SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. ระบุหรือยกตัวอย่าง และเปรียบเทียบ
จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์
เศษส่วนและทศนิยม
 จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ
ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม
 การเปรียบเทียบจานวนเต็ม
เศษส่วนและทศนิยม
๒. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง
เป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดงจานวน
ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
(scientific notation)
 เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น
จานวนเต็ม
 การเขียนแสดงจานวนในรูปสัญ
กรณ์วิทยาศาสตร์ (A  ๑๐n
เมื่อ๑A๑๐และnเป็น
จานวนเต็ม)
ม.๒ ๑. เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียน
ทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน
 เศษส่วนและทศนิยมซ้า
๒. จาแนกจานวนจริงที่กาหนดให้ และ
ยกตัวอย่างจานวนตรรกยะและจานวน
อตรรกยะ
 จานวนตรรกยะ และจานวน
อตรรกยะ
ม.๒ ๓. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สาม
ของจานวนจริง
 รากที่สองและรากที่สามของ
จานวนจริง
๔. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน
และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา
 อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และ
การนาไปใช้
ม.๓ – –
สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การ
ดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. บวก ลบ คูณ หารจานวนเต็ม และ
นาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ
สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่
เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ
การหาร และบอกความสัมพันธ์ของ
การบวกกับการลบ การคูณกับการ
หาร ของจานวนเต็ม
 การบวก การลบ การคูณ และการหาร
จานวนเต็ม
 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนเต็ม
๒. บวก ลบ คูณ หารเศษส่วนและ
ทศนิยม และนาไปใช้แก้ปัญหา
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการ
บวก การลบ การคูณ การหาร และ
บอกความสัมพันธ์ของการบวกกับ
 การบวก การลบ การคูณ และการ
หาร เศษส่วนและทศนิยม
 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนและ
ทศนิยม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การลบ การคูณกับการหารของ
เศษส่วนและทศนิยม
๓. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลัง
ของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม
 เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวน
เต็ม
๔. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐาน
เดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็น
จานวนเต็ม
 การคูณและการหารเลขยกกาลังที่มี
ฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็น
จานวนเต็ม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒ ๑. หารากที่สองและรากที่สามของจานวน
เต็มโดยการแยกตัวประกอบและ
นาไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ
 การหารากที่สองและรากที่สามของ
จานวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบ
และนาไปใช้
๒. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่
สองและรากที่สามของจานวนเต็ม
เศษส่วนและทศนิยม บอก
ความสัมพันธ์ของการยกกาลังกับการ
หารากของจานวนจริง
 รากที่สองและรากที่สามของจานวน
จริง
ม.๓ – –
สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑.ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงใช้ในการ
พิจารณาความสมเหตุสมผลของ
คาตอบที่ได้จากการคานวณ
 การประมาณค่าและการนาไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒ ๑. หาค่าประมาณของรากที่สอง และราก
ที่สามของจานวนจริง และนาไปใช้ใน
การแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ
 รากที่สองและรากที่สามของจานวน
จริงและการนาไปใช้
ม.๓ – –
สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. นาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็ม
ไปใช้ในการแก้ปัญหา
 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ และ
การนาไปใช้
 การนาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวน
เต็มไปใช้
ม.๒ ๑. บอกความเกี่ยวข้องของจานวนจริง
จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ
 จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ
ม.๓ – –
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ – –
ม.๒ ๑. เปรียบเทียบหน่วยความยาว หน่วย
พื้นที่ ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ
และเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่าง
เหมาะสม
 การวัดความยาว พื้นที่ และการนาไปใช้
 การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความยาว
และพื้นที่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่
ปริมาตรและน้าหนักได้อย่างใกล้เคียง
และอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน
 การคาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ปริมาตร
และน้าหนัก และการนาไปใช้
๓. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ม.๓ ๑. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก  พื้นที่ผิวของปริซึม และทรงกระบอก
๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก
พีระมิด กรวย และทรงกลม
 ปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด
กรวย และทรงกลม
๓. เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วย
ปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่าง
ระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัดได้
อย่างเหมาะสม
 การเปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วย
ปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ
 การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุ
หรือปริมาตร
๔. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
 การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
 การใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่
ในการแก้ปัญหา
ม.๓ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และ
ปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่าง ๆ
 การใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และ
ปริมาตรในการแก้ปัญหา
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติสาระที่ ๓ เรขาคณิต
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. สร้างและบอกขั้นตอนการสร้าง
พื้นฐานทางเรขาคณิต
 การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
(ใช้วงเวียนและ สันตรง)
๑) การสร้างส่วนของเส้นตรงให้ยาว
เท่ากับความยาวของส่วนของ
เส้นตรงที่กาหนดให้
๒) การแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรงที่
กาหนดให้
๓) การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับขนาด
ของมุมที่กาหนดให้
๔) การแบ่งครึ่งมุมที่กาหนดให้
๕) การสร้างเส้นตั้งฉากจากจุด
ภายนอกมายังเส้นตรงที่กาหนดให้
๖) การสร้างเส้นตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบน
เส้นตรงที่กาหนดให้
๒. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้
การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต และ
บอกขั้นตอนการสร้างโดยไม่เน้น
การพิสูจน์
 การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้
การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต (ใช้วง
เวียนและสันตรง)
๓. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์
เกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต
 สมบัติทางเรขาคณิตที่ต้องการการ
สืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์ เช่น
ขนาดของมุมตรงข้ามที่เกิดจากส่วน
ของเส้นตรงสองเส้นตัดกัน และมุมที่
เกิดจากการตัดกันของเส้นทแยงมุมของ
รูปสี่เหลี่ยม
๔. อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิต
สามมิติจากภาพที่กาหนดให้
 ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ
๕. ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมอง  ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า (front
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ด้านหน้า (front view) ด้านข้าง
(side view) หรือ ด้านบน
(top view) ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่กาหนดให้
view) ด้านข้าง (side view) และ
ด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิต
สามมิติ
๖. วาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ
กาหนดภาพสองมิติที่ได้จากการ
มองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
ให้
 การวาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ
กาหนดภาพสองมิติที่ได้จากการมอง
ด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนให้
ม.๒ – –
ม.๓ ๑. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม
พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ
ทรงกลม
 ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด
ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ – –
ม.๒ ๑. ใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุก
ประการของรูปสามเหลี่ยมและ
สมบัติของเส้นขนานในการให้
เหตุผลและแก้ปัญหา
 ด้านและมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากันของรูป
สามเหลี่ยมสองรูปที่เท่ากันทุกประการ
 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์
กันแบบ ด้าน– มุม– ด้าน มุม–ด้าน–มุม
ด้าน–ด้าน–ด้าน และ มุม– มุม– ด้าน
 สมบัติของเส้นขนาน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 การใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุก
ประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติ
ของเส้นขนานในการให้เหตุผลและการ
แก้ปัญหา
๒. ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ
ในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และ
การนาไปใช้
๓.เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตใน
เรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน
และการหมุน และนาไปใช้
 การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน
และการนาไปใช้
ม.๒ ๔.บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน
การสะท้อนและการหมุนรูปต้นแบบ
และอธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่
ปรากฏเมื่อกาหนดรูปต้นแบบและ
ภาพนั้นให้
 การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน
และการนาไปใช้
ม.๓ ๑. ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายใน
การให้เหตุผลและการแก้ปัญหา
 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายและการ
นาไปใช้
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์
ของแบบรูปที่กาหนดให้
 ความสัมพันธ์ของแบบรูป
ม.๒ – –
ม.๓ – –
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐานค๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการอสมการกราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย
และนาไปใช้แก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย  สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
๒. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจาก
สถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่าย
 การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จากสถานการณ์หรือปัญหา
๓.แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวอย่างง่าย พร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ
 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น
๔. เขียนกราฟบนระนาบในระบบพิกัด
ฉากแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณ
สองชุดที่กาหนดให้
 กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก
๕. อ่านและแปลความหมายของกราฟบน
ระนาบในระบบพิกัดฉากที่กาหนดให้
ม.๒ ๑. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว พร้อมทั้งตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ
 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
๒. หาพิกัดของจุด และอธิบายลักษณะ
ของรูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจากการ
เลื่อนขนาน การสะท้อน และการ
หมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก
 การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการ
หมุนรูปเรขาคณิตบนระนาบในระบบ
พิกัดฉาก
ม.๓ ๑.ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียวในการแก้ปัญหา พร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ
 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการ
นาไปใช้
๒. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้อง
ระหว่างปริมาณสองชุดที่มี
 กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่าง
ปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ความสัมพันธ์เชิงเส้น เส้น
๓.เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปร
 กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
๔. อ่านและแปลความหมาย กราฟของ
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ
กราฟอื่น ๆ
 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปร
 กราฟอื่น ๆ
๕. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
และนาไปใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ
 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและการ
นาไปใช้
สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ – –
ม.๒ ๑. อ่านและนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูป
วงกลม
 แผนภูมิรูปวงกลม
ม.๓ ๑. กาหนดประเด็น และเขียนข้อคาถาม
เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ
รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บ
รวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
 การเก็บรวบรวมข้อมูล
๒. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐาน
นิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม
 ค่ากลางของข้อมูล และการนาไปใช้
๓. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม  การนาเสนอข้อมูล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์
ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ
 การวิเคราะห์ข้อมูลจากการนาเสนอ
สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้
อย่างสมเหตุสมผล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่กาหนดให้
เหตุการณ์ใดจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้
มากกว่ากัน
 โอกาสของเหตุการณ์
ม.๒ ๑. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่กาหนดให้
เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ใด
ไม่เกิดขึ้นแน่นอน และเหตุการณ์ใดมี
โอกาสเกิดขึ้นได้มากกว่ากัน
 โอกาสของเหตุการณ์
ม.๓ ๑. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการ
ทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้น
เท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความ
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง
สมเหตุสมผล
 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 การใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ
เป็นในการคาดการณ์
สาระที่ ๕ : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ – –
ม.๒ – –
ม.๓ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะ
เป็นประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์
ต่างๆ
 การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ และ
ความน่าจะเป็นประกอบการ
ตัดสินใจ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑– ม.๓ ๑. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
๒. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
๓. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และ
สรุปผลได้อย่างเหมาะสม
๔. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ใน
การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ
นาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
๕. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์
และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์
อื่น ๆ
๖. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-

More Related Content

What's hot

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2Yoon Yoon
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อะลิ้ตเติ้ล นก
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 

What's hot (20)

3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 

Similar to ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดOranee Seelopa
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดkanjana2536
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดkanjana2536
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายจุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายAon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101kroojaja
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกItslvle Parin
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2Manas Panjai
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 

Similar to ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง (20)

สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
Lead2
Lead2Lead2
Lead2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายจุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมาย
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
 
1-2
1-21-2
1-2
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

  • 1. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. ระบุหรือยกตัวอย่าง และเปรียบเทียบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม  จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม  การเปรียบเทียบจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม ๒. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง เป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดงจานวน ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (scientific notation)  เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น จานวนเต็ม  การเขียนแสดงจานวนในรูปสัญ กรณ์วิทยาศาสตร์ (A  ๑๐n เมื่อ๑A๑๐และnเป็น จานวนเต็ม) ม.๒ ๑. เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียน ทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน  เศษส่วนและทศนิยมซ้า ๒. จาแนกจานวนจริงที่กาหนดให้ และ ยกตัวอย่างจานวนตรรกยะและจานวน อตรรกยะ  จานวนตรรกยะ และจานวน อตรรกยะ ม.๒ ๓. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สาม ของจานวนจริง  รากที่สองและรากที่สามของ จานวนจริง ๔. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา  อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และ การนาไปใช้ ม.๓ – –
  • 2. สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การ ดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. บวก ลบ คูณ หารจานวนเต็ม และ นาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่ เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ์ของ การบวกกับการลบ การคูณกับการ หาร ของจานวนเต็ม  การบวก การลบ การคูณ และการหาร จานวนเต็ม  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนเต็ม ๒. บวก ลบ คูณ หารเศษส่วนและ ทศนิยม และนาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการ บวก การลบ การคูณ การหาร และ บอกความสัมพันธ์ของการบวกกับ  การบวก การลบ การคูณ และการ หาร เศษส่วนและทศนิยม  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนและ ทศนิยม ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การลบ การคูณกับการหารของ เศษส่วนและทศนิยม ๓. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลัง ของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม  เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวน เต็ม ๔. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐาน เดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็น จานวนเต็ม  การคูณและการหารเลขยกกาลังที่มี ฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็น จานวนเต็ม
  • 3. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. หารากที่สองและรากที่สามของจานวน เต็มโดยการแยกตัวประกอบและ นาไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ  การหารากที่สองและรากที่สามของ จานวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบ และนาไปใช้ ๒. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่ สองและรากที่สามของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม บอก ความสัมพันธ์ของการยกกาลังกับการ หารากของจานวนจริง  รากที่สองและรากที่สามของจานวน จริง ม.๓ – – สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑.ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงใช้ในการ พิจารณาความสมเหตุสมผลของ คาตอบที่ได้จากการคานวณ  การประมาณค่าและการนาไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. หาค่าประมาณของรากที่สอง และราก ที่สามของจานวนจริง และนาไปใช้ใน การแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคาตอบ  รากที่สองและรากที่สามของจานวน จริงและการนาไปใช้ ม.๓ – –
  • 4. สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. นาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็ม ไปใช้ในการแก้ปัญหา  ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ และ การนาไปใช้  การนาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวน เต็มไปใช้ ม.๒ ๑. บอกความเกี่ยวข้องของจานวนจริง จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ  จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ ม.๓ – – สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ – – ม.๒ ๑. เปรียบเทียบหน่วยความยาว หน่วย พื้นที่ ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่าง เหมาะสม  การวัดความยาว พื้นที่ และการนาไปใช้  การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความยาว และพื้นที่
  • 5. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตรและน้าหนักได้อย่างใกล้เคียง และอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน  การคาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ปริมาตร และน้าหนัก และการนาไปใช้ ๓. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ม.๓ ๑. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก  พื้นที่ผิวของปริซึม และทรงกระบอก ๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม  ปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ๓. เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วย ปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่าง ระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัดได้ อย่างเหมาะสม  การเปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วย ปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ  การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุ หรือปริมาตร ๔. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม  การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ  การใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่ ในการแก้ปัญหา ม.๓ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และ ปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ  การใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และ ปริมาตรในการแก้ปัญหา
  • 6. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติสาระที่ ๓ เรขาคณิต ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. สร้างและบอกขั้นตอนการสร้าง พื้นฐานทางเรขาคณิต  การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต (ใช้วงเวียนและ สันตรง) ๑) การสร้างส่วนของเส้นตรงให้ยาว เท่ากับความยาวของส่วนของ เส้นตรงที่กาหนดให้ ๒) การแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรงที่ กาหนดให้ ๓) การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับขนาด ของมุมที่กาหนดให้ ๔) การแบ่งครึ่งมุมที่กาหนดให้ ๕) การสร้างเส้นตั้งฉากจากจุด ภายนอกมายังเส้นตรงที่กาหนดให้ ๖) การสร้างเส้นตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบน เส้นตรงที่กาหนดให้ ๒. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้ การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต และ บอกขั้นตอนการสร้างโดยไม่เน้น การพิสูจน์  การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้ การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต (ใช้วง เวียนและสันตรง) ๓. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์ เกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต  สมบัติทางเรขาคณิตที่ต้องการการ สืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์ เช่น ขนาดของมุมตรงข้ามที่เกิดจากส่วน ของเส้นตรงสองเส้นตัดกัน และมุมที่ เกิดจากการตัดกันของเส้นทแยงมุมของ รูปสี่เหลี่ยม ๔. อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิต สามมิติจากภาพที่กาหนดให้  ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ ๕. ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมอง  ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า (front
  • 7. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ด้านหน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือ ด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่กาหนดให้ view) ด้านข้าง (side view) และ ด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิต สามมิติ ๖. วาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสาม มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ กาหนดภาพสองมิติที่ได้จากการ มองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ให้  การวาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสาม มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ กาหนดภาพสองมิติที่ได้จากการมอง ด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนให้ ม.๒ – – ม.๓ ๑. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม  ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ – – ม.๒ ๑. ใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุก ประการของรูปสามเหลี่ยมและ สมบัติของเส้นขนานในการให้ เหตุผลและแก้ปัญหา  ด้านและมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากันของรูป สามเหลี่ยมสองรูปที่เท่ากันทุกประการ  รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์ กันแบบ ด้าน– มุม– ด้าน มุม–ด้าน–มุม ด้าน–ด้าน–ด้าน และ มุม– มุม– ด้าน  สมบัติของเส้นขนาน
  • 8. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  การใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุก ประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติ ของเส้นขนานในการให้เหตุผลและการ แก้ปัญหา ๒. ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ ในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา  ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และ การนาไปใช้ ๓.เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตใน เรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน และนาไปใช้  การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการนาไปใช้ ม.๒ ๔.บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุนรูปต้นแบบ และอธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ ปรากฏเมื่อกาหนดรูปต้นแบบและ ภาพนั้นให้  การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการนาไปใช้ ม.๓ ๑. ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายใน การให้เหตุผลและการแก้ปัญหา  สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายและการ นาไปใช้ สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ ของแบบรูปที่กาหนดให้  ความสัมพันธ์ของแบบรูป ม.๒ – – ม.๓ – –
  • 9. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐานค๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการอสมการกราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย  สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ๒. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่าย  การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จากสถานการณ์หรือปัญหา ๓.แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวอย่างง่าย พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ๔. เขียนกราฟบนระนาบในระบบพิกัด ฉากแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณ สองชุดที่กาหนดให้  กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก ๕. อ่านและแปลความหมายของกราฟบน ระนาบในระบบพิกัดฉากที่กาหนดให้ ม.๒ ๑. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคาตอบ  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว ๒. หาพิกัดของจุด และอธิบายลักษณะ ของรูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจากการ เลื่อนขนาน การสะท้อน และการ หมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก  การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการ หมุนรูปเรขาคณิตบนระนาบในระบบ พิกัดฉาก ม.๓ ๑.ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวในการแก้ปัญหา พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ  อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการ นาไปใช้ ๒. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้อง ระหว่างปริมาณสองชุดที่มี  กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่าง ปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิง
  • 10. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความสัมพันธ์เชิงเส้น เส้น ๓.เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสอง ตัวแปร  กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ๔. อ่านและแปลความหมาย กราฟของ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ กราฟอื่น ๆ  กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสอง ตัวแปร  กราฟอื่น ๆ ๕. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ  ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและการ นาไปใช้ สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ – – ม.๒ ๑. อ่านและนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูป วงกลม  แผนภูมิรูปวงกลม ม.๓ ๑. กาหนดประเด็น และเขียนข้อคาถาม เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม  การเก็บรวบรวมข้อมูล ๒. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐาน นิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม  ค่ากลางของข้อมูล และการนาไปใช้ ๓. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม  การนาเสนอข้อมูล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ  การวิเคราะห์ข้อมูลจากการนาเสนอ
  • 11. สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่กาหนดให้ เหตุการณ์ใดจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ มากกว่ากัน  โอกาสของเหตุการณ์ ม.๒ ๑. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่กาหนดให้ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ใด ไม่เกิดขึ้นแน่นอน และเหตุการณ์ใดมี โอกาสเกิดขึ้นได้มากกว่ากัน  โอกาสของเหตุการณ์ ม.๓ ๑. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการ ทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้น เท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความ น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง สมเหตุสมผล  การทดลองสุ่มและเหตุการณ์  ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์  การใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ เป็นในการคาดการณ์ สาระที่ ๕ : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ – – ม.๒ – – ม.๓ ๑. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะ เป็นประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ ต่างๆ  การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ และ ความน่าจะเป็นประกอบการ ตัดสินใจ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น ได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
  • 12. สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑– ม.๓ ๑. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ๒. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม ๓. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และ สรุปผลได้อย่างเหมาะสม ๔. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ใน การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน ๕. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ๖. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ -