SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
3


                                                     บทที่ 2

                                           เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                        ่

        ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง เทคโนโลยี 3G นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
                           ้ั

        2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
        2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media
        2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)

2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต

        เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น

        1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษาง่าย

ขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                       ั

        2. การดารงชีวตประจาวันทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
                     ิ

เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง

        3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้
                                                                          ้

                      ่
ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลาอันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง

        4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า

ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรมแดน

        5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้

ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
4


ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้ องประกอบด้ วย

          1. ฮาร์ ดแวร์ Hardware

          2. ซอฟต์แวร์ Software

          3. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการให้บริ การข้อมูลและติดต่อสื่ อสาร

          พืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้ วยส่ วนประกอบ ดังนี้
            ้

          1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่

                    1. ฮาร์ ดแวร์ Hardware

                    2. ซอฟต์แวร์ Software

                    3. ข้อมูล Data

                    4. บุคลากร People

          2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผูใช้งาน Programmer, System Analyst และ User เป็ น
                                               ้

บุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นกวิเคราะห์ได้
                                                                                     ั

ออกแบบไว้ส่วนผูใช้จะเป็ นกลุ่มที่มีอิทธิ พลต่อทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ มากที่สุด
               ้

           3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล

                    หน่ วยรับข้ อมูล    ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์

                    หน่ วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์

ทั้งหมด

                    หน่ วยแสดงผล        ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล

                    หน่ วยเก็บข้ อมูล   ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จาก

การประมวลผลในระหว่างที่รอส่ งไปยังหน่วยแสดงผล
5


         4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้ มข้อมูล

         5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน

                 1. การรวบรวมข้อมูล

                 2. การประมวลผล

                 3. การดูแลรักษา

       เทคโนโลยีสารสนเทศรู ปแบบต่ าง ๆ

                                                                            ่
         1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็ นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทาหน้าที่ไม่วาจะเป็ นการ

บันทึก การแก้ไข การทารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความ

สะดวกรวดเร็ วในการทางานและยังช่วยเป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจด้วย

                                                                 ั
         2. เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย เป็ นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กนมากในปั จจุบน มีประโยชน์ ดังนี้
                                                                              ั

                    1. สามารถติดต่อถึงกันได้ดวยจดหมายอิเล็กทอนิกส์ (E-mail)
                                             ้

                    2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผูอยูห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่าง
                                                          ้ ่

รวดเร็ วไม่ตองเสี ยเวลาในการเดินทาง
            ้

                    3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครื อข่ายสามารถใช้

อุปกรณ์ร่วมกันได้

                    4. สามารถทางานร่ วมกันได้หรื อทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน

         3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็ นระบบการทางานที่ใช้ระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และ

อุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้

                    1. พนักงานสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (E - mail)

                    2. สามารถบันทึกแฟ้ มเอกสารหรื องานพิมพ์เก็บไว้ และสามารถนามาแก้ไขปรับปรุ งให้
6


ดีข้ ึนได้ง่าย

                       3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย

                       4. มีระบบฝากข้อความเสี ยง (Voice Mail)

                       5. การประชุมทางไกล (Video Teleconference)

                 4. เทคโนโลยีช่วยสอน CAI ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โรงเรี ยนและสถานศึกษาก็เริ่ มมีการ

                                                  ั
พัฒนาโปรแกรมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปขึ้นมาใช้และมีผลดีกบนักเรี ยนที่จะได้สื่อการเรี ยนการสอนที่ทนสมัยและ
                                                                                           ั

มีความน่าสนใจมากขึ้น

          การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

                 1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาด้วย

                 2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับงานและเพื่อประโยชน์

สู งสุ ดที่ควรจะได้รับ

                 3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแล ไม่ปล่อยปละละเลยหรื อใช้ในทางที่ผิด

                 4. การลงทุน ควรคานึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับด้วย หากประโยชน์ที่ได้ไม่

คุมค่าแก่การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสี ยใหม่
  ้

                 5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ขอมูลซ้ าซ้อน ควรมีการแบ่งปั นข้อมูลเพื่อให้การ
                                                         ้

                                           ั
ทางานร่ วมกัน มีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กน

                 6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้องมีการดูแลให้สิทธิ แก่ผใช้
                                                                                                ู้

ภายในขอบเขตของแต่ละคน
7


2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media
              ่

        2.2.1 ความหมายของ Social Media

                  Social Media คือ เครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์ เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษทต่าง ๆ เข้า
                                                                                ั                ั

ไปเพื่อทาการสื่ อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ ทางานบางสิ่ ง
                                             ่
บางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น

       blog

       podcast

       เว็บประเภท Video Sharing เช่น YouTube

       เว็บประเภท Social Network เช่น Facebook, Hi5

       เว็บประเภท micro blog เช่น Twitter

       เว็บประเภทอัลบั้มรู ปภาพอย่างเช่น Flickr

       เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่น Digg, Stumble Upon

หรื อแม้กระทังเว็บอื่น ๆ ที่คุณสามารถมีปฎิสัมพันธ์ หรื อแบ่งปั นบางสิ่ งบางอย่าง กับนักท่องเว็บคนอื่น ๆ ได้
             ่
อย่างทันทีทนใด
           ั

        2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media

                  ปัจจุบนคนไทยมีโอกาสเข้าถึง Internet ความเร็ วสู งหรื อ Broadbandได้ โดยมีการขยายตัว
                        ั

เพิ่มถึง 40เท่าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ตองสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้ Broadband จะกลายเป็ นสิ่ งสาคัญ
                                       ้

ในชีวตของคนไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งานInternetนั้นมีการเติบโตอย่างรวดเร็ วมาก โดยตลาดมี
     ิ

การขยายตัวสู งถึง 40เท่าโดยประมาณ การสู ้รบระหว่าง Digital กับ Traditionalจะต้องมาจบด้วยความพ่ายแพ้
8


ของยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าวต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้านได้เริ่ มมากกว่าทศวรรษแล้วนโยบาย

                                   ่
ของรัฐบาลไทยในปั จจุบน ในหัวข้อที่วา “Creative Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็ นจริ งได้
                     ั

           ั ่
หรื อไม่น้ น อยูที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับจุดเด่นของประเทศเพื่อให้เกิดคุณค่าทาง

เศรษฐกิจสู งสุ ด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีก็เป็ นปั จจัยที่สาคัญมากสาหรับนโยบายการพัฒนาประเทศ

เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การแข่งขันเปิ ดอย่างเสรี ทาให้มีเวทีในการแข่งขัน

ระหว่างบริ ษทชั้นนา เช่น Apple และ Google ได้นามาสู่ Disruptive Technology เช่นiphone4,IPAD,Android
            ั

ที่มีการนามาใช้งานBroadband ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่านโครงข่าย3G มีประสิ ทธิ ภาพอย่างไม่เคย

เป็ นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้าถึงได้ และกาลังมียอดขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็ น Corvergance ของ

Technology ที่ระบบโครงข่าย 3G ซึ่ งกาลังจะมีข้ ึนทัวประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กาลังร่ วม
                                                   ่
สร้างปรากฏการณ์ของ Broadband ที่จะเป็ น Disruptive Change แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband

                                                                                          ั
เป็ นดาบสองคม ถึงจะมีประโยชน์ในด้านการสื่ อสาร ธุ รกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทังเพิ่ม GDP ให้กบพื้นที่
                                                                           ่
ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็ นเครื่ องมือเผยแพร่ ขอมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรู ปแบบ
                                                               ้

ของข้อความ ภาพ เสี ยง และวีดิโอ ที่สามารถนาไปสู่ การสร้างสังคมออนไลน์ หรื อ Social Media เช่น

Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่สามารถทาได้ดวยสื่ อชนิดอื่น
                                                ้

         นอกจากนี้ในปั จจุบนเรากาลังเรากาลังเข้าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรื อ Virtual World ที่อาจมา
                            ั
ในรู ปแบบของ Second Life หรื อเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิ พลต่อ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่งมีความสาคัญ
กับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้สิ่งหนึ่งที่น่าสังเกตอีกประการคือ Social media
ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริ ษทที่ควบคุมโดยต่างชาติแล้ว ตลาดใน
                                                                    ั
ประเทศไทยไม่ใช่ตลาดใหญ่หรื อตลาดที่สาคัญ ยังไม่มีบริ ษท,ศูนย์บริ การ หรื อกระทังพนักงานที่รับผิดชอบ
                                                           ั                     ่
ประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความเป็ นไทยกาลังมีอิทธิ พลมากในสังคม จานวนชัวโมงการ
                                                                                             ่
ใช้social mediaต่อวันมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง และอาจเป็ นไปได้ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถูก
                                 ่                           ่
ลบเลือนโดยอิทธิ พลของต่างชาติผานBroadband ด้วยเหตุผลที่วา สื่ อยุคเก่ามีขอบังคับการนาเสนอข่าวที่ตอง
                                                                            ้                      ้
9


เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผูใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้
                                                                          ้
อย่างอิสระ ปราศจากข้อจากัดที่เข้มงวด

                                                                                         ้ ั
            การติดต่อสื่ อสารกันในปั จจุบนนี้น้ น “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุนหูกนในฐานะของ
                                         ั ั
                                                                        ่
สื่ อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทัวโลกด้วย ไม่วาจะในรู ปแบบของการติดต่อสื่ อสาร
                                                            ่
ของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรื อแม้กระทังการเข้ามาทาธุ รกิจผ่านช่องทางดังกล่าว บทบาทของ
                                                          ่
Social Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนินธุ รกิจขององค์กรต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่
องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์และการดาเนินธุ รกิจโดยมีการดึง social media เข้าไปใช้องค์กรเพื่อให้
สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีของสังคมไทยในยุคปั จจุบน               ั

        ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย

            1.เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้กาวเข้าสู่ อีกขั้นของเทคโนโลยีในด้านการติดต่อสื่ อสาร จะ
                                                       ้
          ่                            ั
เห็นได้วาในอดีตนั้นสื่ อหลักที่ใช้กนในประเทศจะเป็ นสื่ อจาพวก โทรทัศน์,วิทยุ,สื่ อสิ่ งพิมพ์ ซึ่ งเป็ นจากการ
                                                                                          ั ้
ติดต่อสื่ อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบกลับของผูรับสื่ อ เป็ นการป้ อนข้อมูลผ่านสื่ อให้กบผูบริ โภค แต่เมื่อ
                                                         ้
มีการนา Social Media เข้ามาใช้น้ น เป็ นสื่ อที่อิสระในด้านของการให้ขอมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของ
                                     ั                                      ้
ความคิดเห็นผ่านสื่ อ (เป็ นการสื่ อสารแบบ Two-way-communication) ซึ่ งจะมีลกษณะเด่นในเรื่ องของการมี
                                                                                    ั
ส่ วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผูเ้ สพสื่ อหรื อผูรับสื่ อก็สามารถเป็ นผูส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน
                                           ้                      ้

          2.มีการผุดขึ้นของธุ รกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็ นจานวนมากผ่านการใช้สื่อ social media ไม่วา        ่
จะเป็ น hi5,facebook,twitter ก็จะมีผเู ้ ข้ามาดาเนิ นธุ รกิจในรู ปแบบนี้ กลายเป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการทาธุ รกิจ
ที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการดาเนิ นงาน นอกจากนี้ยงประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจานวนมาก
                                                                  ั
                                                     ่
,บริ หารจัดการง่ายในส่ วนของสิ นค้า จะเห็นได้วามีธุรกิจจานวนไม่นอยที่ประสบความสาเร็ จจากการทา
                                                                          ้
ธุ รกิจผ่านสื่ อทางอินเตอร์ เน็ต เช่น ร้านหนังสื อ Amazon ,weloveshopping รวมถึงร้านขนาดเล็กๆอีกมากมาย

                                                                    ่
         3.เป็ นประโยชน์ในเรื่ องของการสร้างเครื อข่ายต่างๆ ไม่ผานจะเป็ นในด้านของธุ รกิจ, การเมือง หรื อ
แม้กระทังความชอบหรื องานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มีจานวนมากในสื่ อ
         ่
อินเตอร์เน็ต ปั จจุบนนี้ ร้านค้าหรื อองค์กรธุ รกิจต่างๆก็ใช้การสร้างเครื อข่ายเป็ นอีกช่องทางในการให้ขอมูล
                    ั                                                                                 ้
                ั     ่
ต่างๆของบริ ษท ไม่วาจะเป็ นรายละเอียดในส่ วนของสิ นค้า,โปรโมชันต่างๆ หรื อแม้กระทังการรับฟังข้อมูล
                                                                      ่                      ่
ความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่ อนี้ เนื่องจากมีความสะดวกและสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็ นจานวนมาก

           4.เครื อข่าย 3G ถูกพัฒนาเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านข้อมูลเป็ นหลัก เช่น การรับ-ส่ งไฟล์เพลง,
วีดีโอ, รู ปภาพ, การดาวน์โหลดคอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต, การใช้บริ การเสริ ม เป็ นต้น สามารถส่ ง
10


                     ี                                                             ั ่
เพลง MP3 หรื อไฟล์วดีโอ ได้ในเวลาที่รวดเร็ ว ในขณะที่เครื อข่าย GPRS / EDGE ที่ใช้กนอยูในปั จจุบนจะ
                                                                                                ั
ใช้เวลานานมากๆ ดังนั้นเป็ นประโยชน์อย่างมากสาหรับบุคคลหรื อองค์กรที่เน้นการใช้งานอินเตอร์ เน็ตหรื อ
ใช้งานด้านข้อมูลเป็ นหลัก ซึ่งจะเป็ นการช่วยลดเวลาในการดาเนินงานรวมถึงเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในด้านการ
ดาเนินงานและการจัดเก็บข้อมูลได้เป็ นอย่างดี

         ข้ อเสี ยของการ Social Media,3 ในประเทศไทย
         1.การเข้ามาของสื่ อในประเทศไทยนั้นรุ นแรงและน่ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่ อทางนี้มีมาก
เนื่องจากว่าการให้ขอมูลผ่านสื่ อไม่มีเงื่อนไขหรื อข้อจากัดที่เข้มงวด ทาให้เกิดการก่ออาชญากรรมผ่านการ
                     ้
ให้ขอมูล เช่น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึงการให้ขอมูลเท็จเพื่อหลอกลวงผูเ้ สพสื่ อ ตัวอย่างเช่น
      ้                                                    ้
ธุ รกิจสถาบันการเงินมีการใช้สื่อทางSocial media เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ลูกค้าในด้านการทาธุ รกรรม
ต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ขอมูลส่ วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็สามารถทีจะทาธุ รกรรมทางการเงินได้ โดยไม่
                                  ้
ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิดการขโมยข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเว็บไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้คนใช้
บริ การเกิดความเข้าใจผิด และเมื่อใส่ ขอมูลส่ วนตัวหรื อรหัสต่างๆเข้าไปในระบบ ทาให้กลุ่มผูไม่หวังดี
                                       ้                                                  ้
ดังกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของผูใช้บริ การได้
                                    ้

          2.การใช้งานด้าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยังเป็ นแค่กลุ่มใช้งาน แต่ไม่มีความสามารถใน
                       ่
การแข่งขันได้ ถึงแม้วาจานวนผูใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เราไม่สามารถปฏิเสธได้วา
                                  ้                                                                  ่
การเข้าใช้งานสื่ อทางนี้มีคนจานวนไม่นอยที่เข้าใช้งานเนื่องจากเพื่อให้ตามเทรนด์ของสังคมในยุคปั จจุบน
                                         ้                                                         ั
หรื อเพื่อเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้านความรู ้เพื่อสร้างสื่ อบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเพื่อ
                                ั
                                                                                      ่
แข่งขันกับสื่ อsocial mediaของต่างประเทศ และเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็นได้วาประเทศอื่นๆมี
                                                  ่
Social network ท้องถิ่นที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ไม่วาจะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี
,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็ นอันดับหนึ่งในประเทศของตน แม้กระทังในประเทศอินเดียและ
                            ้                                                   ่
อินโดนี เซี ยก็ยงมี Mobile Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่ งมีการส่ งข้อความภายในประเทศเป็ นสองเท่าของ
                ั
จานวนทวีทของ Twitter รวมกันทั้งโลก

แต่เมื่อย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่ งกาลังมีการผันกระแสจากการใช้งาน Hi5 เป็ นการใช้งาน Facebook
และtwitterนั้นโดยมองไม่เห็นเงาของการบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเลย นอกจากนี้ การลงทุนในเรื่ องของ
ของเทคโนโลยีต่างๆ เช่น บริ ษทยักษ์ใหญ่อย่าง IBM เข้ามาสร้าง Innovation centre ในประเทศเวียดนาม
                              ั
หรื อแม้กระทังการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชาเป็ น regional centre โดยมองข้ามประเทศไทย สาเหตุ
              ่
หลักนันก็คือความพร้อมในด้านการศึกษาและพัฒนา ประเทศไทยมีการใช้งานระบบต่างๆอย่างแพร่ หลายแต่
        ่
กลับไม่มีความมุ่งมันในการพัฒนาระบบเพื่อให้ระบบท้องถิ่นสามารถต่อสู ้กบสื่ อต่างประเทศที่เข้ามามี
                   ่                                                     ั
อิทธิพลของประเทศไทยได้
11


        อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็ จในโลกของธุ รกิจของSocial Mediaนั้ น ควรมุ่งที่
จะพัฒนาในเรื่ องของความสามารถในการแข่งขันและปลูกฝังในเรื่ องของค่านิยมต่างๆภายในประเทศ
มากกว่าการเพิ่มจานวนผูเ้ ข้าถึงการใช้งานในสื่ อทางนี้ หากมีการมุ่งมันและพัฒนาอย่างจริ งจัง เชื่อได้แน่นอน
                                                                    ่
ว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่ อที่มีบทบาท
และทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ประเทศไทยก้าวเข้าไปสู่ การแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านหรื อ
แม้กระทังบนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์
        ่




        2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media
                              ี่

        myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทัวไป เป็ นเว็บไซต์ในเครื อ sanook.com
                                                    ่

        D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มีสโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สาหรับคนดี ๆ

        BangkokSpace เป็ น Social Network สาหรับคนชอบเที่ยวกลางคืน

Blogging

                                                                                 ่
        exteen เว็บผูให้บริ การ blog อันดับหนึ่งของไทย สู สีเบียดกับ bloggang อยูตลอด แต่หลัง ๆ ดู
                     ้
        เหมือนยอดสมาชิกจะแซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ดี

        BlogGang ผูให้บริ การพื้นที่ blog ในเครื อ pantip.com ซึ่ งสมาชิกส่ วนใหญ่ จะเป็ นแฟนคลับ หรื อขา
                   ้
                                 ่
        ประจาของ pantip.com อยูแล้ว

Micro Blogging

        NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พฒนาโดยคนไทย (ในเครื อ sanook.com เช่นกัน) แต่ดูมี
                                           ั
                                 ่
        แนวโน้มการพัฒนาที่ดี ไม่วาจะเป็ นการเชื่อมให้อพเดทกับ twitter ได้ หรื อการอัพเดท noknok ผ่าน
                                                      ั
        มือถือเป็ นต้น

Social Bookmarking
12


                                                           ั
        Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้กนเพียบ เป็ นที่รวมข้อมูลบทความทันสมัย
        ที่มีคนมาช่วยกันใส่ เรื่ องใหม่ ทุกวัน

        Duocore เว็บที่รายงานข่าวเกี่ยวกับวงการไอทีไทย ในรู ปแบบวีดีโอ โดยใช้ระบบ Social Bookmark
        มาให้ผชม ช่วยกันส่ งเรื่ องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ามา ในแต่ละสัปดาห์จะมีการเลือกเรื่ องราวที่
              ู้
        น่าสนใจ ไปทารายการเป็ นรู ปแบบวีดีโอ

        Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่งหนึ่งของไทย

        iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวมงานอีเว้นต์ และเทศกาลสาคัญ

        Techkr เว็บ Social Bookmark ที่เก็บแต่เรื่ องราวเทคโนโลยี

        Fwdder.com เว็บที่ให้คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ ที่ได้รับมาจากคนอื่น แล้วนามาขึ้นแสดง
        ในเว็บไซต์ได้ทนที เรี ยกได้วาเป็ นเว็บไซต์ที่รวมพวก forward email ไว้ให้อ่านกันนันเอง
                      ั             ่                                                    ่

2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
         2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                          บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์
ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่ งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุ ดไว้แรกสุ ด
                                                                                ่
บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอใน
หลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถ
แสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่งทาให้ผเู้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดย
ทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึงหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพ
                                                                                    ู้
ก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ "

                                                        ่ ั
         บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร
                                                                                ่
การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่วา อาหาร การเมือง
เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อจะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์
                             ั
ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้
                                                                 ั                    ั
                                                                    ั
มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ให้กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาใน
                                 ั
ลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนา
ผลิตภัณฑ์
13


                                     ้     ่
         เว็บค้นหาบล็อกเทคโนโลยี ได้อางไว้วาปั จจุบนในอินเทอร์ เน็ต มีบล็อกมากกว่า 112 ล้านบล็อกทัว
                                                   ั                                              ่
โลก

         web blog คือ หลายคนก็ได้ให้ความหมายสั้นๆว่าเป็ นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal
                                                            ่
Journal) โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่ อง ไม่วาจะเป็ นเรื่ องราวส่ วนตัว หรื อเป็ นบทความ
เฉพาะด้านต่างๆ

         บล็อก คือ สื่ อใหม่ (New Media) เป็ นปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนรู ปแบบการสื่ อสารในอดีตอย่างสิ้ นเชิง
คนเขียนบล็อก สามารถทาหน้าที่เป็ นสื่ อด้วยตัวเอง ไม่ตองพึ่งสื่ อสารมวลชน เขาสามารถสื่ อสารกันเองใน
                                                            ้
กลุ่มเล็กๆ หรื อกลุ่มใหญ่ก็ได้ ถ้าเรื่ องไหน เป็ นที่ถูกใจ ของชาวบล็อก ชาวเน็ต คนๆ นั้น อาจจะดังได้เพียงชัว
                                                                                                          ่
ข้ามคืน โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่ อหลักช่วยเลย

จากที่ยกตัวอย่างความหมายของคาว่า "บล็อก" มาพอสังเขปจากหลากหลายแนวคิดแล้วนั้น ในส่ วนตัวแล้ว
เห็นก็เห็นด้วยกับคานิยาม หรื อความหมายของBlog ทั้งหมด แต่โดยส่ วนตัวนั้นอาจจะเพิ่มเติมในส่ วนของ
บล็อก นั้นเป็ นเสมือนเว็บไซต์สาเร็ จรู ป ที่มีระบบจัดการต่างๆ ได้มากมาย เหมาะสมกับผูที่ไม่สามารถพัฒนา
                                                                                    ้
เว็บไซต์ได้เอง และ บล็อก ก็ไม่จากัดความสามารถในการพัฒนาต่อไป แบบไม่มีสิ้นสุ ด ซึ่ งมีท้ งแบบฟรี
                                                                                           ั
แบบเสี ยค่าใช้จ่าย หรื อแบบเขียนบล็อก เองหรื อ สร้างmuli blog หรื ออื่นๆ อีกมากมาย

ซึ่ งจากนิยามความหมายของคาว่า บล็อกคืออะไรนั้นคงไม่จากัดเฉพาะแนวคิดใด แนวคิดถึง ซึ่ งก็ยงมีนิยาม
                                                                                        ั
ต่างๆ ในแต่ละมุมของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป

         2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

         แบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้

         1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อก ได้แก่

                 1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ

                 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่าย และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความ
มากนัก

                 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่
          ่
เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ
14


อินเตอร์เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […]
         2. แบ่งตามประเภทเนื้ อหา ได้แก่

                 2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวัน

                 2.2 บล็อกข่าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าว

                 2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม

                 2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ

                 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่ งแวดล้อม

                 2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ


                 2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ
จอเงิน

                 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา (Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

                 2.9 ติวเตอร์บล็อก (Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง

         2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก
                         ี่

                 www.blogger.com

                 www.exteen.com

                 www.mapandy.com

                 www.buddythai.com
15


www.imigg.com

www.5iam.com

www.blogprathai.com

www.ndesignsblog.com

www.idatablog.com

www.inewblog.com

www.onblogme.com

www.freeseoblogs.com

www.sumhua.com

www.diaryi.net

www.istoreblog.com

www.skypream.com

www.thailandspace.com

www.sungson.com

www.gujaba.com

www.sabuyblog.com

www.ugetblog.com

www.jaideespace.com

www.maxsiteth.com
16


                  www.my2blog.com

          2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress

Word Press คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ สามารถใช้งานได้ฟรี
         ่
ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับ
สร้างและบริ หารจัดการเนื้ อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์

Word Press ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสังมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ทางาน
                                        ่
บนฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข เพิ่มและลบ
                                              ่
ข้อมูล การใช้งาน Word Press ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ GNU General Public
License

Word Press ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt
                                            ่
Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free Hosting (พื้นที่
สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com

          ปั จจุบนนี้ Word Press ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ
                 ั                                                         ู้
                                      ่
บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ ใช้งาน
ง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programming มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา Theme (รู ปแบบ
                                                                                  ู้ ั
การแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย

          นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา Word Press ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา
                            ่
องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเอง
ได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ Word Press MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ดให้บริ การพื้นที่ทา
                                                                 ู้
เว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของ
                                ู้
เขาหรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain
17


        2.4 เทคโนโลยี 3G

        3G คือ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรื อ 3G) ที่
พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการให้บริ การด้านระบบเสี ยงที่ดีข้ ึน มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุ
ในการรั บส่ งข้อมูลที่ มากกว่า เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการรับส่ งข้อมูลแอพพลิ เคชั่น ทาให้เกิ ดการใช้บริ การ
มัลติมีเดีย และ ส่ งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็ วสู ง พร้อมทั้งสามารถใช้ บริ การมัลติมีเดียได้
เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้น




         3G เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนาต่อเนื่ องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเป็ นยุคที่มีการให้บริ การระบบเสี ยง และ
                                 ั
                                          ่
การส่ งข้อมูลในขั้นต้น ทั้งยังมีขอจากัดอยูมาก การพัฒนาของ 3G ทาให้เกิดการใช้บริ การมัลติมีเดีย และ
                                   ้
ส่ งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็ วที่สูงขึ้น
         ลักษณะการทางานของ 3G เมื่อเปรี ยบเทียบเทคโนโลยี 3G กับ 3G แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่
และ ความจุในการรับส่ งข้อมูลที่มากกว่า ทาให้ประสิ ทธิ ภาพในการรับส่ งข้อมูลแอพพลิเคชัน รวมทั้งบริ การ
                                                                                             ่
ระบบเสี ยงดีข้ ึน พร้อมทั้งสามารถใช้ บริ การมัลติมีเดียได้เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้นเช่น บริ การส่ งแฟกซ์,
โทรศัพท์ต่างประเทศ, รับ - ส่ งข้อความที่มีขนาดใหญ่, ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร, ดาวน์
โหลดเพลง, ชมภาพยนตร์ แบบสั้นๆ เทคโนโลยี
18


คุณสมบัติหลักของ 3G

         มีการเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิ ดเครื่ องโทรศัพท์ (always on) นันคือไม่
                                                                                                 ่
จาเป็ นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครื อข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใช้บริ การรับส่ งข้อมูล ซึ่ งการเสี ยค่าบริ การแบบนี้
จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเรี ยกใช้ขอมูลผ่านเครื อข่ายเท่านั้น โดยจะต่างจากระบบทัวไป ที่จะเสี ยค่าบริ การตั้งแต่เรา
                              ้                                            ่
ล็อกอินเข้าในระบบเครื อข่าย อุปกรณ์สื่อสารไร้สายระบบ 3G สาหรับ 3G อุปกรณ์สื่อสารไม่ได้จากัดอยู่
เพียงแค่โทรศัพท์เท่านั้น แต่ยงปรากฏในรู ปแบบของอุปกรณ์ สื่ อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital
                             ั
Assistant (PDA), Laptop และ PC

More Related Content

What's hot

บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารthaweesaph baikwang
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 

What's hot (20)

บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 

Viewers also liked

Conventions of a magazine for preliminary task
Conventions of a magazine for preliminary taskConventions of a magazine for preliminary task
Conventions of a magazine for preliminary taskMegan Whitehead
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกAriya Soparux
 
Creating my double page spread
Creating my double page spreadCreating my double page spread
Creating my double page spreadMegan Whitehead
 
Tq metric compared-0
Tq metric compared-0Tq metric compared-0
Tq metric compared-0allcorrect
 
Initial ideas for preliminary task
Initial ideas for preliminary taskInitial ideas for preliminary task
Initial ideas for preliminary taskMegan Whitehead
 
Analysis of similar style magazine contents page
Analysis of similar style magazine contents pageAnalysis of similar style magazine contents page
Analysis of similar style magazine contents pageMegan Whitehead
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAriya Soparux
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAriya Soparux
 

Viewers also liked (11)

Conventions of a magazine for preliminary task
Conventions of a magazine for preliminary taskConventions of a magazine for preliminary task
Conventions of a magazine for preliminary task
 
Creating my cover page
Creating my cover pageCreating my cover page
Creating my cover page
 
Photoshoot the voice
Photoshoot the voicePhotoshoot the voice
Photoshoot the voice
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
Creating my double page spread
Creating my double page spreadCreating my double page spread
Creating my double page spread
 
Tq metric compared-0
Tq metric compared-0Tq metric compared-0
Tq metric compared-0
 
Faq master
Faq masterFaq master
Faq master
 
Initial ideas for preliminary task
Initial ideas for preliminary taskInitial ideas for preliminary task
Initial ideas for preliminary task
 
Analysis of similar style magazine contents page
Analysis of similar style magazine contents pageAnalysis of similar style magazine contents page
Analysis of similar style magazine contents page
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
Presentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPresentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPrapisee Nilawongse
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
123
123123
123
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
Presentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPresentationการผลิตเอกสาร
Presentationการผลิตเอกสาร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. 3 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง เทคโนโลยี 3G นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ้ั 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษาง่าย ขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชีวตประจาวันทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ ิ เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง 3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ้ ่ ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลาอันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรมแดน 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้ ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
  • 2. 4 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้ องประกอบด้ วย 1. ฮาร์ ดแวร์ Hardware 2. ซอฟต์แวร์ Software 3. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการให้บริ การข้อมูลและติดต่อสื่ อสาร พืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้ วยส่ วนประกอบ ดังนี้ ้ 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 1. ฮาร์ ดแวร์ Hardware 2. ซอฟต์แวร์ Software 3. ข้อมูล Data 4. บุคลากร People 2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผูใช้งาน Programmer, System Analyst และ User เป็ น ้ บุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นกวิเคราะห์ได้ ั ออกแบบไว้ส่วนผูใช้จะเป็ นกลุ่มที่มีอิทธิ พลต่อทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ มากที่สุด ้ 3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล หน่ วยรับข้ อมูล ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ หน่ วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด หน่ วยแสดงผล ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล หน่ วยเก็บข้ อมูล ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จาก การประมวลผลในระหว่างที่รอส่ งไปยังหน่วยแสดงผล
  • 3. 5 4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้ มข้อมูล 5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. การรวบรวมข้อมูล 2. การประมวลผล 3. การดูแลรักษา เทคโนโลยีสารสนเทศรู ปแบบต่ าง ๆ ่ 1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็ นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทาหน้าที่ไม่วาจะเป็ นการ บันทึก การแก้ไข การทารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความ สะดวกรวดเร็ วในการทางานและยังช่วยเป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจด้วย ั 2. เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย เป็ นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กนมากในปั จจุบน มีประโยชน์ ดังนี้ ั 1. สามารถติดต่อถึงกันได้ดวยจดหมายอิเล็กทอนิกส์ (E-mail) ้ 2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผูอยูห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่าง ้ ่ รวดเร็ วไม่ตองเสี ยเวลาในการเดินทาง ้ 3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครื อข่ายสามารถใช้ อุปกรณ์ร่วมกันได้ 4. สามารถทางานร่ วมกันได้หรื อทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน 3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็ นระบบการทางานที่ใช้ระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้ 1. พนักงานสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (E - mail) 2. สามารถบันทึกแฟ้ มเอกสารหรื องานพิมพ์เก็บไว้ และสามารถนามาแก้ไขปรับปรุ งให้
  • 4. 6 ดีข้ ึนได้ง่าย 3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย 4. มีระบบฝากข้อความเสี ยง (Voice Mail) 5. การประชุมทางไกล (Video Teleconference) 4. เทคโนโลยีช่วยสอน CAI ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โรงเรี ยนและสถานศึกษาก็เริ่ มมีการ ั พัฒนาโปรแกรมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปขึ้นมาใช้และมีผลดีกบนักเรี ยนที่จะได้สื่อการเรี ยนการสอนที่ทนสมัยและ ั มีความน่าสนใจมากขึ้น การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาด้วย 2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับงานและเพื่อประโยชน์ สู งสุ ดที่ควรจะได้รับ 3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแล ไม่ปล่อยปละละเลยหรื อใช้ในทางที่ผิด 4. การลงทุน ควรคานึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับด้วย หากประโยชน์ที่ได้ไม่ คุมค่าแก่การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสี ยใหม่ ้ 5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ขอมูลซ้ าซ้อน ควรมีการแบ่งปั นข้อมูลเพื่อให้การ ้ ั ทางานร่ วมกัน มีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กน 6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้องมีการดูแลให้สิทธิ แก่ผใช้ ู้ ภายในขอบเขตของแต่ละคน
  • 5. 7 2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media ่ 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social Media คือ เครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์ เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษทต่าง ๆ เข้า ั ั ไปเพื่อทาการสื่ อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ ทางานบางสิ่ ง ่ บางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น  blog  podcast  เว็บประเภท Video Sharing เช่น YouTube  เว็บประเภท Social Network เช่น Facebook, Hi5  เว็บประเภท micro blog เช่น Twitter  เว็บประเภทอัลบั้มรู ปภาพอย่างเช่น Flickr  เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่น Digg, Stumble Upon หรื อแม้กระทังเว็บอื่น ๆ ที่คุณสามารถมีปฎิสัมพันธ์ หรื อแบ่งปั นบางสิ่ งบางอย่าง กับนักท่องเว็บคนอื่น ๆ ได้ ่ อย่างทันทีทนใด ั 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media ปัจจุบนคนไทยมีโอกาสเข้าถึง Internet ความเร็ วสู งหรื อ Broadbandได้ โดยมีการขยายตัว ั เพิ่มถึง 40เท่าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ตองสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้ Broadband จะกลายเป็ นสิ่ งสาคัญ ้ ในชีวตของคนไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งานInternetนั้นมีการเติบโตอย่างรวดเร็ วมาก โดยตลาดมี ิ การขยายตัวสู งถึง 40เท่าโดยประมาณ การสู ้รบระหว่าง Digital กับ Traditionalจะต้องมาจบด้วยความพ่ายแพ้
  • 6. 8 ของยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าวต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้านได้เริ่ มมากกว่าทศวรรษแล้วนโยบาย ่ ของรัฐบาลไทยในปั จจุบน ในหัวข้อที่วา “Creative Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็ นจริ งได้ ั ั ่ หรื อไม่น้ น อยูที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับจุดเด่นของประเทศเพื่อให้เกิดคุณค่าทาง เศรษฐกิจสู งสุ ด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีก็เป็ นปั จจัยที่สาคัญมากสาหรับนโยบายการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การแข่งขันเปิ ดอย่างเสรี ทาให้มีเวทีในการแข่งขัน ระหว่างบริ ษทชั้นนา เช่น Apple และ Google ได้นามาสู่ Disruptive Technology เช่นiphone4,IPAD,Android ั ที่มีการนามาใช้งานBroadband ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่านโครงข่าย3G มีประสิ ทธิ ภาพอย่างไม่เคย เป็ นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้าถึงได้ และกาลังมียอดขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็ น Corvergance ของ Technology ที่ระบบโครงข่าย 3G ซึ่ งกาลังจะมีข้ ึนทัวประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กาลังร่ วม ่ สร้างปรากฏการณ์ของ Broadband ที่จะเป็ น Disruptive Change แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband ั เป็ นดาบสองคม ถึงจะมีประโยชน์ในด้านการสื่ อสาร ธุ รกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทังเพิ่ม GDP ให้กบพื้นที่ ่ ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็ นเครื่ องมือเผยแพร่ ขอมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรู ปแบบ ้ ของข้อความ ภาพ เสี ยง และวีดิโอ ที่สามารถนาไปสู่ การสร้างสังคมออนไลน์ หรื อ Social Media เช่น Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่สามารถทาได้ดวยสื่ อชนิดอื่น ้ นอกจากนี้ในปั จจุบนเรากาลังเรากาลังเข้าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรื อ Virtual World ที่อาจมา ั ในรู ปแบบของ Second Life หรื อเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิ พลต่อ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่งมีความสาคัญ กับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้สิ่งหนึ่งที่น่าสังเกตอีกประการคือ Social media ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริ ษทที่ควบคุมโดยต่างชาติแล้ว ตลาดใน ั ประเทศไทยไม่ใช่ตลาดใหญ่หรื อตลาดที่สาคัญ ยังไม่มีบริ ษท,ศูนย์บริ การ หรื อกระทังพนักงานที่รับผิดชอบ ั ่ ประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความเป็ นไทยกาลังมีอิทธิ พลมากในสังคม จานวนชัวโมงการ ่ ใช้social mediaต่อวันมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง และอาจเป็ นไปได้ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถูก ่ ่ ลบเลือนโดยอิทธิ พลของต่างชาติผานBroadband ด้วยเหตุผลที่วา สื่ อยุคเก่ามีขอบังคับการนาเสนอข่าวที่ตอง ้ ้
  • 7. 9 เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผูใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้ ้ อย่างอิสระ ปราศจากข้อจากัดที่เข้มงวด ้ ั การติดต่อสื่ อสารกันในปั จจุบนนี้น้ น “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุนหูกนในฐานะของ ั ั ่ สื่ อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทัวโลกด้วย ไม่วาจะในรู ปแบบของการติดต่อสื่ อสาร ่ ของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรื อแม้กระทังการเข้ามาทาธุ รกิจผ่านช่องทางดังกล่าว บทบาทของ ่ Social Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนินธุ รกิจขององค์กรต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่ องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์และการดาเนินธุ รกิจโดยมีการดึง social media เข้าไปใช้องค์กรเพื่อให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีของสังคมไทยในยุคปั จจุบน ั ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้กาวเข้าสู่ อีกขั้นของเทคโนโลยีในด้านการติดต่อสื่ อสาร จะ ้ ่ ั เห็นได้วาในอดีตนั้นสื่ อหลักที่ใช้กนในประเทศจะเป็ นสื่ อจาพวก โทรทัศน์,วิทยุ,สื่ อสิ่ งพิมพ์ ซึ่ งเป็ นจากการ ั ้ ติดต่อสื่ อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบกลับของผูรับสื่ อ เป็ นการป้ อนข้อมูลผ่านสื่ อให้กบผูบริ โภค แต่เมื่อ ้ มีการนา Social Media เข้ามาใช้น้ น เป็ นสื่ อที่อิสระในด้านของการให้ขอมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของ ั ้ ความคิดเห็นผ่านสื่ อ (เป็ นการสื่ อสารแบบ Two-way-communication) ซึ่ งจะมีลกษณะเด่นในเรื่ องของการมี ั ส่ วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผูเ้ สพสื่ อหรื อผูรับสื่ อก็สามารถเป็ นผูส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน ้ ้ 2.มีการผุดขึ้นของธุ รกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็ นจานวนมากผ่านการใช้สื่อ social media ไม่วา ่ จะเป็ น hi5,facebook,twitter ก็จะมีผเู ้ ข้ามาดาเนิ นธุ รกิจในรู ปแบบนี้ กลายเป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการทาธุ รกิจ ที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการดาเนิ นงาน นอกจากนี้ยงประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจานวนมาก ั ่ ,บริ หารจัดการง่ายในส่ วนของสิ นค้า จะเห็นได้วามีธุรกิจจานวนไม่นอยที่ประสบความสาเร็ จจากการทา ้ ธุ รกิจผ่านสื่ อทางอินเตอร์ เน็ต เช่น ร้านหนังสื อ Amazon ,weloveshopping รวมถึงร้านขนาดเล็กๆอีกมากมาย ่ 3.เป็ นประโยชน์ในเรื่ องของการสร้างเครื อข่ายต่างๆ ไม่ผานจะเป็ นในด้านของธุ รกิจ, การเมือง หรื อ แม้กระทังความชอบหรื องานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มีจานวนมากในสื่ อ ่ อินเตอร์เน็ต ปั จจุบนนี้ ร้านค้าหรื อองค์กรธุ รกิจต่างๆก็ใช้การสร้างเครื อข่ายเป็ นอีกช่องทางในการให้ขอมูล ั ้ ั ่ ต่างๆของบริ ษท ไม่วาจะเป็ นรายละเอียดในส่ วนของสิ นค้า,โปรโมชันต่างๆ หรื อแม้กระทังการรับฟังข้อมูล ่ ่ ความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่ อนี้ เนื่องจากมีความสะดวกและสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็ นจานวนมาก 4.เครื อข่าย 3G ถูกพัฒนาเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านข้อมูลเป็ นหลัก เช่น การรับ-ส่ งไฟล์เพลง, วีดีโอ, รู ปภาพ, การดาวน์โหลดคอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต, การใช้บริ การเสริ ม เป็ นต้น สามารถส่ ง
  • 8. 10 ี ั ่ เพลง MP3 หรื อไฟล์วดีโอ ได้ในเวลาที่รวดเร็ ว ในขณะที่เครื อข่าย GPRS / EDGE ที่ใช้กนอยูในปั จจุบนจะ ั ใช้เวลานานมากๆ ดังนั้นเป็ นประโยชน์อย่างมากสาหรับบุคคลหรื อองค์กรที่เน้นการใช้งานอินเตอร์ เน็ตหรื อ ใช้งานด้านข้อมูลเป็ นหลัก ซึ่งจะเป็ นการช่วยลดเวลาในการดาเนินงานรวมถึงเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในด้านการ ดาเนินงานและการจัดเก็บข้อมูลได้เป็ นอย่างดี ข้ อเสี ยของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.การเข้ามาของสื่ อในประเทศไทยนั้นรุ นแรงและน่ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่ อทางนี้มีมาก เนื่องจากว่าการให้ขอมูลผ่านสื่ อไม่มีเงื่อนไขหรื อข้อจากัดที่เข้มงวด ทาให้เกิดการก่ออาชญากรรมผ่านการ ้ ให้ขอมูล เช่น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึงการให้ขอมูลเท็จเพื่อหลอกลวงผูเ้ สพสื่ อ ตัวอย่างเช่น ้ ้ ธุ รกิจสถาบันการเงินมีการใช้สื่อทางSocial media เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ลูกค้าในด้านการทาธุ รกรรม ต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ขอมูลส่ วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็สามารถทีจะทาธุ รกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ ้ ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิดการขโมยข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเว็บไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้คนใช้ บริ การเกิดความเข้าใจผิด และเมื่อใส่ ขอมูลส่ วนตัวหรื อรหัสต่างๆเข้าไปในระบบ ทาให้กลุ่มผูไม่หวังดี ้ ้ ดังกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของผูใช้บริ การได้ ้ 2.การใช้งานด้าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยังเป็ นแค่กลุ่มใช้งาน แต่ไม่มีความสามารถใน ่ การแข่งขันได้ ถึงแม้วาจานวนผูใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เราไม่สามารถปฏิเสธได้วา ้ ่ การเข้าใช้งานสื่ อทางนี้มีคนจานวนไม่นอยที่เข้าใช้งานเนื่องจากเพื่อให้ตามเทรนด์ของสังคมในยุคปั จจุบน ้ ั หรื อเพื่อเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้านความรู ้เพื่อสร้างสื่ อบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเพื่อ ั ่ แข่งขันกับสื่ อsocial mediaของต่างประเทศ และเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็นได้วาประเทศอื่นๆมี ่ Social network ท้องถิ่นที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ไม่วาจะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี ,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็ นอันดับหนึ่งในประเทศของตน แม้กระทังในประเทศอินเดียและ ้ ่ อินโดนี เซี ยก็ยงมี Mobile Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่ งมีการส่ งข้อความภายในประเทศเป็ นสองเท่าของ ั จานวนทวีทของ Twitter รวมกันทั้งโลก แต่เมื่อย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่ งกาลังมีการผันกระแสจากการใช้งาน Hi5 เป็ นการใช้งาน Facebook และtwitterนั้นโดยมองไม่เห็นเงาของการบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเลย นอกจากนี้ การลงทุนในเรื่ องของ ของเทคโนโลยีต่างๆ เช่น บริ ษทยักษ์ใหญ่อย่าง IBM เข้ามาสร้าง Innovation centre ในประเทศเวียดนาม ั หรื อแม้กระทังการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชาเป็ น regional centre โดยมองข้ามประเทศไทย สาเหตุ ่ หลักนันก็คือความพร้อมในด้านการศึกษาและพัฒนา ประเทศไทยมีการใช้งานระบบต่างๆอย่างแพร่ หลายแต่ ่ กลับไม่มีความมุ่งมันในการพัฒนาระบบเพื่อให้ระบบท้องถิ่นสามารถต่อสู ้กบสื่ อต่างประเทศที่เข้ามามี ่ ั อิทธิพลของประเทศไทยได้
  • 9. 11 อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็ จในโลกของธุ รกิจของSocial Mediaนั้ น ควรมุ่งที่ จะพัฒนาในเรื่ องของความสามารถในการแข่งขันและปลูกฝังในเรื่ องของค่านิยมต่างๆภายในประเทศ มากกว่าการเพิ่มจานวนผูเ้ ข้าถึงการใช้งานในสื่ อทางนี้ หากมีการมุ่งมันและพัฒนาอย่างจริ งจัง เชื่อได้แน่นอน ่ ว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่ อที่มีบทบาท และทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ประเทศไทยก้าวเข้าไปสู่ การแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านหรื อ แม้กระทังบนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์ ่ 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media ี่ myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทัวไป เป็ นเว็บไซต์ในเครื อ sanook.com ่ D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มีสโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สาหรับคนดี ๆ BangkokSpace เป็ น Social Network สาหรับคนชอบเที่ยวกลางคืน Blogging ่ exteen เว็บผูให้บริ การ blog อันดับหนึ่งของไทย สู สีเบียดกับ bloggang อยูตลอด แต่หลัง ๆ ดู ้ เหมือนยอดสมาชิกจะแซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ดี BlogGang ผูให้บริ การพื้นที่ blog ในเครื อ pantip.com ซึ่ งสมาชิกส่ วนใหญ่ จะเป็ นแฟนคลับ หรื อขา ้ ่ ประจาของ pantip.com อยูแล้ว Micro Blogging NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พฒนาโดยคนไทย (ในเครื อ sanook.com เช่นกัน) แต่ดูมี ั ่ แนวโน้มการพัฒนาที่ดี ไม่วาจะเป็ นการเชื่อมให้อพเดทกับ twitter ได้ หรื อการอัพเดท noknok ผ่าน ั มือถือเป็ นต้น Social Bookmarking
  • 10. 12 ั Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้กนเพียบ เป็ นที่รวมข้อมูลบทความทันสมัย ที่มีคนมาช่วยกันใส่ เรื่ องใหม่ ทุกวัน Duocore เว็บที่รายงานข่าวเกี่ยวกับวงการไอทีไทย ในรู ปแบบวีดีโอ โดยใช้ระบบ Social Bookmark มาให้ผชม ช่วยกันส่ งเรื่ องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ามา ในแต่ละสัปดาห์จะมีการเลือกเรื่ องราวที่ ู้ น่าสนใจ ไปทารายการเป็ นรู ปแบบวีดีโอ Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่งหนึ่งของไทย iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวมงานอีเว้นต์ และเทศกาลสาคัญ Techkr เว็บ Social Bookmark ที่เก็บแต่เรื่ องราวเทคโนโลยี Fwdder.com เว็บที่ให้คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ ที่ได้รับมาจากคนอื่น แล้วนามาขึ้นแสดง ในเว็บไซต์ได้ทนที เรี ยกได้วาเป็ นเว็บไซต์ที่รวมพวก forward email ไว้ให้อ่านกันนันเอง ั ่ ่ 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์ ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่ งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุ ดไว้แรกสุ ด ่ บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอใน หลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถ แสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่งทาให้ผเู้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดย ทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึงหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพ ู้ ก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ " ่ ั บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร ่ การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่วา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อจะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ ั ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้ ั ั ั มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ให้กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาใน ั ลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์
  • 11. 13 ้ ่ เว็บค้นหาบล็อกเทคโนโลยี ได้อางไว้วาปั จจุบนในอินเทอร์ เน็ต มีบล็อกมากกว่า 112 ล้านบล็อกทัว ั ่ โลก web blog คือ หลายคนก็ได้ให้ความหมายสั้นๆว่าเป็ นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal ่ Journal) โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่ อง ไม่วาจะเป็ นเรื่ องราวส่ วนตัว หรื อเป็ นบทความ เฉพาะด้านต่างๆ บล็อก คือ สื่ อใหม่ (New Media) เป็ นปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนรู ปแบบการสื่ อสารในอดีตอย่างสิ้ นเชิง คนเขียนบล็อก สามารถทาหน้าที่เป็ นสื่ อด้วยตัวเอง ไม่ตองพึ่งสื่ อสารมวลชน เขาสามารถสื่ อสารกันเองใน ้ กลุ่มเล็กๆ หรื อกลุ่มใหญ่ก็ได้ ถ้าเรื่ องไหน เป็ นที่ถูกใจ ของชาวบล็อก ชาวเน็ต คนๆ นั้น อาจจะดังได้เพียงชัว ่ ข้ามคืน โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่ อหลักช่วยเลย จากที่ยกตัวอย่างความหมายของคาว่า "บล็อก" มาพอสังเขปจากหลากหลายแนวคิดแล้วนั้น ในส่ วนตัวแล้ว เห็นก็เห็นด้วยกับคานิยาม หรื อความหมายของBlog ทั้งหมด แต่โดยส่ วนตัวนั้นอาจจะเพิ่มเติมในส่ วนของ บล็อก นั้นเป็ นเสมือนเว็บไซต์สาเร็ จรู ป ที่มีระบบจัดการต่างๆ ได้มากมาย เหมาะสมกับผูที่ไม่สามารถพัฒนา ้ เว็บไซต์ได้เอง และ บล็อก ก็ไม่จากัดความสามารถในการพัฒนาต่อไป แบบไม่มีสิ้นสุ ด ซึ่ งมีท้ งแบบฟรี ั แบบเสี ยค่าใช้จ่าย หรื อแบบเขียนบล็อก เองหรื อ สร้างmuli blog หรื ออื่นๆ อีกมากมาย ซึ่ งจากนิยามความหมายของคาว่า บล็อกคืออะไรนั้นคงไม่จากัดเฉพาะแนวคิดใด แนวคิดถึง ซึ่ งก็ยงมีนิยาม ั ต่างๆ ในแต่ละมุมของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก แบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อก ได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่าย และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความ มากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่ ่ เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ
  • 12. 14 อินเตอร์เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบ่งตามประเภทเนื้ อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวัน 2.2 บล็อกข่าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าว 2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม 2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่ งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ 2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ จอเงิน 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา (Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก (Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก ี่ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com
  • 14. 16 www.my2blog.com 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress Word Press คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ สามารถใช้งานได้ฟรี ่ ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับ สร้างและบริ หารจัดการเนื้ อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์ Word Press ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสังมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ทางาน ่ บนฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข เพิ่มและลบ ่ ข้อมูล การใช้งาน Word Press ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ GNU General Public License Word Press ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt ่ Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free Hosting (พื้นที่ สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com ปั จจุบนนี้ Word Press ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ ั ู้ ่ บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ ใช้งาน ง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programming มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา Theme (รู ปแบบ ู้ ั การแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา Word Press ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา ่ องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเอง ได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ Word Press MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ดให้บริ การพื้นที่ทา ู้ เว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของ ู้ เขาหรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain
  • 15. 17 2.4 เทคโนโลยี 3G 3G คือ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรื อ 3G) ที่ พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการให้บริ การด้านระบบเสี ยงที่ดีข้ ึน มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุ ในการรั บส่ งข้อมูลที่ มากกว่า เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการรับส่ งข้อมูลแอพพลิ เคชั่น ทาให้เกิ ดการใช้บริ การ มัลติมีเดีย และ ส่ งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็ วสู ง พร้อมทั้งสามารถใช้ บริ การมัลติมีเดียได้ เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้น 3G เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนาต่อเนื่ องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเป็ นยุคที่มีการให้บริ การระบบเสี ยง และ ั ่ การส่ งข้อมูลในขั้นต้น ทั้งยังมีขอจากัดอยูมาก การพัฒนาของ 3G ทาให้เกิดการใช้บริ การมัลติมีเดีย และ ้ ส่ งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็ วที่สูงขึ้น ลักษณะการทางานของ 3G เมื่อเปรี ยบเทียบเทคโนโลยี 3G กับ 3G แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับส่ งข้อมูลที่มากกว่า ทาให้ประสิ ทธิ ภาพในการรับส่ งข้อมูลแอพพลิเคชัน รวมทั้งบริ การ ่ ระบบเสี ยงดีข้ ึน พร้อมทั้งสามารถใช้ บริ การมัลติมีเดียได้เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้นเช่น บริ การส่ งแฟกซ์, โทรศัพท์ต่างประเทศ, รับ - ส่ งข้อความที่มีขนาดใหญ่, ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร, ดาวน์ โหลดเพลง, ชมภาพยนตร์ แบบสั้นๆ เทคโนโลยี
  • 16. 18 คุณสมบัติหลักของ 3G มีการเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิ ดเครื่ องโทรศัพท์ (always on) นันคือไม่ ่ จาเป็ นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครื อข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใช้บริ การรับส่ งข้อมูล ซึ่ งการเสี ยค่าบริ การแบบนี้ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเรี ยกใช้ขอมูลผ่านเครื อข่ายเท่านั้น โดยจะต่างจากระบบทัวไป ที่จะเสี ยค่าบริ การตั้งแต่เรา ้ ่ ล็อกอินเข้าในระบบเครื อข่าย อุปกรณ์สื่อสารไร้สายระบบ 3G สาหรับ 3G อุปกรณ์สื่อสารไม่ได้จากัดอยู่ เพียงแค่โทรศัพท์เท่านั้น แต่ยงปรากฏในรู ปแบบของอุปกรณ์ สื่ อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital ั Assistant (PDA), Laptop และ PC