนดยุทธศาสตร์ แผนงานกิจกรรมที่เพื่อการบรรลุเป้าหมายที่มีเจ้าภาพใน แต่ละกิจกรรมชัดเจน ความเข้าใจและความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในพื้นที่ใน การพัฒนากลุ่มสินค้าเกษตรหนึ่งๆ ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ปัญหาและการวางเป้าหมายการพัฒนาร่วมกัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ประโยชน์ของเครือข่ายบูรณาการฯ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาผ่านกระบวนการกลุ่มเพื่อปฏิบัติและขับเคลื่อนกิจกรรม เกิดการพัฒนานัวตกรรมที่สามารถสร้างให้กลุ่มสินค้า การเกษตรมีความแตกต่างและได้เปรียบในการแข่งขัน เกิดการวางรากฐานของผลประโยชน์ร่วมกันที่นำมาสู่การร่วมมือเชิงแข่งขัน (  win win position ) ในกลุ่มผู้ผลิตตลอด   supply chain
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายบูรณาการฯ กระตุ้น / สร้างจิตสำนึกของการรวมกลุ่ม  ให้เข้าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ วิเคราะห์สถานภาพสินค้า และเครือข่าย กำหนดเป้าหมาย / ยุทธศาสตร์การพัฒนา ปฏิบัติ / ติดตาม / ประเมิน จัดเวทีแกนนำ วิเคราะห์ศักยภาพสินค้า / เครือข่ายเชิงลึก กำหนดแผนปฏิบัติ ภารกิจของสมาชิกเครือข่าย บูรณาการยุทศาสตร์ ในแผนพัฒนาพืชจังหวัด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
การคัดเลือกเครือข่ายบูรณาการฯ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เป็นกลุ่มสินค้าเกษตรอาหารที่เป็นยุทธศาสตร์จังหวัด มีการกระจุกตัวและมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของจังหวัด  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมห่วงโซ่อุปทาน และมีความสนใจกระตือรือร้น
ประเด็นนำเสนอ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ของประเทศกับการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน แนวคิดการสร้าง / พัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน  เครือข่ายภาคการผลิตทางการเกษตรภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร  ( Agriculture- base Supply chain Network) เครื่องมือการวิเครห์ศักยภาพเครือข่ายบูรณาการและแนวทางการสร้างและพัฒนาเครือข่ายบูรณาการ แนวคิดการสร้าง / พัฒนาเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร
เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ศักยภาพสินค้า / เครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน  (Supply Chain Analysis) การวิเคราะห์แผนภูมิเครือข่าย  ( Cluster Mapping) การวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขัน  ( Daimond Model Analysis)
ห่วงโซ่อุปทาน  (  Supply Chain) หมายถึงการเชื่อมต่อของหน่วยต่างๆในการผลิตสินค้าโดยเริ่มตั้งแต่ต้นสายการผลิตไปยังขั้นตอนการผลิตต่อๆมาจนถึง ลูกค้าผู้จัดจำหน่าย  และลูกค้าที่เป็นผู้บริโภค   ประโยชน์ เพื่อมองการเลื่อนไหลของสินค้าที่เครือข่ายผลิตตั้งแต่ต้นทางจนถึง ปลายทาง  ซึ่งจะทำให้เครือข่ายเห็นภาพสินค้าของตนชัดเจน และ มองเห็นผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตของตน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน
ตัวอย่างวิถีตลาดปาล์มน้ำมันไทย ส่งออก อาหารสัตว์ สบู่ โรงกลั่น ( ผสมน้ำมันมะพร้าว อาหาร ยา  / สำอางค์ บริโภค ส่งออก น้ำมันเมล็ดใน ปาล์มดิบ น้ำมันปาล์มดิบ กรดปาล์ม น้ำมันบริสุทธิ์ไม่แยกไข ไขปาล์มบริสุทธิ์ น้ำมันบริสุทธิ์ใส น้ำมันพืช ของเหลือ ไบโอดีเซล PANEE ( 1)   ชาวสวน ( 2)   ลาน ( 3)   โรงหีบ ( 4)   โรงกลั่นบริสุทธิ์
ตัวอย่าง ห่วงโซ่อุปทานของเห็ดจากทะลายปาล์ม ผู้จำหน่าย ทะลายปาล์ม ผู้ค้าเชื้อเห็ด ผู้ค้าวัสดุเพาะปัจจัยอื้นๆ ผู้ขนส่ง ทะลายปาล์ม เกษตรกร เพาะเห็ด ผู้รวบรวม ตลาดค้าส่งกรุงเทพ ตลาดในจังหวัด โรงแรม / ร้านอาหาร โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ผู้ บริโภค สด เส้นทางอนาคต เส้นทางปัจจุบัน PANEE
กลุ่มเมล็ดพันธุ์ นำเข้า . ผลิตเอง กรมวิชา การฯ ผู้ผลิตกล้า สวนโรงงาน สวนใหญ่ สวนเกษตรกร ลานเทอิสระ โรงงาน โรงงานหีบใหญ่ โรงงานหีบย่อย โรงกลั่น  ผู้ส่งออก  โรงงานสบู่ ผู้จัดหา / ผู้ขนส่ง ผู้ผลิพลังงาน ทดแทน  Bio desel ผู้ส่งออก บริโภค อุตสาหกรรมอาหาร อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมเคมี ประมง ? สหกรณ์ / กลุ่ม ตัวอย่าง 2 PANEE เมล็ด กล้า สวน ลาน หีบ ขนส่ง แปรรูป พ่อค้า แปรรูป จัดจำหน่าย
หน่วยงาน / อุตสาหกรรมสนับสนุน บริการคำแนะนำ บริการเก็บเกี่ยว PANEE เมล็ด R&D กล้า เครื่องมือ LAB ปุ๋ย / ยา สวน เครื่องมือ LAB ปุ๋ย / ยา ลาน เครื่องมือ ขนส่ง หีบ เครื่องมือ LAB เครื่องจักร ขนส่ง เครื่องมือ ขนส่ง ศูนย์ รวบรวม โกดัง แปรรูป / พ่อค้า การบรรจุ เครื่องมือ LAB R&D เคมีภัณฑ์ บริการไซโล ขนส่ง บริการลุกค้า แปรรูป จัดจำหน่าย ที่พักสินค้า ท่าเรือ การขนถ่าย สินค้า
คือการวิเคราะห์และจัดกลุ่มแกนนำการผลิต การหารระดับความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มการค้าหนึ่งๆที่มีความเชื่อมโยงกันทั้งแนวตั้งแนวนอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์แผนผังเครือข่าย
ตัวอย่างแผนภูมิเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร องค์กรวิจัยพัฒนา องค์กรพัฒนาเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ  ธุรกิจบริการ / สนับสนุน ธุรกิจเกี่ยวข้อง ธุรกิจหลัก
ตัวอย่าง แผนผังเครือข่าย บูรณาการเห็ดฟางจ . กระบี่ ( Krabi Mushroom Cluster Map ) ธุรกิจบริการ / สนับสนุน ธุรกิจหลัก ผู้ค้าเชื้อเห็ด ... ราย ผู้เพาะเห็ด ........... กลุ่ม ....... คน ผู้รับซื้อ ..... ราย หน่วยงานภาครัฐ  เกษตรจังหวัด  พาณิชย์จังหวัด  การค้าภายในจังหวัด  อุตสาหกรรมจังหวัด  อปท .  สาธารณสุขจังหวัด  ผู้ประกอบการขนส่ง ... ราย  สถาบันการเงิน .......... ราย  สถาบันรัลรองฯ ......... ราย  ผู้ประกอบการส่งออก .. ราย  PANEE ธุรกิเกี่ยวข้อง โรงหีบน้ำมันปาล์ม ........ โรง ผู้เพาะเชื้อเห็ด ........ ราย ผู้ค้าวัสดุเพาะ ........ ราย อุตสาหกรรมแปรรูป  .. ราย องค์กรวิจัยพัฒนา วิทยาลัยเกษตรฯกระบี่ ชมรมเห็ดแห่งประเทศไทย องค์กรพัฒนาเครือข่าย สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาอุตสาหกรรมกระบี่ คลัสแตอร์ปาล์ม จ . กระบี่
ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย PANEE 1   โรง -   โรงกลั่น ,[object Object],[object Object],15  โรง -  โรงงานสกัด ,[object Object],107  ลานเท -  ลานเท ,[object Object],[object Object],[object Object],22,418  ราย  - 40  กลุ่มผู้ปลูก - 24  เอกชน -  1   สหกรณ์ 1  กลุ่มผลิตหลัก -  ชาวสวน สิ่งที่พบ ขนาด ประเด็น
ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) -   ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จาก ชีวมวล -  อุตสาหกรรมอาหาร / ยา -  ร้านค้าอิสระ เชื่อมโยงกับผู้ผลิตโดยตรง 92   ราย -  ปุ๋ย  / สารเคมี -  ผ่านการรับรอง  23   ราย  42   ราย  ( 6   อำเภอ ) 2  ธุรกิจเกี่ยวข้อง -  แปลงเพาะกล้า สิ่งที่พบ ขนาด ประเด็น
ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) PANEE ไบโอดีเซล -  ม . เกษตรฯ ระบบน้ำ -   ม .  ลาดกระบัง ศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากชีวมวล และ By Product  อื่นๆ -  ม .  จุฬาฯ  -  ม .  มหิดล เพิ่มผลผลิต การทดสอบพันธุ์  ระบบน้ำ ,[object Object],[object Object],ศึกษาวิจัยปาล์มน้ำมันทั้งระบบ 3  สถาบันเฉพาะทาง -  มอ .  ลักษณะงาน  ประเด็น
ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) PANEE คีนันแห่งเอเซีย 5  องค์กรพัฒนาเครือข่าย -  ประกันภัยโรงงาน 4   ธุรกิจ / บริการสนับสนุน -  สถาบันการเงิน -  ธกส . -  สหกรณ์ -  ธนาคารพานิชย์ สิ่งที่พบ ขนาด ประเด็น
ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) PANEE สนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายและกลุ่มการผลิตทั้งวงจร  5  ราชการส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาพลังงานทดแทน  ( ไบโอดีเซล ) 4  กระทรวงพลังงาน กฎระเบียบการค้า  3  กระทรวงพาณิชย์ ส่งเสริมอุตสาหกรรม มาตรฐานกฎระเบียบโรงงาน การรับรองระบบโรงงาน  2  กระทรวงอุตสาหกรรม  -  กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม -  กรมโรงงานอุตสาหกรรม การส่งเสริมการผลิต  การรวมกลุ่ม สนับสนุนพันธุ์ดี รับรองพันธุ์ รับรองระบบการผลิต กฎระเบียบการผลิต 6  ส่วนภาครัฐ 1  กระทรวงเกษตรฯ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมวิชาการเกษตร  ลักษณะงาน  ประเด็น
เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค  และปัจจัยที่กำหนดความได้เปรียบในการแข่งขัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน   เครื่องมือ SWOT  และ ไดมอนด์โมเดล  ( Diamond Analysis)
4  ประเด็นสำคัญคือ -  จุดอ่อน / แข็ง ของตัวเครือข่าย และสินค้าที่เครือข่าย ดำเนินการผลิต -  จุดอ่อน / แข็ง ของปัจจัยด้านทรัพยากร แรงงาน ทุน เทคโนโลยีการ ผลิตของตัวสินค้า -  โอกาส /  อุปสรรคที่จะมีอุตสาหกรรมต่อเนื่องของสินค้าที่ผลิต  -  โอกาส / อุปสรรคในเรื่องของตลาดได้แก่ความต้องการ  ความคาดหวัง และการมีส่วนแบ่งในตลาด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน   การใช้  SWOT
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน   การใช้  Diamond
PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร Diamond Model บริบทการแข่งขัน และการดำเนิน  กลยุทธ์ทางธุรกิจ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุน เงื่อนไขด้านตลาด เงื่อนไขของปัจจัยการผลิต รัฐบาล
ประกอบด้วย  วัตถุดิบ  แรงงาน เงินทุน ที่ดิน  เทคโนโลยี ความรู้ ระบบสาธารณูปโภคที่ครบถ้วนเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของปัจจัยการผลิต  (Factor  Conditions)   ปัจจัยพื้นฐาน  ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ต่ำแหน่งที่ตั้ง  แรงงาน ชำนญ / ไม่ชำนาญ รวมถึงทุน ปัจจัยขั้นสูง   ได้แก่ ระบบสาธารณูประโภค ระดับความรู้ความสามารถของบุคลากรทุกส่วนที่เกื้อหนุน ระดับการวิจัย และเทคโนโลยี
ถ้ากลุ่มการผลิตมีปัจจัยที่มีความพร้อม ทั้งปริมาณที่หลากหลาย  คุณภาพที่ดี สามารถยกระดับให้มีคุณภาพและขีดความสามารถ สูงขึ้น จะแสดงถึงระดับความได้เปรียบในการแข่งขันได้ ความได้เปรียบ  พิจารณาที่ 1.  ความพร้อม 2.  สัดส่วนของปัจจัยที่มีในประเทศ 3.  ความสามารถในการเสร้างเสริมและยกระดับให้มีคุณภาพ 4.  ผลกระทบหากมีการปรับปรุงหรือลดทอน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ประเด็นพิจารณา สภาพของปัจจัยการผลิต  (Factor  Conditions)
ความอ่อนไหวของการเปลี่ยนแปลงความต้องการสินค้าของผู้ซื้อ / การปรับตัวของตลาด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของตลาด  (Demand  Conditions) จะมุ่งพิจารณาที่ตลาดภายในเป็นอันดับแรก ตลาดภายในถือว่าเป็นตัวบ่มเพาะความสามารถในการแข่งขัน ในขณะที่ตลาดภายนอกจะทำหน้าที่กระตุ้นและเป็นตัววางค่าเป้าหมายเปรียบเทียบถ้าตลาดภายในมีการแข่งขันมากจะเกิดความได้เปรียบในการแข่งขันสูง  พิจารณาจาก ส่วนแบ่งตลาด / ขนาดตลาด การพัฒนาเพื่อสนองตอบต่อความต้องการในเรื่องคุณาภาพของผู้ซื้อ
คือระดับเข้มแข็งของอุตสาหกรรมต่อเนื่องทั้งจากปัจจัย และอุตสาหกรรมที่ต่อยอดออกไป ยิ่งมีอุตสาหกรรมต่อยอดที่เข็มแข็ง  ยิ่งได้เปรียบ  ซึ่งพิจารณาถึง PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของอุตสาหกรรมที่สนับสนุน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง การเข้าถึงปัจจัยที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ระดับความร่วมมือระหว่างกัน ความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการยกระดับการผลิต
คือระดับการแข่งขันกันของกลุ่มการผลิตหลักทั้งด้านราคาและคุณภาพที่นำมาสู่การสร้างและพัฒนานัตกรรมใหม่ๆ ที่สร้างโอกาสที่ได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น ระดับของความหนาแน่นของการกระจุกตัวของกลุ่มสินค้า PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร กลยุทธ์ / โครงสร้างของกลุ่มการผลิตหลัก และสภาวะการแข่งขัน ความรุนแรงของการแข่งขัน ระดับความร่วมมือในเชิงนวัตกรรม
คือการส่งเสริมและการขัดขวางของภาครัฐ ในเชิงนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบมางการค้า มาตรการสนับสนุน / ยกเลิก เป็นต้น PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร อิทธิพลที่กระทบต่อการสร้างโอกาส / อุปสรรค
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์เครือข่ายเห็ดจากทะลายปาล์ม กฎระเบียบ / นโยบาย ทรัพยากร / ปัจจัยสนับสนุน ธุรกิจหลัก   ความต้องการ ของตลาด ธุรกิจ ต่อเนื่อง / สนับสนุน  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],+ คุณภาพเรื่องความสด ขนาด + ช่องทางโอกาสขยายตลาด ในจังหวัดและนอกพื้นที่ จังหวัดมีมาก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],+   รัฐสนับสนุนการรับรองคุณภาพ / มาตรฐาน แก่ผู้ประกอบการทั้งระบบ +   มีแนวโน้มดีในการลงทุน เรื่องของอุตสาหกรรมต่อเนื่องทั้งอุตสาหกรรมด้านเชื้อเห็ด และการแปรรูปสินค้าจากเห็ด PANEE
องค์ประกอบแผนกลยุทธ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร การกำหนดกลยุทธ์
กำหนดเป้าหมายร่วมกัน  =   วิสัยทัศน์ กำหนดกรอบของเส้นทางที่จะเดิน  =  พันธกิจ กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ  =  เป้าประสงค์ กำหนดแนวทางการมุ่งสู่เป้าหมาย  =  กลยุทธ์ กำหนดวิธีการปฎิบัติตามแนวทาง  =  แผนปฏิบัติงาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร กำหนดทางเดินร่วมกัน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร เทคนิคการสร้างยุทธศาสตร์
1.  ต้องให้ประโยชน์แก่ทุกฝ่าย มิได้เฉพาะบางกลุ่ม 2.  ต้องเกิดการเปลี่ยนถึงระดับที่มีนัยสำคัญ  Quick win 3.  ต้องตั้งอยู่บนสมมติฐานของข้อเท็จจริงและเที่ยงธรรม 4.  เป็นที่รับรู้และเห็นชอบจากทุกฝ่าย  5.  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการกำหนด โดยได้รับคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่มีนัยสำเร็จ
PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร ตัวอย่างการวิเคราะห์และจัดทำยุทธศาสตร์ ปาล์มน้ำมัม   ชุมพร . ppt เห็ดฟาง   กระบี่. ppt
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทสรุปการพัฒนา PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทสรุปการพัฒนา PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร  สำนักพัฒนาเกษตรกร
ขอบคุณค่ะ แหล่งขอมูลประกอบการนำเสนอ สถาบันคีนันแห่งเอเชีย  :  คุณสุวิชา มิ่งขวัญ  คุณเฉลียว วรรณสวัสดิ์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มเครือข่าย ( คลัสเตอร์ ) ผักปลอดภัยภาคตะวันตก สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร  GTZ - Business and Financial Services Component   PANEE

Más contenido relacionado

Similar a 1

จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560nok Piyaporn
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Ratchakrit Klongpayabal
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculturePisuth paiboonrat
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiPisuth paiboonrat
 
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินTotorokung
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02wutichai
 

Similar a 1 (20)

Document pmqa copy
Document pmqa   copyDocument pmqa   copy
Document pmqa copy
 
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
Smart Farm
Smart FarmSmart Farm
Smart Farm
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Presentation r4i
Presentation r4i Presentation r4i
Presentation r4i
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
SME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweeraSME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweera
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 

1

  • 1. PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การสร้างและพัฒนาเครือข่าย ภาคการผลิตทางการเกษตร โดย ภาณี บุณยเกื้อกูล กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร ส่วนพัฒนาองค์กรเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร
  • 2.
  • 3.
  • 4. 5 ยุทธศาสตร์ของแผนฯ 10 ใช้กระบวนการ พัฒนาคลัสเตอร์ เป็นแนวทางสำคัญ ในการเพิ่มผลิตภาพ ภาคการผลิต PANEE ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลย์และแข่งขันได้ในช่วงศตวรรษแห่งเอเชีย พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรฯและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารจัดการประเทศสู่ความยั่งยืน
  • 5. ยุทธศาสตร์ของประเทศกับการพัฒนาเครือข่าย PANEE ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ( คลัสเตอร์ ) เป็นกลไกและยุทธศาสตร์ ของการขับเคลื่อนขีดความามารถการแข่งขัน และเศรษฐกิจของประเทศ
  • 6. กำหนดให้กระบวนการพัฒนาคลัสเตอร์และห่วงโซ่ อุปทานสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพภาคการผลิตตาม แนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 10 PANEE ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 7. PANEE ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร เป้าหมายพัฒนาคลัสเตอร์ การพัฒนาคลัสเตอร์ จะไม่มีประโยชน์เลย ถ้าหากไม่ได้ มุ่งพัฒนาเพื่อเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันโดยรวม (Competitiveness) ของ Cluster นั้น ซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตของธุรกิจอย่างมั่นคง
  • 8. คลัสเตอร์เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ เศรษฐกิจของประเทศอยู่ในระดับที่แข่งขันได้ เป้าหมายคลัสเตอร์ ที่มา : สุวิชชา มิ่งขวัญ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ที่มา : คุณสุวิชา มิ่งขวัญ ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ผลิตภาพรวม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขัน เครือข่ายที่เข้มแข็ง จุดเริ่มต้นการพัฒนา
  • 9. เครือข่ายภาคการเกษตร ในงานส่งเสริมการเกษตร PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 10. แนวคิดการพัฒนาเครือข่ายภาคการเกษตร การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายการเกษตรเป็นภารกิจหนึ่งของงานส่งเสริมการเกษตร โดยมีเป้าหมาย 2 มิติ มิติด้านองค์กร เป็นเครื่องมือส่งผ่านและสร้างองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและการจัดการการเกษตรแก่เกษตรกร มิติด้านเกษตรกร มุ่งเน้นให้เกษตรกรใช้กลไกความร่วมมือเพื่อสร้างความสามารถในการจัดการการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 11. ลักษณะเครือข่ายการเกษตรที่กรมดำเนินการอยู่ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / กิจกรรมของเกษตรกร เครือข่ายเชื่อมโยงการตลาดระหว่างเกษตรกรกับคู่ค้า เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตการเกษตร
  • 12. เครือข่ายระดับอำเภอ ภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 13.
  • 14. จัดกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้าง องค์ความรู้สินค้าเกษตรปลอดภัยของชุมชน เริ่มจาก สร้างองค์ความรู้ของกลุ่ม จากสภาวะปัญหาการผลิต มากำหนดเป็นประเด็นร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ สร้างช่องทางการพัฒนาองค์ความรู้ผ่านเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 15. การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้ ทบทวนผลการจำแนกพื้นที่ วิเคระห์ประเด็นเสี่ยง / เทียบค่าเป้าหมาย เกษตรกรเป้าหมาย แยกเป็นกลุ่ม ประเมินผลการเรียนรู้เทียบ ค่าเป้าหมาย กลุ่มร่วมกำหนดประเด็น เรียนรู้ แผนการเรียนรู้ ภารกิจสมาชิก ในกระบวนการเรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม ดำเนินการตามแผน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การจัด กระบวนการกลุ่ม ก่อนเข้าเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้
  • 16. 4 Networking Forum* เวทีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ เพื่อแลกเปลี่ยนและสรุปบทเรียนการพัฒนาและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการผลิตร่วมกัน 3 Best Practice ในการผลิตที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ของแต่ละกลุ่ม 2 Learning/Aciton Process ดำเนินการพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้เที่เหมาะสมในกลุ่ม / ระหว่างกลุ่ม 1 Benchmarking วิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาการผลิตและการจัดการผลผลิตจัดทำค่าเปรียบเทียบต้นแบบ สร้างองค์ความรู้การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของชุมชน เป้าหมายเพื่อ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กระบวนการของกลุ่ม กระบวนการของเครือข่าย
  • 17. การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร แบบที่ 1 แกนนำของกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีภายใต้โครงการฯ ซึ่งมาจากตัวแทนที่เข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ภายใต้กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
  • 19. การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร แบบที่ 2 แกนนำของกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีภายใต้โครงการฯ ร่วมกับแกนนำกลุ่มเครือข่ายการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มีอยู่เดิมแล้วในพื้นที่อำเภอ โดยให้พิจารณาว่าสามารถจะเอื้อต่อการจัดกระบวนการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ในอนาคต
  • 21. จัดกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการเข้าถึง ตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย เริ่มจาก การวิเคราะห์ปัญหาร่วมด้านการตลาด ที่เชื่อมโยงกับแผนการผลิตและคุณภาพผลผลิต กำหนดเป็นประเด็นแผนกลยุทธ์ในการดำเนินงานจัดแผนการจัดการการผลิตของเครือข่ายและแผนปฏิบัติการผลิตของกลุ่ม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 22. การจัดกระบวนการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการสร้างองค์ความรู้ วิเคราะห์คุณภาพมาตรฐานตามตลาด กำหนดประเด็นเสี่ยง / เทียบค่าเป้าหมาย เกษตรกรเป้าหมายผลิตคุณภาพ 3 ดาว + ตลาด + ผู้เกี่ยวข้อง ประเมินผลการการผลิต กับความพึงพอใจของตลาด กลุ่มร่วมกำหนดประเด็น แผนควบคุมการผลิตร่วมกัน กำหนดภารกิจสมาชิก ในการควบคุมคุณภาพ สรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม ในการปฏิบัติด้านการควบคุมคุณภาพ ดำเนินการตามแผน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การจัด กระบวนการกลุ่ม ก่อนเข้าเครือข่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการเชื่อมโยงตลาด
  • 23. เป้าหมายเพื่อ 1 Consultation Networking Forum* เวทีเครือข่ายแบบผสมระดับอำเภอ เพื่อกำหนดกลยุทธ์และวางแผนด้านการผลิตและการตลาดท้องถิ่น 4 Best practice ในการผลิตที่ได้คุณภาพสอดคล้องกับตลาด 3 Learning/Action Process ดำเนินการพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ที่เหมาะสมในกลุ่ม / ระหว่างกลุ่ม 2 Benchmarking วิเคราะห์ประเด็นพัฒนาการผลิตและการจัดการผลผลิตจัดทำค่าเปรียบเทียบต้นแบบ เป้าหมายการเข้าถึง ตลาดคุณภาพ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 24. การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย แบบที่ 3 การจัดบุคคลเป้าหมายแบบผสม ที่มีผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องในระบบการผลิตสินค้าปลอดภัยของพื้นที่ ได้แก่ กลุ่มผู้ค้าผลผลิตสด ( ปลีก / ส่ง ) กลุ่มอุตสาหกรรมต่อเนื่อง กลุ่มทุน กลุ่มผู้ค้าปัจจัยการผลิต สถาบันการศึกษา หรือหน่วยสนับสนุนเทคโนโลยีในท้องถิ่น เข้าร่วมได้ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 25. การจัดบุคคลเป้าหมายของการจัดเวทีเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร G2 G3 Gn G6 G7 G4 G5 G1 หน่วยทุน / บริการ ปัจจัย / วัตถุดิบ หน่วยรัฐ / วิชาการ Suppliers/ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง
  • 26. แนวทางการจัดเวที PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร 3 . ถ้าเป้าหมาย ให้ความสำคัญกับเรื่องตลาดที่สามารถดำเนินการร่วมกัน ในหลายๆพืชให้จัดกลุ่มพืชที่ทำตลาดร่วมกันได้ 2 . ถ้าเป้าหมาย การพัฒนาให้ความสำคัญกับการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีอาจให้เป้าหมายเป็นพืชรวมๆ เพื่อร่วมกันพิจารณาถึงวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 . ถ้าเป้าหมาย การพัฒนาเครือข่ายให้ความสำคัญกับการและเปลี่ยนเทคโนโลยีเฉพาะและการเชื่อมโยงตลาดเชิงพืชเดี่ยว อาจกำหนดพืชใดพืชหนึ่งมาจัดเครือข่ายได้
  • 27. ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กำหนดกรอบคร่าวๆ ให้มีการพูดคุยใน 3 ประเด็น 1. การ ชี้แจงถึงการจัดเวทีประชุมเครือข่าย โดยเน้น ถึงความสำคัญของการผนึกกำลังร่วมกันในรูปของ เครือข่ายการแนะนำตัวและกิจกรรมของแต่ละคน
  • 28. ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม ( ต่อ ) กำหนดกรอบคร่าวๆ ให้มีการพูดคุยใน 3 ประเด็น 2. สาระของการประชุม อาจจัดเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ช่วงของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น / ข้อมูล ช่วงที่ 2 ช่วงของการเสนอปัญหาที่คล้ายกัน / เหมือนกัน ที่ต้องการความร่วมมือในการคลี่คลายปัญหา ช่วงที่ 3 ช่วงของการกำหนดแนวทางในการสร้างความ ร่วมมือเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือความต้องการ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 34. แนวคิดเรื่องเครือข่ายวิสาหกิจเพื่อการแข่งขัน “คลัสเตอร์” Cluster Competitiveness PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 35. คลัสเตอร์ ( cluster) คือ กลุ่มของธุรกิจและสถาบันที่ เกี่ยวข้องมารวมตัว ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ใกล้เคียงกัน มีความ ร่วมมือเกื้อหนุนเชื่อมโยงและเสริมกิจการซึ่งกันและกันอย่างครบ วงจร ทั้ง ในแนวตั้งและแนวนอน เพื่อบรรลุ เป้าหมายร่วมกัน คือ การเพิ่มผลิตภาพ ( Productivity ) ของคลัสเตอร์โดยรวม ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความหมายของคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 36.
  • 37. สภาพภูมิศาสตร์กับคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การเกาะตัวหลังการพัฒนา การเกาะตัวตามธรรมชาติ
  • 38. ลักษณะการเกาะตัวทางภูมิศาสตร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร 1. มีแหล่งวัตถุดิบที่เข้าถึงง่าย 2. มีเงื่อนไขของสภาพดิน สภาพอากาศที่เหมาะสม 3. มีโอกาสที่เอื้ออำนวยให้เกิดการรวมตัวกันของธุรกิจ 4. เกิดจากการผลักดันของภาครัฐ เช่นการเกิดนิคม
  • 39. ลักษณะการเชื่อมโยงของเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร เชื่อมโยงแนวตั้ง การเชื่อมโยงกันของธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ เชื่อมโยงแนวนอน การเชื่อมโยงกันของธุรกิจ สนับสนุน ต่างๆ เช่นสถาบันการ เงิน ภาคการบริการ ธุรกิจที่สัมพันธ์กัน องค์กรด้านการ วิจัยพัฒนา สมาคมองค์กรที่เกี่ยวข้อง
  • 40. องค์ประกอบสำคัญของคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร 1. มีการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน (Connectivity) 2. มี ความร่วมมือ (Collaboration) 3. มี การแข่งขัน (Competition) 4. เกิด ประสิทธิภาพโดยรวม (Collective Efficiency)
  • 41. ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เป็นการเชื่อมโยง ทั้งแนวตั้งและแนวนอน การเชื่อมโยงไม่ได้จำกัดอยู่เพียงผู้ประกอบการเท่านั้น แต่รวมถึงสถาบันการศึกษา / วิจัยและพัฒนา สถาบันการเงิน องค์กรภาครัฐ สมาคม เอกชน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร 1. การเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน (Connectivity)
  • 42. 2. ความร่วมมือ (Collaboration) สมาชิกใน Cluster จะร่วมมือกัน โดยมีการกำหนด เป้าหมายร่วมกัน (Core Objective/Value) รวมทั้งกลยุทธ์ โดยมีเครื่องมือวิเคราะห์ความสามารถ ทางการแข่งขันในทางเศรษฐกิจเป็นกลไกในการกำหนดเป้าหมาย และกลยุทธ์ร่วมในการพัฒนา กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 43. Cluster มิใช่ระบบผูกขาดทางการค้าที่มุ่งกำหนด กลไกราคาหรือปริมาณ เพื่อผลประโยชน์ร่วมของ สมาชิก การรวมกลุ่มแบบ Cluster จะต้องอยู่บนพื้นฐาน ของการแข่งขัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร 3. การแข่งขัน (Competition)
  • 44. 4. ประสิทธิภาพโดยรวม (Collective Efficiency) ความร่วมมือท่ามกลางการแข่งขันประกอบกับ การเชื่อมโยงที่เป็นระบบ การแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ จะทำให้เกิด ประสิทธิภาพโดยรวม PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 45. ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร คลัสเตอร์ทำให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพโดยรวมและนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขัน เชื่อมโยงกันทั้ง แนวตั้งแนวนอน มีจุดเน้นที่ ยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อน โดยอุปสงค์ ส่งเสริมการ เปิดกว้าง ทางการค้า CLUSTER ภาคเอกชน : ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ต้นน้ำ ถึงปลายน้ำ สถาบัน / สมาคม / ผู้ให้บริการต่างๆ : พื้นฐานการพัฒนา เทคนิคและการรวม กลุ่ม ธุรรกิจ ภาครัฐบาล : นโยบาย กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับ อุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา และ R&D : พัฒนา เสริมสร้างพื้นฐานด้าน ทรัพยากรมนุษย์ และนวัตกรรม
  • 46.
  • 47. ประโยชน์ของคลัสเตอร์ ที่มา : สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและ คุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง ช่วยให้เกิดการ แลกเปลี่ยนข้อมูล และองค์ความรู้ของ สมาชิก ช่วยลดต้นทุนของ ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม การสร้าง นวัตกรรม ส่งเสริมการเกิด ธุรกิจใหม่และ การขยายตัวของ ธุรกิจเดิม
  • 48. PANEE ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการพัฒนาคลัสเตอร์ มีผู้ประสานงานคลัสเตอร์ ทำหน้าที่ผลักดันให้เป็น ไปตามแนวทางที่กำหนด สมาชิกเชื่อใจวางใจกัน และสมัครใจในการลงทุน เพื่อพัฒนาคลัสเตอร์ มีเจ้าภาพหรือแกนกลาง ในการริเริ่ม ผลักดันและ มีกลไกในการบริหาร จัดการที่เข้มแข็งและ มีประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาค รัฐ เอกชนและประชาชน ในท้องถิ่น โดยแสดงบทบาท ที่เหมาะสมของตน มีระบบข้อมูลที่ทุกฝ่าย สามารถเข้าถึง และใช้ ประโยชน์ได้ และมีการ แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกัน และกัน ภายในคลัสเตอร์ การมีวิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์ร่วมของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในการพัฒนาคลัสเตอร์ กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 49. หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์ การสร้างความร่วมมือบนพื้นฐานของการแข่งขันกัน การกำหนดทิศทางและเป้าหมายและกลยุทธ์การพัฒนา PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ตลอดจน ทรัพยากรต่างๆ ระหว่างกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
  • 50. ขั้นตอนการพัฒนาคลัสเตอร์ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กระตุ้น / สร้างจิตสำนึกของการรวมกลุ่ม ให้เข้าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ (Promotion and Mobilization) วิเคราะห์สถานภาพของ คลัสเตอร์ (Diagnosis) จัดทำยุทธศาสตร์ ที่เป็นความเห็นร่วมกัน (Collaborative Strategy) นำไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)
  • 52. แนวคิดการสร้างเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร ( Agriculture - base Supply Chain network : Cluster Competitiveness ) เน้นการนำเอาแนวคิดและเครื่องมือ การพัฒนาคลัสเตอร์มาใช้ในการดำเนินงาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 53. แนวคิดการสร้างเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร ( Agriculture - base Supply Chain network : Cluster Competitiveness ) สร้างโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการระดม ทั้งความคิดและทรัพยากรในการสนับสนุนการการ พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน โดยมุ่งที่ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยมีการกำหนด เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กิจกรรม ที่เอื้อกันอย่างชัดเจน และก่อประโยชน์แก่ทุกฝ่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 54. ความหมาย เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร ( Agriculture - base Supply Chain network) เครือข่ายประเภทหนึ่งที่ประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มผู้ประกอบการตลอด สายการผลิตและองค์กรสนับสนุนการขับเคลื่อนผู้ประกอบการดังกล่าว ได้แก่ องค์กรด้านทุน การขนส่ง / บริการ สถาบันงานทางวิชาการ และ หน่วยงานภาครัฐ มาดำเนินงานร่วมกันโดยมุ่งเน้นที่กำหนดเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพของสินค้าเกษตรและการตลาดของสินค้าเกษตร เพื่อ นำมาวางยุทธศาสตร์ และ ดำเนินการการขับเคลื่อนการพัฒนาของกลุ่มสินค้าเกษตรของพื้นที่ให้สามารถแข่งขันได้ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 55. ประโยชน์ของเครือข่ายบูรณาการฯ เกิดการบูรณาการทางความคิด และการกำหนดยุทธศาสตร์ แผนงานกิจกรรมที่เพื่อการบรรลุเป้าหมายที่มีเจ้าภาพใน แต่ละกิจกรรมชัดเจน ความเข้าใจและความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในพื้นที่ใน การพัฒนากลุ่มสินค้าเกษตรหนึ่งๆ ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ปัญหาและการวางเป้าหมายการพัฒนาร่วมกัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 56. ประโยชน์ของเครือข่ายบูรณาการฯ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาผ่านกระบวนการกลุ่มเพื่อปฏิบัติและขับเคลื่อนกิจกรรม เกิดการพัฒนานัวตกรรมที่สามารถสร้างให้กลุ่มสินค้า การเกษตรมีความแตกต่างและได้เปรียบในการแข่งขัน เกิดการวางรากฐานของผลประโยชน์ร่วมกันที่นำมาสู่การร่วมมือเชิงแข่งขัน ( win win position ) ในกลุ่มผู้ผลิตตลอด supply chain
  • 57. ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายบูรณาการฯ กระตุ้น / สร้างจิตสำนึกของการรวมกลุ่ม ให้เข้าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ วิเคราะห์สถานภาพสินค้า และเครือข่าย กำหนดเป้าหมาย / ยุทธศาสตร์การพัฒนา ปฏิบัติ / ติดตาม / ประเมิน จัดเวทีแกนนำ วิเคราะห์ศักยภาพสินค้า / เครือข่ายเชิงลึก กำหนดแผนปฏิบัติ ภารกิจของสมาชิกเครือข่าย บูรณาการยุทศาสตร์ ในแผนพัฒนาพืชจังหวัด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร
  • 58. การคัดเลือกเครือข่ายบูรณาการฯ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร เป็นกลุ่มสินค้าเกษตรอาหารที่เป็นยุทธศาสตร์จังหวัด มีการกระจุกตัวและมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของจังหวัด ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมห่วงโซ่อุปทาน และมีความสนใจกระตือรือร้น
  • 59. ประเด็นนำเสนอ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ของประเทศกับการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน แนวคิดการสร้าง / พัฒนาเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน เครือข่ายภาคการผลิตทางการเกษตรภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน เครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร ( Agriculture- base Supply chain Network) เครื่องมือการวิเครห์ศักยภาพเครือข่ายบูรณาการและแนวทางการสร้างและพัฒนาเครือข่ายบูรณาการ แนวคิดการสร้าง / พัฒนาเครือข่ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร
  • 60. เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ศักยภาพสินค้า / เครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Analysis) การวิเคราะห์แผนภูมิเครือข่าย ( Cluster Mapping) การวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขัน ( Daimond Model Analysis)
  • 61. ห่วงโซ่อุปทาน ( Supply Chain) หมายถึงการเชื่อมต่อของหน่วยต่างๆในการผลิตสินค้าโดยเริ่มตั้งแต่ต้นสายการผลิตไปยังขั้นตอนการผลิตต่อๆมาจนถึง ลูกค้าผู้จัดจำหน่าย และลูกค้าที่เป็นผู้บริโภค ประโยชน์ เพื่อมองการเลื่อนไหลของสินค้าที่เครือข่ายผลิตตั้งแต่ต้นทางจนถึง ปลายทาง ซึ่งจะทำให้เครือข่ายเห็นภาพสินค้าของตนชัดเจน และ มองเห็นผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตของตน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน
  • 62. ตัวอย่างวิถีตลาดปาล์มน้ำมันไทย ส่งออก อาหารสัตว์ สบู่ โรงกลั่น ( ผสมน้ำมันมะพร้าว อาหาร ยา / สำอางค์ บริโภค ส่งออก น้ำมันเมล็ดใน ปาล์มดิบ น้ำมันปาล์มดิบ กรดปาล์ม น้ำมันบริสุทธิ์ไม่แยกไข ไขปาล์มบริสุทธิ์ น้ำมันบริสุทธิ์ใส น้ำมันพืช ของเหลือ ไบโอดีเซล PANEE ( 1) ชาวสวน ( 2) ลาน ( 3) โรงหีบ ( 4) โรงกลั่นบริสุทธิ์
  • 63. ตัวอย่าง ห่วงโซ่อุปทานของเห็ดจากทะลายปาล์ม ผู้จำหน่าย ทะลายปาล์ม ผู้ค้าเชื้อเห็ด ผู้ค้าวัสดุเพาะปัจจัยอื้นๆ ผู้ขนส่ง ทะลายปาล์ม เกษตรกร เพาะเห็ด ผู้รวบรวม ตลาดค้าส่งกรุงเทพ ตลาดในจังหวัด โรงแรม / ร้านอาหาร โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ผู้ บริโภค สด เส้นทางอนาคต เส้นทางปัจจุบัน PANEE
  • 64. กลุ่มเมล็ดพันธุ์ นำเข้า . ผลิตเอง กรมวิชา การฯ ผู้ผลิตกล้า สวนโรงงาน สวนใหญ่ สวนเกษตรกร ลานเทอิสระ โรงงาน โรงงานหีบใหญ่ โรงงานหีบย่อย โรงกลั่น ผู้ส่งออก โรงงานสบู่ ผู้จัดหา / ผู้ขนส่ง ผู้ผลิพลังงาน ทดแทน Bio desel ผู้ส่งออก บริโภค อุตสาหกรรมอาหาร อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมเคมี ประมง ? สหกรณ์ / กลุ่ม ตัวอย่าง 2 PANEE เมล็ด กล้า สวน ลาน หีบ ขนส่ง แปรรูป พ่อค้า แปรรูป จัดจำหน่าย
  • 65. หน่วยงาน / อุตสาหกรรมสนับสนุน บริการคำแนะนำ บริการเก็บเกี่ยว PANEE เมล็ด R&D กล้า เครื่องมือ LAB ปุ๋ย / ยา สวน เครื่องมือ LAB ปุ๋ย / ยา ลาน เครื่องมือ ขนส่ง หีบ เครื่องมือ LAB เครื่องจักร ขนส่ง เครื่องมือ ขนส่ง ศูนย์ รวบรวม โกดัง แปรรูป / พ่อค้า การบรรจุ เครื่องมือ LAB R&D เคมีภัณฑ์ บริการไซโล ขนส่ง บริการลุกค้า แปรรูป จัดจำหน่าย ที่พักสินค้า ท่าเรือ การขนถ่าย สินค้า
  • 66.
  • 67. ตัวอย่างแผนภูมิเครือข่าย PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร องค์กรวิจัยพัฒนา องค์กรพัฒนาเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ ธุรกิจบริการ / สนับสนุน ธุรกิจเกี่ยวข้อง ธุรกิจหลัก
  • 68. ตัวอย่าง แผนผังเครือข่าย บูรณาการเห็ดฟางจ . กระบี่ ( Krabi Mushroom Cluster Map ) ธุรกิจบริการ / สนับสนุน ธุรกิจหลัก ผู้ค้าเชื้อเห็ด ... ราย ผู้เพาะเห็ด ........... กลุ่ม ....... คน ผู้รับซื้อ ..... ราย หน่วยงานภาครัฐ เกษตรจังหวัด พาณิชย์จังหวัด การค้าภายในจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด อปท . สาธารณสุขจังหวัด ผู้ประกอบการขนส่ง ... ราย สถาบันการเงิน .......... ราย สถาบันรัลรองฯ ......... ราย ผู้ประกอบการส่งออก .. ราย PANEE ธุรกิเกี่ยวข้อง โรงหีบน้ำมันปาล์ม ........ โรง ผู้เพาะเชื้อเห็ด ........ ราย ผู้ค้าวัสดุเพาะ ........ ราย อุตสาหกรรมแปรรูป .. ราย องค์กรวิจัยพัฒนา วิทยาลัยเกษตรฯกระบี่ ชมรมเห็ดแห่งประเทศไทย องค์กรพัฒนาเครือข่าย สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาอุตสาหกรรมกระบี่ คลัสแตอร์ปาล์ม จ . กระบี่
  • 69.
  • 70. ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) - ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จาก ชีวมวล - อุตสาหกรรมอาหาร / ยา - ร้านค้าอิสระ เชื่อมโยงกับผู้ผลิตโดยตรง 92 ราย - ปุ๋ย / สารเคมี - ผ่านการรับรอง 23 ราย 42 ราย ( 6 อำเภอ ) 2 ธุรกิจเกี่ยวข้อง - แปลงเพาะกล้า สิ่งที่พบ ขนาด ประเด็น
  • 71.
  • 72. ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) PANEE คีนันแห่งเอเซีย 5 องค์กรพัฒนาเครือข่าย - ประกันภัยโรงงาน 4 ธุรกิจ / บริการสนับสนุน - สถาบันการเงิน - ธกส . - สหกรณ์ - ธนาคารพานิชย์ สิ่งที่พบ ขนาด ประเด็น
  • 73. ตัวอย่างการจัดทำรายละเอียดศักยภาพเครือข่าย ( ต่อ ) PANEE สนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายและกลุ่มการผลิตทั้งวงจร 5 ราชการส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาพลังงานทดแทน ( ไบโอดีเซล ) 4 กระทรวงพลังงาน กฎระเบียบการค้า 3 กระทรวงพาณิชย์ ส่งเสริมอุตสาหกรรม มาตรฐานกฎระเบียบโรงงาน การรับรองระบบโรงงาน 2 กระทรวงอุตสาหกรรม - กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม - กรมโรงงานอุตสาหกรรม การส่งเสริมการผลิต การรวมกลุ่ม สนับสนุนพันธุ์ดี รับรองพันธุ์ รับรองระบบการผลิต กฎระเบียบการผลิต 6 ส่วนภาครัฐ 1 กระทรวงเกษตรฯ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมวิชาการเกษตร ลักษณะงาน ประเด็น
  • 74. เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค และปัจจัยที่กำหนดความได้เปรียบในการแข่งขัน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน เครื่องมือ SWOT และ ไดมอนด์โมเดล ( Diamond Analysis)
  • 75. 4 ประเด็นสำคัญคือ - จุดอ่อน / แข็ง ของตัวเครือข่าย และสินค้าที่เครือข่าย ดำเนินการผลิต - จุดอ่อน / แข็ง ของปัจจัยด้านทรัพยากร แรงงาน ทุน เทคโนโลยีการ ผลิตของตัวสินค้า - โอกาส / อุปสรรคที่จะมีอุตสาหกรรมต่อเนื่องของสินค้าที่ผลิต - โอกาส / อุปสรรคในเรื่องของตลาดได้แก่ความต้องการ ความคาดหวัง และการมีส่วนแบ่งในตลาด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน การใช้ SWOT
  • 76.
  • 77. PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร Diamond Model บริบทการแข่งขัน และการดำเนิน กลยุทธ์ทางธุรกิจ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุน เงื่อนไขด้านตลาด เงื่อนไขของปัจจัยการผลิต รัฐบาล
  • 78. ประกอบด้วย วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน ที่ดิน เทคโนโลยี ความรู้ ระบบสาธารณูปโภคที่ครบถ้วนเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) ปัจจัยพื้นฐาน ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ต่ำแหน่งที่ตั้ง แรงงาน ชำนญ / ไม่ชำนาญ รวมถึงทุน ปัจจัยขั้นสูง ได้แก่ ระบบสาธารณูประโภค ระดับความรู้ความสามารถของบุคลากรทุกส่วนที่เกื้อหนุน ระดับการวิจัย และเทคโนโลยี
  • 79. ถ้ากลุ่มการผลิตมีปัจจัยที่มีความพร้อม ทั้งปริมาณที่หลากหลาย คุณภาพที่ดี สามารถยกระดับให้มีคุณภาพและขีดความสามารถ สูงขึ้น จะแสดงถึงระดับความได้เปรียบในการแข่งขันได้ ความได้เปรียบ พิจารณาที่ 1. ความพร้อม 2. สัดส่วนของปัจจัยที่มีในประเทศ 3. ความสามารถในการเสร้างเสริมและยกระดับให้มีคุณภาพ 4. ผลกระทบหากมีการปรับปรุงหรือลดทอน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ประเด็นพิจารณา สภาพของปัจจัยการผลิต (Factor Conditions)
  • 80. ความอ่อนไหวของการเปลี่ยนแปลงความต้องการสินค้าของผู้ซื้อ / การปรับตัวของตลาด PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของตลาด (Demand Conditions) จะมุ่งพิจารณาที่ตลาดภายในเป็นอันดับแรก ตลาดภายในถือว่าเป็นตัวบ่มเพาะความสามารถในการแข่งขัน ในขณะที่ตลาดภายนอกจะทำหน้าที่กระตุ้นและเป็นตัววางค่าเป้าหมายเปรียบเทียบถ้าตลาดภายในมีการแข่งขันมากจะเกิดความได้เปรียบในการแข่งขันสูง พิจารณาจาก ส่วนแบ่งตลาด / ขนาดตลาด การพัฒนาเพื่อสนองตอบต่อความต้องการในเรื่องคุณาภาพของผู้ซื้อ
  • 81. คือระดับเข้มแข็งของอุตสาหกรรมต่อเนื่องทั้งจากปัจจัย และอุตสาหกรรมที่ต่อยอดออกไป ยิ่งมีอุตสาหกรรมต่อยอดที่เข็มแข็ง ยิ่งได้เปรียบ ซึ่งพิจารณาถึง PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สภาพของอุตสาหกรรมที่สนับสนุน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง การเข้าถึงปัจจัยที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ระดับความร่วมมือระหว่างกัน ความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการยกระดับการผลิต
  • 82. คือระดับการแข่งขันกันของกลุ่มการผลิตหลักทั้งด้านราคาและคุณภาพที่นำมาสู่การสร้างและพัฒนานัตกรรมใหม่ๆ ที่สร้างโอกาสที่ได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น ระดับของความหนาแน่นของการกระจุกตัวของกลุ่มสินค้า PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กลยุทธ์ / โครงสร้างของกลุ่มการผลิตหลัก และสภาวะการแข่งขัน ความรุนแรงของการแข่งขัน ระดับความร่วมมือในเชิงนวัตกรรม
  • 83. คือการส่งเสริมและการขัดขวางของภาครัฐ ในเชิงนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบมางการค้า มาตรการสนับสนุน / ยกเลิก เป็นต้น PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร อิทธิพลที่กระทบต่อการสร้างโอกาส / อุปสรรค
  • 84.
  • 85.
  • 86. กำหนดเป้าหมายร่วมกัน = วิสัยทัศน์ กำหนดกรอบของเส้นทางที่จะเดิน = พันธกิจ กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ = เป้าประสงค์ กำหนดแนวทางการมุ่งสู่เป้าหมาย = กลยุทธ์ กำหนดวิธีการปฎิบัติตามแนวทาง = แผนปฏิบัติงาน PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร กำหนดทางเดินร่วมกัน
  • 87.
  • 88. 1. ต้องให้ประโยชน์แก่ทุกฝ่าย มิได้เฉพาะบางกลุ่ม 2. ต้องเกิดการเปลี่ยนถึงระดับที่มีนัยสำคัญ Quick win 3. ต้องตั้งอยู่บนสมมติฐานของข้อเท็จจริงและเที่ยงธรรม 4. เป็นที่รับรู้และเห็นชอบจากทุกฝ่าย 5. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการกำหนด โดยได้รับคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่มีนัยสำเร็จ
  • 89. PANEE กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร ตัวอย่างการวิเคราะห์และจัดทำยุทธศาสตร์ ปาล์มน้ำมัม ชุมพร . ppt เห็ดฟาง กระบี่. ppt
  • 90.
  • 91.
  • 92. ขอบคุณค่ะ แหล่งขอมูลประกอบการนำเสนอ สถาบันคีนันแห่งเอเชีย : คุณสุวิชา มิ่งขวัญ คุณเฉลียว วรรณสวัสดิ์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กลุ่มเครือข่าย ( คลัสเตอร์ ) ผักปลอดภัยภาคตะวันตก สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร GTZ - Business and Financial Services Component PANEE