การแจกแจงความน่าจะเป็น

การเเจกเเจงความน่าจะเป็นเเบบต่อเนื่อง
(Continuous Probability Distribution)
เสนอ
ผศ.ดร.วรพจน์ แซ่หลี
การเเจกเเจงความน่าจะเป็นของตัวเเปรสุ่มนั้นจะเรียกว่าเป็นการ
เเจกเเจงความน่าจะเป็นเเบบต่อเนื่องซึ่งมีการเเจกเเจงที่สาคัญเช่น
1.การเเจกเเจงเเบบสม่าเสมอ (Uniform Distribution)
2.การเเจกเเจงเเบบปกติ (Normal Distribution)
3.การเเจกเเจงเเบบเเกมมา (Gamma Distribution)
4.การเเจกเเจงเเบบเอ็กโปเนนเชียล (Exponential Distribution)
5.การเเจกเเจงเเบบไคเเสควร์ (Chi-Squared Distribution)
6.การแจกแจงที (t-Distribution)
7.การเเจกเเจงเอฟ (F-distribution)
การเเจกเเจงเเบบสม่าเสมอ
การเเจกเเจงเเบบสม่าเสมอ เป็นการเเจกเเจงของตัวเเปรสุ่ม x โดยที่ค่าของตัวเเปรสุ่ม
อยู่ในช่วง [a,b] ดังนั้น
f(x;a,b) =
1
𝑏−𝑎
, a ≤ x ≤ b
= 0 , x มีค่าอื่นๆ
ตัวอย่าง 1 โรงละครเเห่งหนึ่งใช้เวลาเเสดงละครเเต่ละเรื่อง
อย่างสม่าเสมอตั้งแต่ 60-90 นาที ให้x เป็นเวลาที่ละครเรื่อง
หนึ่งๆเเสดงที่โรงละครเเห่งนี้ จงหา
1.ฟังก์ชันหนาเเน่นความน่าจะเป็นของตัวเเปรสุ่ม X
2.ความน่าจะเป็นที่ละครเรื่องหนึ่งใช้เวลาเเสดงมากกว่า
80 นาที
วิธีทา 1.ฟังก์ชันความหนาเเน่นความน่าจะเป็นของตัวเเปรสุ่ม X ดังกล่าวคือ
f(x; 60,90) =
1
30
, 60 ≤ x≤ 90
2.ความน่าจะเป็นที่ละครเรื่องหนึ่งใช้เวลาแสดงมากกว่า 80 นาที
= P (x ≥ 80)
= 80
90 1
30
dx
=
1
30
𝑥 80
90
=
1
3
ทฤษฎีบท ถ้า x เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบ
สม่าเสมอในช่วง [a,b] จะได้ว่า
µ =
𝑎+𝑏
2
และ σ =
(𝑏−𝑎)2
12
2.การแจกแจงแบบปกติ
การแจกแจงแบบปกติ เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นที่สาคัญที่สุดเพราะเป็นการแจกแจงที่ได้ถูกนาไปใช้กัน
อย่างมากและแพร่หลาย กราฟของการแจกแจงปกติ แสดงได้ดังรูปที่ 1
µ
รูปที่ 1 โค้งปกติ
รูปของโค้งปกติ (Normal Curve) เป็นรูปโค้งแบบระฆัง ทั้งนั้นฟังก์ชันหนาแน่นความน่าจะเป็นของตัว
แปรสุ่มที่มีการแจกแจงปกติ เป็นดังนี้
n (x ; µ, σ) =
1
σ 2𝜋
𝑒
−
1
2
𝑥−µ
σ
2
, - ∞ < x < ∞
โดยที่ π = 3.14159… และ e = 2.71828…
โดยค่าเฉลี่ยของตัวแปรสุ่มเท่ากับ µ และความแปรปรวนเท่ากับ σ2
สมบัติที่สาคัญสาหรับปกติคือ
1. ฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากัน
2. โค้งปกติมีความสมมาตรกันแกน Y = µ
3. โค้งจะลู่ตามแกน X
4. พื้นที่ใต้โค้งปกติ กับแกน X มีค่าเป็น 1
• พารามิเตอร์ของการแจกแจงแบบปกติมี 2 ค่าคือ µ และ σ2 ซึ่งจากรูปที่ 2 กับรูปที่ 3 จะแสดงให้เห็น
ถึงรูปของโค้งปกติต่างๆ กัน
รูปที่ 2 โค้งปกติที่ µ1 < µ2 และ σ1
2 = σ2
2
รูปที่ 3 โค้งปกติที่ µ1 = µ2 และ σ1
2 < σ2
2
2.1 พื้นที่ใต้โค้งปกติ
(Areas Under Normal Curve)
สาหรับฟังก์ชันหนาแน่นความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มแบบปกติ การหาความน่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่ม X มี
ค่าอยู่ระหว่าง a กับ b หรือ P(a < x < b) จะเท่ากับ
a
b
n ( x; µ,σ2 ) dx = 𝑎
𝑏 1
σ 2π
𝑒
−
1
2
𝑥−µ
σ
2
dx
ซึ่งเทียบได้กับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติดังแสดงในรูปที่ 4
รูปที่ 4 พื้นที่ใต้โค้งปกติ แสดง P(a < x < b)
การหาค่าอินทิกรัลเพื่อที่จะหาพื้นที่ใต้โค้งปกตินั้น ไม่สามารถทาได้อย่างง่ายๆจึงได้มีการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้ง
ดังกล่าวในรูปของตาง ซึ่งตารางดังกล่าวจะเป็นตารางเมื่อค่าเฉลี่ยเป็น 0 และความแปรปรวนเป็น 1 เท่านั้น ดังนั้น
ในการหาพื้นที่ใต้โค้งปกติที่มีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนเป็นอย่างอื่น จาเป็นต้องเปลี่ยนให้เป็นโค้งปกติที่มีค่าเฉลี่ย
เป็น 0 และความแปรปรวนเป็น 1 เสียก่อน ทั้งนี้ทาได้โดยให้
Z =
𝑥−µ
σ
จะทาให้การแจกแจงแบบ n (x; µ, σ2 ) เปลี่ยนเป็นการแจกแจงแบบ n (z;0,1)
นั่นคือ n (z;0,1) =
1
2π
𝑒−
1
2
𝑧2
, - ∞ < z < ∞
การแจกแจงของตัวแปรสุ่มดังกล่าว เรียกว่าเป็นการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน ซึ่งพื้นที่ใต้โค้งปกติ ซึ่งใช้ใน
การหาความน่าจะเป็น อยู่ในตางภาคผนวก ก
ตัวอย่าง 2 กาหนดให้ X ที่เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบปกติ ที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 10 ความแปรปรวน
เป็น 16 จงหา
1. P(x < 15)
2. P(8 < x < 14)
3. P(x > 12)
วิธีทา จาก x ที่เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบปกติ n (x; 10, 16)
ให้ z =
(x−µ)
ơ
1. P (x < 15) = P (z <
15−10
4
)
= P (z < 1.25)
= 0.8944
2. P (8 < x < 14) = P (
8−10
4
< z <
8−10
4
)
= P (-0.5 < z < 1)
= P ( z < 1) - P( z < - 0.5)
= 0.8413 – 0.3085
= 0.5328
3. P (x > 12) = P(z >
12−10
4
)
= P(z > 0.5)
= 1 - P(z ≤ 0.5)
= 1 – 0.6915
= 0.3085
ตัวอย่าง 3 ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบปกติ n (x; 25, 10) จงหาค่า k ที่ทาให้
1. P(x < k) = 0.7967
2. P(k < x < 35) = 0.8151
วิธีทา 1. จากตารางจะได้ว่า P(z < 0.83) = 0.7967
จาก P(x < k) = 0.7967
P(z <
𝑘−25
10
) = 0.7967
นั่นคือ
𝑘−25
10
= 0. 83
หรือ k = 25 + 8.30 = 33.30
2. P(k < x < 35) = P(
𝑘−25
10
< z < 1)
= P(z < 1) - P(z <
𝑘−25
10
)
= 0.8413 - P(z <
𝑘−25
10
)
แต่ P(k < x < 35) = 0.8151
ดังนั้น P(x <
𝑘−25
10
) = 0.0262
แต่ P(z < -1.94) = 0.0262
ดังนั้น
𝑘−25
10
= -1.94
k = 25 – 19.40
= 5.60
ตัวอย่าง 4 ชุมชนแห่งหนึ่ง อายุเฉลี่ยของคนที่อยู่ในชุมชนนี้ มีการแจกแจงแบบปกติที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 50
ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6 ปี ถ้าเลือกคนหนึ่งจากชุมชนแห่งนี้ แล้วความน่าจะเป็นที่คนคนนี้จะมีอายุ
ระหว่าง 40 ปีถึง 60 ปีมีค่าเท่าใด
วิธีทา ให้ x = อายุเฉลี่ยของคนในชุมชนนี้
P(40 < x < 60) = P(
40−50
8
< z <
62−50
8
)
= P(-1.25 < z < 1.25)
= P(z < 1.25) – P(z < -1.25)
= 0.8944 – 0.1056
= 0.7888
2.2 ความสัมพันธ์กับการแจกแจงแบบทวินาม
สาหรับตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบทวินาม b (x; n, p) ถ้า n มีค่ามากๆแล้ว
การหาค่าความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X จะประมาณโดยการค่าของตัวแปรสุ่มที่มีการแจก
แจงปกติได้
ทฤษฎีบท ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบทวินาม b (x; n, p) มี
ค่าเฉลี่ย µ = np และความแปรปรวน ơ2
= np (1 – p) ถ้า z =
𝑥−𝑛𝑝
𝑛𝑝 (1−𝑛𝑝)
และ n มีค่ามากๆ แล้ว Z จะเป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจง
แบบปกติมาตรฐาน n(z; 0, 1)
ตัวอย่างเช่น ถ้า x เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบทวินาม b(x; n, p)
P(8 ≤ x ≤ 10) = 𝑥=8
10
(x; 20, 0.4)
= 0.8725 – 0.4159
= 0.4566
จาก µ = np = 20(0.4) = 8
ơ2
= np(1 – p) = 20(0.4)(0.6) = 4.8
Ơ = 2.191
P(8 ≤ x ≤ 10) = P(
7.5−8
2.191
≤ z ≤
10.5−8
2.191
)
= P(-0.23 ≤ z ≤ 1.14)
= P(z ≤ 1.14) - P(z ≤ 0.23)
= 0.8729 – 0.4090
= 0.4639
จะเห็นได้ว่า ค่าความน่าจะเป็นที่ได้จากการใช้การเเจกเเจงเเบบทวินามกับ ค่าความน่าจะ
เป็นที่ใช้การเเจกเเจงเเบบปกติมาตรฐาน ก็ไม่ได้เเตกต่างกันมากนัก
ข้อสังเกต ในกรณีที่หาค่าความน่าจะเป็นที่ P(a ≤ x ≤ b) โดยที่ a,b เป็นค่าของ
ตัวเเปรสุ่มทวินามนั้น เนื่องจากการเเจกเเจงเเบบทวินามเป็นการเเจกเเจงเเบบไม่ต่อเนื่อง
เมื่อจะนามาหาค่าความน่าจะเป็น โดยใช้การเเจกเเจงเเบบปกติมาตรฐานที่เป็นการเเจก
เเจงเเบบต่อเนื่องจาเป็นต้องปรับค่าของตัวเเปรสุ่มความถูกต้องมากยิ่งขึ้น อย่างเช่นใน
ตัวอย่างดังกล่าว P(8 ≤ x ≤ 10) เมื่อจะหาความน่าจะเป็นเเบบปกติมาตรฐาน
จาเป็นต้องปรับค่า 8 ให้เป็น 7.5 เเละปรับค่า 10 ให้เป็น 10.5
จะเห็นได้ว่า ค่าความน่าจะเป็นที่ได้จากกาใช้การแจกแจงแบบทวินามกับ ค่าความน่าจะเป็นที่ใช้การแจกแจง
แบบปกติมาตรฐาน ก็ไม่ได้แตกต่างกันมาก
ข้อสังเกต ในกรณีที่หาค่าความน่าจะเป็นที่ P(a ⩽ x ⩽ b) โดยที่ a,b เป็นค่าของตัวแปรสุ่มทวินามนั้น
เนื่องจากการแจกแจงแบบทวินามเป็นการแจกแจงแบบไม่ต่อเนื่อง เมื่อจะนามาหาค่าความน่าจะเป็น โดยใช้การ
แจกแจงแบบปกติมาตรฐานที่เป็นการแจกแจงแบบต่อเนื่องจาเป็นต้องปรับค่าของตัวแปรสุ่มเพื่อให้มีความ
ถูกต้องมากยิ่งขึ้น อย่างเช่นในตัวอย่างดังกล่าว P(8 ⩽ x ⩽ 10) เมื่อจะหาความน่าจะเป็นแบบปกติ
มาตรฐานจาเป็นต้องปรับค่า 8 ให้เป็น 7.5 และปรับค่า 10 ให้เป็น 10.5
3. การแจกแจงแบบแกมมา
ถึงแม้ว่าการแจกแจงแบบปกติ จะมีการใช้กันอย่างมาก อย่างไรก็ตามมีบางฟังก์ชันที่เป็น
ตัวแปรสุ่มแบบต่อเนื่อง ที่มีการนาไปประยุกต์ใช้ในหลายเรื่อง เช่นในการจาลองระบบงานต่างๆ เป็นต้น
การแจกแจงดังกล่าวคือ การแจกแจงแบบแกมมาซึ่งมีฟังก์ชันความหนาแน่นจะเป็นคือ
1
Γ ⍺ β⍺ 𝑥⍺−1 𝑒
−
𝑥
𝛽 , x >0
f(x ;⍺,β) =
0 , x มีค่าอื่นๆ
ทั้งนี้ ⍺ > 0 และ β > 0
ทฤษฎีบท ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่มแบบแกมมา f(x ;⍺,β) แล้ว µ = ⍺β และ σ2 = ⍺β2
⍺ = 1 , β = 1
⍺ = 4 , β = 1
รูปที่ 5 การแจกแจงแบบแกมมา
สาหรับค่าของ Γ (⍺) นั้นเรียกว่าเป็น ฟังก์ชันแกมมา (Gamma Function)
นิยามโดย
Γ (⍺) = 0
∞
𝑥⍺−1 𝑒−𝑥 𝑑𝑥 , ⍺ > 0 โดยทั่วไปแล้ว Γ (⍺) = (⍺-1)
Γ(⍺-1)
ถ้า ⍺ = เป็นจานวนเต็มบวก จะได้ว่า Γ (⍺) = (⍺-1)!
และสาหรับ ⍺ =
1
2
จะได้ว่า Γ (
1
2
) = 𝜋
4.การแจกแจงแบบเอกซ์โปเนนเชียล
การแจกแจงแบบแกมมา โดยทั่วไปอาจมีที่นาไปใช้ไม่มากเท่าใดนัก แต่
สาหรับการแจกแจงแกมมาที่มีค่าพารามิเตอร์ ⍺ = 1 หรือ
f(x; β) =
1
βΓ(1)
𝑒
−
1
β , x > 0
= 0 , x มีค่าอื่นๆ
หรือเขียนใหม่ได้เป็น
f(x; β) =
1
β
𝑒
−
𝑥
β , x > 0
= 0 , x มีค่าอื่นๆ
เรียกการแจกแจงนี้ว่าเป็นการแจกแจงแบบเอกซ์โปเนนเชียลโดยที่มี
µ = β และ σ2 = β2
การแจกแจงแบบเอกซ์โปเนนเชียลนี้ ได้ถูกนาไปใช้กันอย่างมากในเรื่องของทฤษฎี
ความน่าเชื่อถือ (ReliabilityTheory) ในเรื่องของการจาลอง
(Simulation)และการนาไปประยุกต์ในเรื่องของระบบแถวคอย
(Queuing System) เป็นต้น
ตัวอย่าง 5 เครื่องจักรเครื่องหนึ่ง พบว่าเวลาเฉลี่ยที่เครื่องจะเสีย (MeanTime Of
Failure) เท่ากับ 5 วัน ถ้าติดตั้งเครื่องจักรนี้ ความน่าจะเป็นที่เครื่องจักรนี้จะยังคงทางานหลังจาก
ที่เครื่องเสียนั้น มีการแจกแบบเอกซ์โปเนนเชียล
วิธีทา ให้T เป็นเวลาที่เครื่องจะเสีย
P (เครื่องจักรยังคงทางานหลักจาก 5 วัน)
= P(T > 8)
= 8
∞ 1
5
𝑒−
𝑥
5dx
= − 𝑒−
𝑥
5
8
∞
= − 0 − 𝑒
−8
5
= 𝑒
−8
5
= 0.202
5.การแจกแจงแบบไคแสควร์
การแจกแจงแบบไคแสควร์ เป็นการแจกแจงที่ได้จากการแจกแจงแบบแกมมา
เช่นกัน ทั้งนี้ การแจกแจงไคแสควร์จะเป็นการแจกแจงแบบแกมมาโดยที่ α =
𝑣
2
และ
β = 2 โดยมีฟังก์ชันหนาแน่นความน่าจะเป็นเป็นดังนี้
f ( x;v) =
1
Γ
𝑣
2
2
𝑣
2
𝑥
𝑣
2
−1
𝑒−
𝑥
2 , x > 0
โดยที่ v เป็นจานวนเต็มบวก
ทั้งนี้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ µ = v และความแปรปรวนเท่ากับ ơ2= 2v
การแจกแจงแบบไคแสควร์ มีบทบาทหน้าที่สาคัญมากทางด้านสถิติโดยเฉพาะเรื่องที่
เกี่ยวกับการประมาณค่า (Estimation)และการทดสอบสมมติฐาน(Hypothesis Testing)
6.การแจกแจงที (t-Distribution)
ในปี ค.ศ. 1908 กอสเสต (W.S Gosset) เป็นผุ้ค้นพบ
สมการของการแจกแจงความน่าเป็นของตัวแปรสุ่มที ขณะนั้น
กอสเสตทางานให้กับโรงงานต้มกลั่นของพวกไอริช ซึ่งห้ามเจ้าหน้าที่
ของโรงงานพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงข้อบังคับนี้
กอสเสต จึงพิมพ์ผลงานของเขาในนาม “สติวเดนท์” (student) บาง
ครั้งจึงเรียกการแจกแจงทีว่า “การแจกแจงสติวเดนท์ t ”
(student’s t- distribution) และอาจเรียกสั้นๆว่า การแจกแจงที
ให้ Z เป็นตัวแปรสุ่มมีการแจกแจงปกติมาตรฐาน และ V เป็นตัวแปรสุ่มไคสแควร์ มี
ระดับชั้นความเสรีเป็น v ถ้า Z และ V เป็นอิสระต่อกัน การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม
𝑇 =
𝑧
𝑉
𝑣
จะมีฟังก์ชันความน่าจะเป็นคือ
h(t) =
𝛤
𝑣+1
2
𝛤
𝑣
2
𝜋𝑣
1 +
𝑡2
𝑣
−
𝑣+1
2
; − ∞ < 𝑡 < ∞
ซึ่งเป็น ฟังก์ชันความน่าจะเป็นของการแจกแจงที มีระดับขั้นความเสรี v
ตัวแปรสุ่มที่มี ค่าเฉลี่ย μ=0
และความแปรปรวน 𝜎2 =
𝑣
𝑣−2
เมื่อ 𝑣 ≥ 3
การแจกแจงที และ การแจกแจงปกติมาตรฐาน Z คล้ายกัน คือต่างก็มีการแจกแจงเป็นรูป
ระฆัง มีสมมาตรกับค่าเฉลี่ยเลขคณิตซึ่งเท่ากับ 0 แต่การแจกแจงที มีการเปลี่ยนแปลงค่าได้
มากกว่าโดยขึ้นอยู่กับค่าของระดับชั้นความเสรี
รูปที่ 6 การแจกแจงที
รูปที่ 6 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การแจกแจงปกติ (ตรงกับการแจกแจงที โดยมีระดับขั้น
ความเสรี v=∞ ) และการแจกแจงที ซึ่งมีระดับชั้นความเสรี เป็น 2 และ 5
คุณสมบัติของโค้งของการแจกแจงที
1.ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และ ฐานนิยมมีค่าเท่ากับ μ=0
2.โค้งมีสมมาตรกับแกนตั้งที่ลากผ่าน μ
3.พื้นที่ทั้งหมดที่อยู่ใต้เส้นโค้ง และอยู่เหนือแกน t มีค่าเป็น 1
รูปที่ 7 รูปที่ 8
4 .ความน่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่ม t อยู่ระหว่างค่าที่กาหนดให้จะเท่ากับพ้นที่ภายใต้โค้งของการ
แจกแจง t ซึ่งอยู่ระหว่างเส้นออร์ดิเนตของค่าที่กาหนดให้ทั้งสองนั้น
P(a<t<b)=พื้นที่ภายใต้โค้งบนช่วง a ถึง b
รูปที่ 9
การเปิดตารางสถิติ (ตารางที่4) หาค่า 𝑡 𝛼
1.กาหนดค่า α=0.01
2.กาหนดระดับขั้นความเสรี v=4
ข้อตกลง เมื่อกาหนดระดับขั้นความเสรี v ค่า 𝑡 𝛼แทนค่าของ t ซึ่งมี
พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งทางหางด้านขวาเท่ากับ α นั่นคือP(t>𝑡 𝛼)=α
ค่าจากตารางคือ 3.747 เพราะฉะนั้น t0.01=3.747 นั้นคือ
P(t>3.747)=0.01เพราะว่า เส้นโค้งของการแจกแจงที มีสมมาตรกับแกนตั้งที่ลาก
ผ่านค่าเฉลี่ยเลขคณิต µ ซึ่งเท่ากับ 0
เพราะฉะนั้น t1−α= −tαและ P(−tα
2
< t < tα
2
) = α
ตัวอย่าง กาหนดให้ t เป็นตัวแปรสุ่มที ซึ่งมีระดับขั้นความเสรี v=5
จงหาค่าของ a ที่ทาให้ P(|t|<a )=0.90
วิธีทา การหาค่า a ที่ทาให้ P( t < a)=0.90
P −a < t < a =0.90
P −t0.05 < t < t0.05 =0.90
7.การเเจกเเจงเอฟ (F-distribution)
การเเจกเเจงที่สาคัญอีกเเบบหนึ่งก็คือ การเเจกเเจงเอฟ ตัวเเปรสุ่ม F คืออัตราส่วน
ระหว่างตัวเเปรสุ่มไคสเเควร์ 2 ค่า ซึ่งเป็นอิสระต่อกัน เเละต่างหารด้วย ระดับขั้นความเสรี
ดังนั้นจะได้ว่า 𝐅 =
𝐔
𝐯 𝟏
𝐕
𝐯 𝟐
มีฟังก์ชัน
ความน่าจะเป็น h(f) =
ค่าเฉลี่ย μ =
𝑣1
𝑣2−2
เมื่อ 𝑣2 > 2 ความเเปรปรวน 𝜎2
=
2𝑣2(𝑣1+𝑣2+2)
2
𝑣2+4 𝑣1 𝑣2−2 2
เมื่อ 𝑣2 > 4
ระดับขั้นความเสรี ของตัวเเปรไคสเเควร์ที่เป็นเศษจะถูกกล่าวถึงก่อนเสมอ ตามด้วยระดับขั้นความเสรีของ
ตัวเเปรไคสเเควร์ที่เป็นส่วน ดังนั้นการ เเจกเเจงเอฟ ไม่เพียงเเต่ขึ้นอยู่กับค่า 𝑣1, 𝑣2เท่านั้นยังขึ้นอยู่
กับลาดับที่กล่าวถึง 𝑣1, 𝑣2 ด้วย
รูปที่ 11
ความหมายของ 𝑓𝛼,(𝑣1,𝑣2)หรือ{ 𝑓𝛼,}ในกรณีที่กาหนดระดับขั้นความเสรี 𝑣1, 𝑣2 หรือ
𝑓𝛼, 𝑣1, 𝑣2 จะได้ว่า 𝑃(𝐹 > 𝑓𝛼) = 𝛼
เมื่อกาหนดค่า 𝑣1, 𝑣2เราก็จะทราบค่าFได้จากตารางที่กาหนดเป็นค่าของตัวเเปรสุ่มเอฟ ซึ่งมี
พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งทางด้านขวาของค่า 𝑓𝛼เท่ากับαเเสดงในรูปที่…โดยส่วนที่เเรเงา
การเปิดตารางที่6ตารางค่าวิกฤตการเเจกเเจงเพื่อหาค่า 𝑓0.05, 𝑣1 = 5, 𝑣2 = 4
1.เลือกตารางสาหรับค่าα=0.05
2.เลือกหลักที่ 𝑣1 = 5 … 1
3.เลือกเเถวที่ 𝑣2 = 4 … 2
ได้ค่าจากตารางคือ 6.26
การแจกแจงความน่าจะเป็น
เพราะฉะนั้น 𝑓0.05 𝑣1 = 5, 𝑣2 = 4 = 6.26 หรือกล่าวได้ว่า
𝑃(𝐹 > 6.26) = 0.05
ทฤษฎีบท ถ้า 𝑓𝛼, 𝑣1, 𝑣2 คือค่า 𝑓𝛼ซึ่งมีระดับขั้นความเสรีเท่ากับ 𝑣1เเละ 𝑣2จะได้ว่า
𝑓
1−𝛼,(𝑣1, 𝑣2)=
1
𝑓 𝛼,(𝑣2, 𝑣1)
ตัวอย่างเช่น
𝑓0.95,(3,5) =
1
𝑓0.05,(3,6)
=
1
4.76
= 0.210
𝑓0.95,(3,5) =
1
𝑓0.05, 5,3
=
1
9.01
= 0.111
ตัวอย่าง กาหนดให้ F เป็นตัวเเปรสุ่มเอฟ ที่มีระดับขั้นความเสรี 𝑣1 = 9 เเละ 𝑣2= 5
จงหา ก. 𝑃 0 < 𝐹 < 4.77 ข.ค่า 𝑃(𝐹 > 𝐾) = 0.05
วิธีทาจากตารางค่าวิกฤตของการเเจกเเจงเอฟจะได้ว่า 𝑓0.05,(𝑣1=9,𝑣2=5) =4.77
รูปที่ 12
เพราะฉะนั้น 𝑃 0 < 𝐹 < 4.77 = 0.95 เเละ 𝐾 = 4.77
จบการนาเสนอ
ขอบคุณที่รับชม
สมาชิกกลุ่มที่ 2
นางสาวรุสมี แวเย็ง รหัสนักศึกษา 405704004
นางสาวสุรดา สุรพงษ์ รหัสนักศึกษา 405704014
นายสารีฟฟูดดีน สาเมาะ รหัสนักศึกษา 405704023
นางสาวนูรีย๊ะ ยะระ รหัสนักศึกษา 405704025
นางสาวมูนีเราะห์ สูนาอาเล๊าะ รหัสนักศึกษา 405704034
1 de 48

Más contenido relacionado

La actualidad más candente(20)

ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
ดา ดาลี่72.5K vistas
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
ANNRockART62.8K vistas
ตารางการแจกแจง Fตารางการแจกแจง F
ตารางการแจกแจง F
Jaturapad Pratoom101K vistas
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Janova Kknd121.5K vistas
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม70.7K vistas
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak145K vistas
Rate012Rate012
Rate012
weerabong 12.3K vistas
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme115.4K vistas
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
Jaturapad Pratoom234.9K vistas

Similar a การแจกแจงความน่าจะเป็น

บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdfsewahec743
245 vistas74 diapositivas
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdfsewahec743
44 vistas25 diapositivas
Calculus1Calculus1
Calculus1eakbordin
1.4K vistas17 diapositivas

Similar a การแจกแจงความน่าจะเป็น(16)

บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdf
sewahec743245 vistas
Ch06(stat1 normal curve(ok)Ch06(stat1 normal curve(ok)
Ch06(stat1 normal curve(ok)
Kittichet Sawatthanasakul936 vistas
อนุพันธ์ของฟังก์ชันอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
CC Nakhon Pathom Rajabhat University4.1K vistas
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdf
sewahec74344 vistas
Calculus1Calculus1
Calculus1
eakbordin1.4K vistas
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
Thana Chirapiwat1.4K vistas
97897403303639789740330363
9789740330363
CUPress1.5K vistas
Real (1)Real (1)
Real (1)
guest0cb30c2860 vistas
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
Arocha Chaichana43.5K vistas
RealReal
Real
ksupha3.6K vistas
Math9Math9
Math9
krusangduan542.7K vistas
บทที่10.pdfบทที่10.pdf
บทที่10.pdf
sewahec74344 vistas
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
Wk Kal2.2K vistas
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
ธีรวุฒิ อภิปรัชญาฐิติ?8.5K vistas

การแจกแจงความน่าจะเป็น