SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(Sustainable Tourism)
ดร. สมยศ โอ่งเคลือบ
ภาควิชาการท่องเที่ยว
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Email: somyot.o@cmu.ac.th
1
การอบรมมัคคุเทศก์ ประจาปี 2558
สาขาวิชาการท่องเที่ยว ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องค์ประกอบของการท่องเที่ยว
ทรัพยากร
การท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ชุมชน
ท้องถิ่น
2
องค์ประกอบของสินค้าทางการท่องเที่ยว
สิ่งดึงดูดใจ
• ธรรมชาติ
• มนุษย์สร้าง
• วัฒนธรรม
สิ่งอานวยความ
สะดวกและบริการ
• ที่พัก
• ร้านอาหาร
• ร้านขายของที่ระลึก
• ความบันเทิง
• ฯลฯ
การเข้าถึง
• ถนนหนทาง
• สาธารณูปโภค
• ระบบขนส่ง
• กฎหมาย กฎระเบียบ
• ฯลฯ
3
องค์ประกอบของสินค้าทางการท่องเที่ยว
• สิ่งดึงดูดใจAttraction
• สิ่งอานวยความสะดวกAmenity
• ความสามารถในการเข้าถึงAccessibility
• กิจกรรมActivity
• ที่พักAccommodation
3 As
5 As
4
ทาไมต้องเที่ยวอย่างยั่งยืน?
5
อุตสาหกรรมที่เติบโตเร็ว
มากๆ
การท่องเที่ยว
6
การเติบโตอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2493 20 ล้านคน
2543 696 ล้านคน
2545 715 ล้านคน
2550 898 ล้านคน
7
50 ปี
เพิ่มขึ้น
34.8 เท่า
2 ปี เพิ่มขึ้น
19 ล้านคน
5 ปี เพิ่มขึ้น
183 ล้านคน
การเติบโตของปริมาณนักท่องเที่ยวทั่วโลก
ที่มา: WTO (2008) 8
การท่องเที่ยวส่งผลอย่างไรบ้าง?
ด้านบวก?
ด้านลบ?
9
ผลกระทบของการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
10
11
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
ผลดี
• สร้างรายได้
• สร้างงาน
ผลเสีย
• ภาวะเงินเฟ้ อ
• ค่าครองชีพสูงขึ้น
• ภาวะพึ่งพาการท่องเที่ยว
12
The multiplier effect
13
ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม
ผลดี
• สร้างงาน
• สร้างความเจริญ
• เกิดการฟื้นฟูศิลปะ หัตถกรรม ภูมิปัญญา
• เกิดการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี
• สถาปัตยกรรมได้รับการดูแลรักษาและ
ฟื้นฟู
• สถานที่สวยงามได้รับการปกป้ อง ดูแล
รักษา
ผลเสีย
• ความวุ่นวาย แออัด
• เกิดการละทิ้งอาชีพเดิม
• เกิดการพึ่งพาการท่องเที่ยวมากเกินไป
• ต้องปรับวิถีชีวิตให้เข้ากับนักท่องเที่ยว
• เกิดการเลียนแบบนักท่องเที่ยว
• เกิดการรับเอาวัฒนธรรมต่างชาติ
• อาชญากรรม
14
Demonstration effect
15
Acculturation theory
‘MacDonaldization’
‘Coca-colaization’
16
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ผลดี
• ธรรมชาติที่สวยงามได้รับการปกป้ อง
• เกิดการปกป้ อง ดูแลรักษา ทั้ง
ธรรมชาติ และสิ่งก่อสร้าง ที่ดึงดูด
นักท่องเที่ยว
• รายได้จากการท่องเที่ยวสามารถ
นาไปใช้ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ผลเสีย
• ขยะ
• ความวุ่นวาย แออัด รถติด เสียงดัง
• มลภาวะทางอากาศ เสียง และอื่นๆ
• เกิดทัศนอุจาด
• เหล่านี้ย่อมส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ด้วย
17
ผลกระทบจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไร?
• ปริมาณนักท่องเที่ยว
• ประเภทของนักท่องเที่ยว
• ประเภทของกิจกรรมการท่องเที่ยว
• ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่มี ระบบกาจัดขยะ ระบบกาจัดน้าเสีย
• อื่นๆ ..
ขยะบนดอยหลวงเชียงดาว สงกรานต์ที่ภูเก็ต
ฟูลมูน ปาร์ตี้
เกาะพงัน
18
19
Butler’s ‘Lifecycle models’
Involvement
Exploration
Development
Consolidation
Stagnation
Criticalcarrying
capacity threshold
(Decline)
(Continued stagnation)
Number of visitors (Rejuvenation)
Figure: The Butler Sequence / the destination cycle of evolution
Source: Butler (1980 cited in Weaver & Lawton 2002, p. 309; 1999, p. 15)
20
Stage Characteristic
Exploration Few adventurous tourist, visiting sites with no public facilities
Visitors attracted to the destination by a natural physical feature
Specific visitor type of a select nature
Involvement Limited interaction between local residents and the developing tourism
industry leads to the provision of basic services
Increased advertising induces a definable pattern of seasonal variation
Definite market area begins to emerge
Development Development of additional tourist facilities and increased promotional
efforts
Greater control of the tourist trade by outsiders
Number of tourist a peak periods far outweighs the size of the resident
population, inducing rising antagonism by the latter towards the former
Consolidatio
n
Tourism has become a major part of the local economy, but growth rates
have begun to level off
A well-delineated business district has taken shape
Some of he older deteriorating facilities are perceived as second rate
Local efforts are made to extend the tourist season
Stagnation Peak numbers of tourists and capacity levels are reached
The destination has a well-established image, but it is no longer in fashion
The accommodation stock is gradually eroded and property turnover rates
are high
Post-
stagnation
A number of possibilities, reflecting a range of options that may be
followed, depending partly on the success of local management decisions.
At either extreme are rejuvenation and decline
Source:
Adapted from Mason (2003, p. 24)
21
Chang Noi (a pseudonym)
in The Nation (Thai news paper)
• Stage 1: Start with a place of outstanding beauty … Impose absolutely no
controls. Allow get-rich-quick entrepreneurs to encroach on the beach,
blow up the rocks, scatter garbage and pour concrete everywhere.
• Stage 2: The resort is now popular but rapidly losing its natural charm.
Add large quantities of sex and comfort. Build large, luxurious hotels.
Import lots of girls.
• Stage 3: By now the natural beauty is totally obliterated. The seafront is an
essay in bad architecture. The hinterland is a shanty town of beer bars.
Develop the remains as a male fantasy theme park. Add anything with
testosterone appeal – big motorbikes, shooting ranges, boxing rings,
archery. Bring in more and more girls (and boys).
(Mowforth & Munt 2003, p. 84)
ภาวะโลกร้อน
22
23
สัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ปี 2005
ที่มา: UNWTO & UNEP (2007)
24
ทาไมต้องเที่ยวอย่างยั่งยืน?
การท่องเที่ยวต้องอาศัยทรัพยากร
ที่ผ่านมามีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า
แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม
ภาวะโลกร้อนทาให้ทั่วโลกตระหนักถึงความยั่งยืน
25
การประชุมสุดยอดเรื่องสิ่งแวดล้อม Earth Summit 1992
เป็นจุดผลักดันให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
จากกระแสการพัฒนาการท่องเที่ยว 3 ประการ กล่าวคือ
ความต้องการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
นักท่องเที่ยวสนใจ
การท่องเที่ยวเพื่อ
การเรียนรู้
ความต้องการในการพัฒนาคนและ
ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วม
ของชุมชนท้องถิ่น
26
1. กระแสความต้องการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
27
28
เมืองอัมสเตอร์ดัม,
ประเทศเนเธอร์แลนด์
ผู้คนใช้แต่จักรยาน
29
การพัฒนากับการอนุรักษ์
มักสวนทางกัน
30
อ.สมยศ โอ่งเคลือบ 31
การพัฒนาในอดีต
เน้นพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่คานึงถึงความเสียหาย
ของทรัพยากรธรรมชาติ
เน้นเกษตรกรรม
เพื่อการส่งออก
ทรัพยากรป่าไม้ถูก
ทาลาย
สร้างเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟ้า
สนองอุตสาหกรรม
พื้นที่ป่าถูกน้าท่วม
32
กระแสโลก
“การสร้างความสมดุลระหว่าง
การพัฒนากับการอนุรักษ์”
2. นักท่องเที่ยวสนใจ
การท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มากขึ้น
33
34
มิวเซียมสยาม
35
อ.สมยศ โอ่งเคลือบ 36
Tourism in metamorphosis
Old tourists
• Search for the sun
• Here today gone tomorrow
• Having
• Like attractions
• Eat in hotel dinning room
• Homogeneous
New tourists
• Search for the new experience
• See and enjoy but not destroy
• Being
• Like activities
• Try out local food
• Hybrid
37
Global Lifestyles:
• 1980 นิยมการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเยี่ยมชม
โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ อนุสรณ์สถานต่างๆ
• 1990 นิยมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ศิลปะการแสดงของท้องถิ่น
• 2000 นักท่องเที่ยวนิยมรูปแบบการท่องเที่ยวที่
เป็นวิถีชีวิตมีค่านิยมว่าการท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่ง
ของประสบการณ์ชีวิต
เกิดการท่องเที่ยวทางเลือก
(NEW TOURISM / ALTERNATIVE TOURISM
จากการท่องเที่ยวในรูปแบบเดิมๆ...
38
3. ความต้องการในการพัฒนาคน
และให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วม
ของชุมชนท้องถิ่น
39
อ.สมยศ โอ่งเคลือบ 40
พัฒนาการท่องเที่ยวที่ผ่านมา
ผู้ดาเนินการ
ไม่ใช่คนในพื้นที่
คนในพื้นที่ไม่มีส่วนใน
การดาเนินงาน
ผลประโยชน์
เจ้าของกิจการได้รับ
ผลเสียหายของ
ธรรมชาติ ชุมชนท้องถิ่น
เป็นผู้รับ
แหล่งท่องเที่ยว
เสื่อมโทรม
ผู้ประกอบการย้ายไปที่
ใหม่
41
การบุกเบิกพื้นที่ท่องเที่ยวใหม่...
...ชุมชนกลายเป็นผู้ถูกท่องเที่ยว
แนวโน้มอื่นๆ
42
43
ใส่ใจสุขภาพทั้งกายและใจ
44
45
รูปแบบการท่องเที่ยวในปัจจุบัน
• Slow Food (Gastronomy) - Slow Travel Slow Food
• Interior & Design
• Pop Culture Tourism
• Connectivity & Digital World
• Medical & Wellness Tourism
• Fashion and Shopping
• Landscaping & iconic landmark building
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมายอย่างง่าย
หมายถึง รูปแบบการท่องเที่ยวที่สามารถ
ดารงคุณค่า หรือประโยชน์ของพื้นที่ได้
ยาวนานไม่มีที่สิ้นสุด (Butler, 1993)
46
หลักการท่องเที่
“เป็นลักษณะของการท่องเที่ยวที่นาไปสู่
การจัดการทรัพยากรที่ตอบสนองต่อความต้องการ
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียะ
ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งวัฒนธรรม ระบบนิเวศ
และระบบต่าง ๆ ที่เอื้อต่อชีวิต"
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมายโดยองค์การท่องเที่ยวโลก (WTO)
47
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
สมดุล
48
การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(Sustainable Tourism Development)
หมายถึง การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ตอบสนองความ
ต้องการของนักท่องเที่ยว และมีการบริหารจัดการ
โดยการปกป้องรักษาระบบนิเวศ และอัตลักษณ์
ท้องถิ่น (UNWTO, 1994)
49
หลักการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
โดย The Global Sustainable Tourism Criteria
1. วางแผนการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ดาเนินการโดยยึดถือผลประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจและ
สังคมแก่ชุมชนท้องถิ่น
3. ส่งเสริมและสนับสนุนมรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ตลอดไป
4. ลดผลกระทบทางลบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ”
50
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
1. การอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างพอดี ทั้งที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติสังคม
และวัฒนธรรม เป็นสิ่งสาคัญ และเป็นแนวทางการทาธุรกิจในระยะยาว (Using
Resource Sustainably)
2. การลดการบริโภคที่มากเกินจาเป็น และการลดของเสีย จะเลี่ยงการทาลาย
สิ่งแวดล้อมในระยะยาว และเพิ่มคุณภาพของการท่องเที่ยว (Reducing Over -
consumption and Waste)
3. การรักษาและส่งเสริมความหลากหลายของธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม ที่
มีความสาคัญต่อการท่องเที่ยวในระยะยาว และช่วยขยายฐานของอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว (Maintaining Diversity)
4. การประสานการพัฒนาการท่องเที่ยวเข้ากับกรอบแผนการพัฒนาชาติ การ
พัฒนาท้องถิ่น และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จะช่วยขยายศักยภาพ
การท่องเที่ยวในระยะยาว (Integrating Tourism into Planning)
51
5. การท่องเที่ยวที่รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยพิจารณาด้าน
ราคาและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมไว้ไม่เพียงแต่ทาให้เกิดการประหยัด แต่ยัง
ป้องกันสิ่งแวดล้อมไม่ให้ถูกทาลายอีกด้วย (Supporting Local Economics)
6. การมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ของท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ไม่เพียงแต่สร้างผลตอบแทน
แก่ประชากรและสิ่งแวดล้อมโดยรวมแต่ยังช่วยยกระดับคุณภาพการจัดการ
การท่องเที่ยวอีกด้วย (Involving Local Communities)
7. การปรึกษาหารือกันอย่างสม่าเสมอ ระหว่างผู้ประกอบการ ประชาชน
ท้องถิ่น องค์กรและสถาบันที่เกี่ยวข้อง มีความจาเป็นในการที่จะร่วมงานไปใน
ทิศทางเดียวกัน รวมทั้งร่วมแก้ปัญหา และลดข้อขัดแย้งในผลประโยชน์ที่
แตกต่างกัน (Consulting Stakeholders and the Public)
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
52
8. การฝึกอบรมบุคลกร โดยสอดแทรกแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการพัฒนาแบบ
ยั่งยืนต่อบุคลากรท้องถิ่นทุกระดับ จะช่วยยกระดับการบริการการท่องเที่ยว
(Training Staff)
9. การตลาดที่จัดเตรียมข้อมูลอย่างพร้อมมูล จะทาให้นักท่องเที่ยวเข้าใจและ
เคารพในสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสังคมและวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยว
และจะช่วยยกระดับความพอใจของนักท่องเที่ยวด้วย (Marketing Tourism
Responsibly)
10. การวิจัยและการติดตามตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต่อการช่วย
แก้ปัญหา และเพิ่มผลประโยชน์ต่อแหล่งท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และนัก
ลงทุน (Undertaking Research)
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
53
ทาอย่างไรให้เกิดความยั่งยืน?
ทาได้ง่ายๆ
54
55
56
57
ปัจจุบัน
ไม่ว่าใคร ก็ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
58
59
60
61
62
เลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ไม่สร้างผลเสีย
มีการเรียนรู้ และช่วยสร้างจิตสานึก
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
หรือกิจกรรมการท่องเที่ยวใดๆ ที่ไม่ส่งผลกระทบด้านลบ
ฯลฯ
63
เที่ยวพร้อมกับบาเพ็ญประโยชน์
64
65
66
ให้บริการด้านการท่องเที่ยว
อย่างรับผิดชอบ
67
• ให้ความรู้และปลูกจิตสานึกด้านการอนุรักษ์
• ที่พักที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและกลมกลืนกับวัฒนธรรม
ท้องถิ่น
• สนับสนุนอาหารท้องถิ่น
• ใช้ยานพาหนะที่ปลอดมลพิษ
• ส่งเสริมการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน
• ฯลฯ
บริการด้านการท่องเที่ยว
68
• ออกแบบกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมท้องถิ่น
• ใช้วัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น
• ใช้แรงงานในท้องถิ่น
• ใช้อาหารท้องถิ่น หรือใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น
• มีการบาบัดของเสียก่อนทิ้ง
• Reduce Reuse Recycle
ที่พักเชิงนิเวศ (Ecolodge)
69
ที่พักที่มีลักษณะบริการเชิงนิเวศ (Eco-lodge) อาจพิจารณาได้จาก
• ก่อสร้างโดยคานึงถึงความเป็นท้องถิ่น และความกลมกลืนกับ
สภาพแวดล้อม
– การสะท้อนสภาพดั้งเดิมของพื้นที่ (ลักษณะสถาปัตยกรรม ภูมิ
สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม การตกแต่งภายใน และองค์ประกอบต่าง
ๆ ของสถานบริการ)
– กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม (ด้านรูปแบบ ขนาด การจัดวางองค์ประกอบใน
พื้นที่)
– การเลือกทาเลที่ตั้งของสถานบริการรอยู่ในทาเลที่เหมาะสมไม่ทาลาย
ธรรมชาติ
• มีการจัดการด้านรักษาสิ่งแวดล้อม
– การใช้พลังงาน การใช้น้า
– การบาบัดน้าเสีย การจัดการขยะมูลฝอย
• กิจกรรมและการบริการ
– มีกิจกรรมให้การศึกษาสิ่งแวดล้อมแก่ผู้มาพัก
– มีการสื่อความหมายสิ่งแวดล้อมต่อผู้มาพัก
– การบริการมีความสะอาดเป็นที่พอใจ ถูกสุขลักษณะ รวดเร็ว
• การลงทุน
– พิจารณาการร่วมทุนกับท้องถิ่น และผลตอบแทนที่เอื้อต่อท้องถิ่น มีการใช้
แรงงานท้องถิ่น
บริการนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ พิจารณาจาก
• กิจกรรมและการบริการ
– มีกิจกรรมให้การศึกษาสิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ในโปรแกรมการท่องเที่ยว
– มีมัคคุเทศก์เฉพาะที่สามารถให้ข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
– ให้บริการให้แก่นักท่องเที่ยว โดยเป็นการบริการที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม มีการควบคุมพฤติกรรมทางลบของนักท่องเที่ยวด้วย
• การดาเนินงานของบริษัท
– มีการเตรียมพร้อมทุกด้าน ทั้งด้านข้อมูล เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องใช้
– มีการจัดการ/รักษาสิ่งแวดล้อม/ป้องกันผลกระทบ และแนะนากระตุ้น
นักท่องเที่ยวอย่างสม่าเสมอหรือไม่
– เคารพกฎเกณฑ์ของแหล่งท่องเที่ยว
– - มีการตดิตามประเมินผลการนาเที่ยว ติดตามนักท่องเที่ยว ให้ข้อมูล
ข่าวสารแก่นักท่องเที่ยวอย่างสม่าเสมอ
• การจัดการ
– การจัดมัคคุเทศก์์ที่มีความรู้ รวมทั้งมัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่ได้รับการอบรม
– การจัดการให้ประชาชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม
– มีการให้ผลประโยชน์คืนสู่ท้องถิ่น
พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก
อย่างรับผิดชอบ
72
73
การวิเคราะห์ผู้ใช้ประโยชน์
• ภูมิหลัง หรือลักษณะทางสังคมประชากร
• รูปแบบกิจกรรมนันทนาการ หรือกิจกรรมการใช้
ประโยชน์
ที่เกิดขึ้นจริง และที่ต้องการ
• ความคิดเห็นต่อพื้นที่และการพัฒนาพื้นที่
• ความต้องการสิ่งอานวยความสะดวกและบริการต่างๆ
นักท่องเที่ยว
เจ้าหน้าที่
ท้องถิ่น
ผู้ประกอบการ
สังเกต
แบบสอบถาม
สัมภาษณ์
74
การวิเคราะห์บริเวณ (Site Analysis)
• ปัจจัยด้านธรรมชาติ
• ปัจจัยด้านสุนทรียภาพ
• ปัจจัยด้านวัฒนธรรมและการใช้ที่ดินเดิม
ภูมิประเทศ
ธรณีวิทยา
แหล่งน้า/ การระบายน้า
พืชพรรณธรรมชาติ
สัตว์ป่า
ภูมิอากาศ
ภัยธรรมชาติ
ลักษณะ
ธรรมชาติ
มุมมอง/ วิว
ประวัติศาสตร์และสิ่งที่มีคุณค่าทาง
วัฒนธรรมการใช้ที่ดินเดิม
75
Standards and guidelines for Environmentally
sensitive design and operation
• Minimising the negative environmental impact of visitor
support services;
• Creating an atmosphere in which visitors feel they are in a
special place; and
• Setting an example of environmentally sensitive design and
operation practices, to educate and demonstrate the value
and practicality of sustainable, innovative and effective
solutions.
Tendele, Royal Natal National Park,
Kwa-Zulu Natal, South Africa
76
‘as much as necessary
as little as possible’
77
• มีการจัดสรรรายได้ส่วนหนึ่งเข้าสาธารณประโยชน์ของชุมชน
• มีมาตรการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคมและ
วัฒนธรรม
• มีการจัดการพื้นที่; การวางผัง การแบ่งพื้นที่ใช้สอย
• มีการจัดการนักท่องเที่ยว; เช่น มีมาตรการจากัดจานวน จากัด
ช่วงเวลา การกาหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าชม การมีกฎระเบียบ
สาหรับนักท่องเที่ยว
การบริหารจัดการ
78
• การวางผังบริเวณ
• การจัดแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย หรือโซนนิ่ง (Zoning)
• การพัฒนาโดยคานึงถึงประวัติศาสตร์การใช้ที่ดินเดิม
• การพัฒนาพื้นที่โดยคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ
วัฒนธรรม
79
ตัวอย่างการจัดการพื้นที่
• การจากัดจานวน หรือจานวนคนต่อกลุ่ม
• การกาหนดให้จองล่วงหน้า
• การปิดบางพื้นที่ที่เป็นเขตหวงห้าม
• การจากัดระยะเวลาในการพานัก
• การมีตารางกาหนดการในการเยี่ยมชม
• การมีสื่อชี้แจงให้นักท่องเที่ยวทราบการปฏิบัติตน
• การสื่อความหมาย เพื่อให้ความรู้และปลูกจิตสานึก
• การกาหนดราคาต่างๆ กัน เช่น ราคาสาหรับคนไทย-คน
ต่างชาติ, ราคาสาหรับนักเรียน, ราคาสาหรับเยาวชน ฯลฯ
80
ตัวอย่างการจัดการนักท่องเที่ยว
รัฐบาลก็มีนโยบายอนุรักษ์ทรัพยากรการ
ท่องเที่ยว ด้วยแนวคิด 7 Greens
81
7 Greens
82
• Green Hearts: การสร้างความรู้สึกให้นักท่องเที่ยวและชุมชนมีหัวใจที่รัก
และใส่ใจสิ่งแวดล้อม
• Green Activities: กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับพื้นที่ เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม และความเหมาะสมของจานวนนักท่องเที่ยว
• Green Communities: แหล่งท่องเที่ยวชุมชน ที่ให้ความสาคัญกับการ
จัดการท่องเที่ยวที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน
• Green Logistics: รูปแบบการให้บริการด้านการขนส่ง ที่ลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและเน้นการเสนอขายกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ใช้ยานพาหนะที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• Green Services: รูปแบบการให้บริการของธุรกิจท่องเที่ยวต่างๆ ที่มี
มาตรฐานและคุณภาพที่ดี ภายใต้การคานึงถึงสิ่งแวดล้อม
• Green Attractions: แหล่งท่องเที่ยวที่มีรูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ที่
ตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
• Green Plus: กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ตอบแทนสู่สังคม ด้วยความ
รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการลด ละ เลิก พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษต่อ
สิ่งแวดล้อม
แนวคิด 7 Greens (ททท., 2554)
83
84
ความยั่งยืนเกิดขึ้นได้
ถ้าทุกคนร่วมมือกัน
85

More Related Content

What's hot

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน Manisa Piuchan
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to miceChuta Tharachai
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบิน
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบินการปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบิน
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบินMint NutniCha
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวamornsrivisan
 
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdfคู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdfAsst. Dr. Jutharat Nokkaew
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 

What's hot (20)

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
Meetings
MeetingsMeetings
Meetings
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบิน
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบินการปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบิน
การปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของธุรกิจการบิน
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdfคู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 

Viewers also liked

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์Panida Yaya
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศsuthata habsa
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศSareenakache
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismChaloempond Chantong
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
Project assignment #1 Kajanapisek 2013
Project assignment #1 Kajanapisek 2013Project assignment #1 Kajanapisek 2013
Project assignment #1 Kajanapisek 2013Chaiyut Boonpanyos
 
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.Social Media กับความสำเร็จของ ททท.
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.Smith Boonchutima
 

Viewers also liked (20)

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Eco
EcoEco
Eco
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]
 
Project assignment #1 Kajanapisek 2013
Project assignment #1 Kajanapisek 2013Project assignment #1 Kajanapisek 2013
Project assignment #1 Kajanapisek 2013
 
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.Social Media กับความสำเร็จของ ททท.
Social Media กับความสำเร็จของ ททท.
 

Similar to Sustainable tourism sheet 2558

4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...Silpakorn University
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
Thm 201 2 Tourism In Perspectives Chapter 1
Thm 201 2  Tourism In Perspectives Chapter 1Thm 201 2  Tourism In Perspectives Chapter 1
Thm 201 2 Tourism In Perspectives Chapter 1sukhuman klamsaengsai
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56surdi_su
 

Similar to Sustainable tourism sheet 2558 (14)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
Thm 201 2 Tourism In Perspectives Chapter 1
Thm 201 2  Tourism In Perspectives Chapter 1Thm 201 2  Tourism In Perspectives Chapter 1
Thm 201 2 Tourism In Perspectives Chapter 1
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56
 

Sustainable tourism sheet 2558