SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่
สูบบุหรี่
ปรับปรุงครั้งที่ 5
วันที่ 30 พฤษภาคม 2554
วิธีเลิกสูบ
บุหรี่
บุหรี่ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ทุกชนิด ได้แก่
- บุหรี่ซิการ ์แรต
- บุหรี่มวนเอง หรือยาสูบมวนใบ
จากหรือกระดาษ
- ซิการ ์ไปป์
- ฯลฯ
ข้อตกลงเบื้องต้น
วิธีเลิกสูบบุหรี่
 เสียสุขภาพกาย ....เกิดโรค
 เสียสุขภาพจิต ....ราคาญ เป็ นห่วง/
กลัว
 เสียเวลาโดยไม่มีประโยชน์จริง...เวลา
สูบ/ เวลาชีวิต
 เสียโอกาส...ทางาน ทาสิ่งดี ๆ อยู่กับ
ครอบครัว
 เสียเงินเก็บ....เพื่อสิ่งดี ๆ ในชีวิตและ
ครอบครัว
 เสียเศรษฐกิจชาติ...มหาศาล!!
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
สูบบุหรี่…มีแต่เสีย…ทั้งคนสูบแล
 อิสรภาพ
 สุขภาพ กาย จิต
 ความอบอุ่นใจ ครอบครัว ผู้ร่วมงาน
สังคม
 ชีวิต
 เงิน
 บุญ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เลิกบุหรี่แล้วมีแต่ได้
มาเลิกสูบบุหรี่กันเถอะ
 บุหรี่ให้อะไรคุณบ้าง?
 บุหรี่นาความสุขมาให้ชีวิตคุณ
ใช่ไหม?
 จริงหรือ? ที่คุณต้องการมีชีวิตอยู่
กับการสูดควันผ่านเข้าออกรู
จมูก ต้องคาบอะไรบางอย่างคา
ปากไว้ตลอดเวลา?
 คุณชอบให้ปอดของคุณเป็ น
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
คาถามให้คิด
 ถ้ามวนที่กาลังสูดควันเข้าไปทาให้
เป็ นมะเร็งจะสูบไหม?
 ถ้าลูกอยากสูบเหมือนคุณจะให้เขา
เริ่มสูบหรือไม่?
 ถ้ารอเวลายังไม่เลิกสูบ จะรอจนกว่า
จะป่ วยหรือ?
 ถ้ามวนที่กาลังสูดควันเข้าไปทาให้
เป็ นถุงลมโป่ งพองจะสูบไหม?
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
คาถามให้คิด
เลิกเพราะคิดได้
ว่าไม่มีประโยชน์ทั้งต่อตนเองและคน
รอบข้าง
คนเลิกสูบบุหรี่ด้วย
เหตุผล 3 ประการ
เลิกเพราะ
ตาย
คุณอยากเป็ นประเภทไหน?
เลิกเพราะ ป่ วย
 2 ชั่วโมงหลังเลิกสูบบุหรี่ นิโคตินถูก
ขจัดออกจากกระแสเลือดทั้งหมด ทาให้
คุณรู ้สึกหงุดหงิด เครียด ถ้าอดทน
อาการจะหายไปในระยะเวลา 2-10 วัน
ขึ้นอยู่กับระดับการเสพติดของแต่ละคน
 หลายชั่วโมงหลังเลิกสูบบุหรี่
คาร ์บอนมอนอกไซด์ถูกขจัดออกจาก
ร่างกาย คุณอาจรู ้สึกมึนศีรษะ ง่วงนอน
อาการจะหายไปเร็วถ้าคุณออกกาลัง
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณหยุดสูบบ
 2 วันหลังเลิกสูบบุหรี่ ความรู ้สึกรับรู ้รส
และกลิ่นดีขึ้นอย่างมาก
 3 สัปดาห์หลังเลิกสูบบุหรี่ ปอดทางานได้
ดีขึ้น ออกกาลังกายได้ดีขึ้น เหนื่อย
น้อยลง รู ้สึกหายใจโล่งขึ้น
 2 เดือนหลังเลิกสูบบุหรี่ เลือดไหลเวียน
ไปยังส่วนมือและเท้าได้ดีขึ้น อาจรู ้สึก
ชาเหมือนเข็มแทงที่ปลายมือปลายเท้า
ระยะหนึ่ง เป็ นอาการปกติจากการฟื้นตัว
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณหยุดสูบบ
 3 เดือนหลังเลิกสูบบุหรี่ ขนอ่อนพัดโบก
ของเยื่อบุทางเดินหายใจทางานดีขึ้น
เริ่มขจัดน้ามันดิน (ทาร ์) ออกจาก
ร่างกาย อาจทาให้มีอาการไออยู่ระยะ
หนึ่ง เชื้ออสุจิจะเคลื่อนไหว ได้ดี
เหมือนปกติ และจานวนเชื้ออสุจิ
ก็เพิ่มขึ้นด้วย
 1 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ลดความเสี่ยง
ของโรคหัวใจลงครึ่งหนึ่ง
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณหยุดสูบบ
 5 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ความเสี่ยงของ
การเป็ นโรคที่เกิด
จากควันบุหรี่ ลดลงเหลือเท่าคนไม่เคย
สูบบุหรี่
 10 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ลดความเสี่ยง
ของโรคมะเร็งลง
½ เท่า
 15 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ความเสี่ยงของ
การเป็ นโรคหัวใจ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณหยุดสูบบ
การสร้างแรงจูงใจ
 เขียนข้อดี ข้อเสียของการสูบบุหรี่ นามา
ชั่งน้าหนัก
 พูดคุยหรือสอบถามคนที่เลิกสูบได้แล้ว
 เขียนเหตุผลที่ทาให้อยากเลิก เก็บไว้กับตัว
และในที่ที่เห็นได้ง่าย
เช่น ลูกขอ ห่วงสุขภาพ เป็ นต้น
 บอกคนรู ้ใจ ให้เป็ นกาลังใจ หรือชวนเพื่อน
ให้เลิกสูบด้วยกัน
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เทคนิคการเลิกสูบบุหรี่
 ทาความเข้าใจกับการติดนิโคติน คุณ
ติดนิโคตินมากเพียงไร
 ถามตัวเองว่า คุณต้องสูบบุหรี่ภายใน
30 นาทีที่ตื่นนอนหรือไม่?
 คุณสูบมากกว่า 15 มวนต่อวันหรือไม่?
 เมื่อคุณพยายามเลิกบุหรี่คุณมีอาการ
หงุดหงิด กระวนกระวาย เครียด มาก
หรือไม่?
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เตรียมความพร้อมที่จะลงม
 นิโคตินเป็ นสารเสพติด เมื่อเสพผ่านไป
2 ชั่วโมงจะออกไปจากร่างกายครึ่งหนึ่ง
หากสูบจัดจะรู ้สึกกระวนกระวายต้องสูบ
เข้าไปซ้า หากสูบไม่มากจะไม่รู ้สึก
อะไร
 48 ชั่วโมงหลังเลิกบุหรี่ จะตรวจไม่พบ
โคตินินในร่างกายแล้ว
 วันที่ 3 หลังเลิกบุหรี่จะมีอาการเครียด
้
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ทาความรู ้จักนิโคติน
 ควรพบแพทย์หรือเภสัชกร
เพื่อขอคาปรึกษาเรื่องยา
หรือนิโคตินทดแทนเพื่อ
บรรเทาอาการ
 อดทนไว้ อย่ากลับไปสูบอีก
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
หากคุณมีอาการขาดนิโค
 เพราะความอยาก หากไม่สูบจะเกิดอาการ
ไม่สุขสบาย นั่นคือคุณติดนิโคติน
 เพราะอารมณ์ สูบเมื่อรู ้สึกเครียด เสียใจ
กลุ้มใจ คับข้องใจ คิดอะไรไม่ออก เบื่อ
เหงา ว่าง หรือเมื่อมีความสุข เลี้ยงฉลอง
 เพื่อเข้าพวก เข้าสังคม
 เพราะความเคยชิน เช่นหลังอาหาร เมื่อ
พักระหว่างงาน ฯลฯ
เพื่อวางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแก้ไขอาการอยา
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
าความรู ้จักตนเอง
พราะอะไรคุณจึงสูบบุหรี่?
 ปรึกษาผู้รู ้
 พูดคุยกับคนที่เลิกได้แล้ว
 ศึกษาความรู ้วิธีเลิกบุหรี่ และการ
แก้ไขอาการขาดนิโคติน หรือความ
อยากสูบ วิธีป้ องกันการกลับไปสูบอีก
 วิธีป้ องกันน้าหนักตัวเพิ่ม
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
หาความรู ้เพื่อสู้กับบุหรี่ให้ชน
ไม่ควรนานเกิน 14 วัน
วันที่ดีที่สุดคือ
วันนี้
กาหนดวันที่จะลงมือเล
ทิ้งบุหรี่
ทิ้งหรือแยกบุหรี่และอุปกรณ์ออก
จากกัน
ทิ้งหัวใจที่รักบุหรี่
ไม่ซื้อ ไม่ขอ ไม่รับ ไม่จุด ไม่ดูด
ไม่รอช้า…ลงมือ
 ตื่นนอนด้วยความสดชื่น บอกตัวเอง
ว่า กาลังทาสิ่งที่ดีให้กับชีวิตและคน
ใกล้ชิด “ฉันจะเป็ นคนไม่สูบบุหรี่
แล้ว”
ดื่มน้าอย่างน้อย 2 แก้ว (เตรียมน้า
วางไว้ก่อนเข้านอน)
 แปรงฟัน แปรงลิ้น อาบน้า
 หากมีปัญหาการขับถ่าย ดูวิธีแก้
อาการท้องผูก สไลด์ 133
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ถือคามั่น…ไม่หวั่นไหว
 หลังอาหารทุกมื้อลุกออกจากโต๊ะไป
ทาอย่างอื่นแทน
การสูบบุหรี่ บ้วนปาก หรือ แปรง
ฟัน หรือ รับประทานผลไม้รสเปรี้ยว
 รับประทานผักให้มาก เลี่ยงอาหาร
รสเผ็ดจัดไป
ระยะหนึ่ง
 ออกกาลังกายสม่าเสมอ
่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
 มะนาวทั้งเปลือก เลือกเปลือกเขียว
หนา ล้างน้าให้สะอาด หั่นตามยาว
และทาเป็ นชิ้นเหมือนรับประทานกับ
เมี่ยงคา หากไม่ชอบเปรี้ยวเฉือนเนื้อ
ออกบ้าง พกมะนาวแทนบุหรี่กับไฟ
แช็ก เมื่อไรที่อยากสูบบุหรี่ ให้เคี้ยว
มะนาวอย่าง ช้า ๆ แล้วดื่มน้าตาม
เล็กน้อย
่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ผลไม้รสเปรี้ยวที่แนะนา
 แอลกอฮอล์
 คนสูบบุหรี่
 สถานที่ที่มีการสูบบุหรี่
 กาแฟ
 อาหารรสจัด
 สิ่งเร้าปาก เช่น ลูกอม หมาก
ฝรั่ง
 สภาพแวดล้อมที่เคยสูบบุหรี่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ข้อพึงหลีกเลี่ยง
เวลาที่อยาก
สูบ
ความรู ้สึกอยาก
มาก/ปานกลาง/
น้อย
ทาอย่างอื่นแทน
การสูบบุหรี่
ผล
ไม่สูบ/
สูบ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ตารางรู ้ทันบุหรี่ บันทึกทุกวันเพื่อป
ทาอย่างไรดี ถ้ามีอาการ?
 เมื่อรู ้สึกเครียด ให้หยุดพักสมองชั่วครู่
 เดินออกไปคุยกับคนอื่น
 รดน้าต้นไม้ ฯลฯ
 โทรศัพท์หาคนที่สบายใจเมื่อได้พูดด้วย
 อ่านหนังสือขาขัน
 อ่านความตั้งใจที่เขียนไว้ และเขียนเพิ่ม
 ทาสมาธิ สูดลมหายใจเข้าออกลึก ๆ ช้า ๆ
2-3 ครั้ง
 จาไว้ว่าคนไม่สูบบุหรี่ก็มีความเครียด
เครีย
ด
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
 ดื่มน้า บ้วนปาก อมน้า
 อาบน้า เช็ดตัว
 ออกกาลังกาย
 เลี่ยงจากสิ่งที่ทาให้รู ้สึก
หงุดหงิด
 บอกตนเองว่าเป็ นอาการขาด
นิโคติน อีกไม่นานอาการก็จะ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
หงุดหงิด
 ล้างหน้า
 ผ้าเย็น
 ยาดม
 นอนพัก
 ออกกาลังกาย
สม่าเสมอ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ปวดหัว มึนหัว ซึม ง่วงนอน
 ดื่มน้าอย่างน้อย 2 แก้ว ทันที
ที่ตื่นนอน
 เข้าห้องน้าเวลาเดิม
 ขณะขับถ่ายอ่านหนังสือขา
ขัน ไม่เครียด
 รับประทานผัก ผลไม้รส
เปรี้ยว
มะละกอสุก กล้วยน้าว้าสุก
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ท้องผูก
 อมน้า หรือบ้วนปาก
 แปรงฟัน (หลังอาหาร กาแฟ)
 รับประทานผลไม้รสเปรี้ยว
 หลีกเลี่ยงจากภาพหรือ
สถานที่
ที่ทาให้อยากสูบ
 คิดถึงเหตุผลที่จะเลิกสูบ
 ทาอย่างอื่น ยืดเวลาให้ได้ 3-
5 นาที
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
อยาก!!! น้าลายเหนียว เปรี้ย
 ทาสมาธิ นับหายใจ
 จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
 ออกกาลังกายสม่าเสมอ
 บอกตนเองว่าการสูบบุหรี่
ไม่ใช่วิธีที่ดีที่จะช่วยให้นอน
หลับ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
นอนไม่หลับ
 เลี่ยงจากคนสูบบุหรี่
 เลี่ยงสถานที่ที่มีการสูบบุหรี่
 แปรงฟัน
 อมน้า
 บอกตัวเองว่าได้ตั้งใจที่จะไม่
สูบบุหรี่แล้ว
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เห็นคนอื่นสูบก็อยากสูบ
 ลุกออกจากที่นั้น เดิน
 ทาอะไรเพลิดเพลิน
ทางานบ้าน
 ออกกาลังกาย
 ฟังเพลง คุยกับคน
ถูกใจ
 ทาตัวให้ยุ่ง ทาสิ่งที่
เป็ นประโยชน์
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เหงา ว่าง เบื่อ
 อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ
 ดื่มน้าหรือล้างหน้าทันที เมื่อรู ้สึก
หงุดหงิดกระวนกระวาย
 สูดลมหายใจเข้าออกลึก ๆ และช้า ๆ
2-3 ครั้งเพื่อคลายเครียด
 ทากิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความ
สนใจ
 บอกตัวเอง เสมอว่าตั้งใจเลิกสูบ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เมื่อรู ้สึกอยากสูบบุหรี่…
 อย่าประมาท คิดว่าเลิกได้แล้วลองมวนเดียว
คงไม่เป็ นไร
 คิดถึงความตั้งใจ ที่จะทาให้สาเร็จ
 คิดถึงความลาบาก กว่าจะเลิกสูบได้
 บุหรี่ที่เผลอมาอยู่ในมือ หาปากกามาขีด
เป็ น 3 ตอน เขียนปลายมวนว่าเปลืองเงิน
กลางมวนว่ามะเร็ง และส่วนที่อยู่ใกล้มือว่า
ตายเร็ว กว่าจะเขียนจบคุณก็หายเผลอแล้ว
ไม่อยากสูบแล้ว ถ้าตั้งใจจริงที่จะเลิก
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ทาอย่างไรดีถ้าเผลอใจ
 ไม่ได้หมายความว่าเป็ นคน
ล้มเหลว
 อย่างน้อยก็เกิดการเรียนรู ้ที่จะ
ระวังในครั้งต่อไป
 ขอเพียงให้มีความพยายาม มี
ความตั้งใจจริง
 จงเตรียมตัวให้พร้อม เริ่มต้น
ใหม่
ถ้าหันกลับไป
สูบอีก
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
 ความสุขรอคุณอยู่ข้างหน้าแล้ว
เพียงคุณทิ้งบุหรี่และไม่คิดถึงมัน
อีกต่อไป
 ถ้าคุณเอาชนะบุหรี่ได้ ก็ไม่มีอะไร
ลาบากที่จะทาไม่ได้อีกต่อไป
 คุณก็เหมือนคนอื่นที่เลิกได้ ถ้า
ตั้งใจจริง
 ขอให้ทุกคนโชคดีและประสบ
ความสาเร็จดังที่ตั้งใจ
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
เลิกสูบุบหรี่วันนี้
ด้วยความปรารถนาดีจาก
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ขอเอกสารคู่มือเลิกบุหรี่ด้วยตนเองได้ที่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
36/2 ซอยประดิพัทธ ์10 ถนนประดิพัทธ ์
แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
คู่มือเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง
หากขอมากกว่า 1 ฉบับ กรุณาติดต่อ
คุณชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม

More Related Content

Similar to a_150618_211821.ppt

งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์surasaKwitee
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeYota Bhikkhu
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์sirirak Ruangsak
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีSomchai Chatmaleerat
 
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดกระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดPornsitaintharak
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5disk1412
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว4LIFEYES
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 

Similar to a_150618_211821.ppt (20)

งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
 
Inc281
Inc281Inc281
Inc281
 
Inc281
Inc281Inc281
Inc281
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
 
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดกระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 

a_150618_211821.ppt