SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 47
Descargar para leer sin conexión
บทที่4 การพยากรณ์(ForecastingForecasting) 
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือ การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญและคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
เนื้อหา 
ความหมายของการพยากรณ์ 
ช่วงเวลาของการพยากรณ์ 
ประเภทของการพยากรณ์ 
ขั้นตอนการพยากรณ์ 
วิธีการพยากรณ์ 
การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 
การพยากรณ์เชิงปริมาณ 
วิธีการพยากรณ์โดยใช้รูปแบบอนุกรมเวลา 
วิธีการพยากรณ์โดยใช้รูปแบบปัจจัยสาเหตุ 
1
ความสาคัญของการพยากรณ์ 3 
การพยากรณ์มีความสาคัญต่อการดาเนินงานเป็น อย่างมาก ซึ่งความสาคัญของการพยากรณ์มีดังนี้ 1.ทาให้ทราบขนาดความต้องการผลิตภัณฑ์ของ ตลาด 2.ทาให้ธุรกิจสามารถลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นได้ 3.สามารถนาผลจากการพยากรณ์มาเป็นข้อมูลใน การวางแผนกิจกรรมต่างๆให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางธุรกิจ
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก 
4 การพยากรณ์สร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันให้กับบริษัท Tupperwareบริษัท Tupperware เป็นผู้ผลิตกล่องพลาสติกสาหรับใส่กับข้าว ซึ่งประสบ ความสาเร็จในเวทีระดับโลกด้วยยอดขายกว่า 1.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ การ พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าที่ Tupperware ถือได้ว่าเป็นกระบวนการที่สาคัญ และเป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มทางานซึ่งประกอบไปด้วยผู้จัดการจาก ฝ่า ยต่างๆจะพยากรณ์โดยใช้ข้อมูลในอดีต เหตุการณ์ปัจ จุบันและเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยเทคนิคของการพยากรณ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้กลุ่ม ทางานสามารถวิเคราะห์ยอดขาย วิเคราะห์การตอบรับผลิตภัณฑ์ใหม่จากลูกค้า รวมทั้งทราบตาแหน่งของแต่ละผลิตภัณฑ์ต่างๆ และนาข้อมูลที่ได้มาตัดสินใจขั้น สุดท้ายเพื่อปรับค่าพยากรณ์ให้เหมาะสมที่สุดและนาค่าดังกล่าวไปวางแผนการ ปฏิบัติการทั่วทั้งองค์การต่อไป
OM IN ACTION 
5 การพยากรณ์ที่ Disney Worldทีมพยากรณ์ของ Disney World จะต้องทาการประมาณผู้เข้าชมในแต่ละวัน และจะต้องพยากรณ์จานวนลูกค้าในแต่ละสัปดาห์แต่ละเดือนและแต่ละปีรวมทั้งใน อีก5 ปีข้างหน้า สาเหตุที่จะต้องมีการพยากรณ์อย่างมากมายเช่นนี้ก็เนื่องจากว่า ตัวเลขดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจดาเนินกิจกรรมต่างๆโดยที่ทีม พยากรณ์จะใช้วิธีการในการตัดสินใจทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณซึ่งทีม ดังกล่าวนี้ได้พยากรณ์จานวนผู้เข้าชมสวนสนุกในปีค.ศ.2000 และสามารถทาให้ค่า ความผิดพลาดจากการพยากรณ์มีค่าเป็นศูนย์ได้ ซึ่ง Disney ได้ทาการเก็บข้อมูล ด้วยการใช้แบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวกว่า 1 ล้านคนต่อปี ซึ่งพฤติกรรมของ นักท่องเที่ยวจะสามารถนามาสร้างตัวแบบของการพยากรณ์ที่มีความแม่นยามาก ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นทีมงานพยากรณ์ยังต้องติดตามสถานการณ์ต่างๆและแนวโน้มของ เศรษฐกิจทุกภูมิภาคทั่วโลกเพื่อนามาใช้ในการวางแผนต่อไป
ความหมายของการพยากรณ์ 2 
คือ การทานายเหตุการณ์ในอนาคต อาจนา ข้อมูลในอดีตมาพยากรณ์อนาคตโดยใช้หลัก คณิตศาสตร์ ใช้ดุลยพินิจของผู้พยากรณ์ หรืออาจใช้หลายๆวิธีมารวมกัน เพื่อให้การ พยากรณ์มีความแม่นยามากที่สุด
ช่วงเวลาของการพยากรณ์ •เหตุการณ์ไม่เกิน3เดือน เช่น การพยากรณ์การวาง แผนการจัดซื้อ การจัดตารางงาน การพยากรณ์ ยอดขาย และการพยากรณ์การผลิต ระยะสั้น •เหตุการณ์อยู่ในช่วง 3 เดือน ถึง 3 ปี เช่น การวางแผน การผลิต การวางแผนด้านงบประมาณเงินสด และ การวิเคราะห์แผนการดาเนินงานต่างๆ ระยะกลาง •เหตุการณ์ที่มากกว่า 3 ปีขึ้นไป เช่น การวางแผนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ค่าใช้จ่ายในการลงทุน การขาย ทาเลที่ตั้ง และการวิจัยและพัฒนา 
ระยะยาว 
3
ประเภทการพยากรณ์ 
4 
•ช่วยให้ทราบถึงวงจรธุรกิจว่า อยู่ในสถานการณ์ใด เช่น การจัดหาเงินหมุนเวียน ทางเศรษฐศาสตร์ 
•มีผลทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และส่งผลต่อ การพิจารณาที่ตั้งโรงงานและเครื่องจักรใหม่ที่ใช้ใน การผลิต 
ทางเทคโนโลยี 
•นาไปใช้ในการวางแผนทางการเงิน การตลาด เพื่อให้รองรับยอดขายที่เกิดขึ้น 
ทางความต้องการ ของลูกค้า
7 ขั้นตอนการพยากรณ์ การ ตัดสินใจ เลือกรายการที่ จะพยากรณ์ เลือก ช่วงเวลา เลือกรูปแบบ การพยากรณ์รวบรวมข้อมูล 
ทาการ พยากรณ์ ตรวจสอบ ผลลัพธ์ 5
การพยากรณ์ เชิงคุณภาพ ใช้ความเห็น ของผู้บริหาร วิธีเดลฟาย 
ผู้ตัดสินใจ ทีมงาน 
ผู้ตอบคาถาม 
การประเมิน จากฝ่ายขาย การสารวจ ตลาด เชิงปริมาณ อนุกรมเวลา แบบตรงตัว ค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่ 
เอ็กซ์โปเนน เชียล คาดคะเน แนวโน้ม เชิงเหตุผล 
ถดถอยเชิงเส้น 
6วิธีการพยากรณ์
7 
คือ การพยากรณ์ที่ใช้ลางสังหรณ์ อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณ์ของผู้ตัดสินใจเป็นหลักใน การพยากรณ์ 
การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 
มี 4 เทคนิค 1. การใช้ความเห็นของกลุ่มผู้บริหารระดับสูงหรือผู้เชี่ยวชาญ 
โดยมากจะผสมรูปแบบทางสถิติเข้าไปเพื่อประมาณความต้องการ หรือแนวโน้มในอนาคต 
2. วิธีเดลฟาย วิธีนี้จะใช้บุคคล 3 กลุ่มเข้าร่วมในการพยากรณ์ ได้แก่
 ผู้ตัดสินใจ ประกอบด้วยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 5 - 10 คน ซึ่งจะเป็นคนทาการพยากรณ์ ทีมงาน เป็นผู้ช่วยในด้านการเตรียมงาน เก็บรวบรวม สรุปผลการสารวจ ผู้ตอบคาถาม เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ตอบคาถาม 3. การประเมินจากฝ่ายขาย จะให้พนักงานขายประมาณ ยอดขายของตนเอง แล้วนาค่าพยากรณ์แต่ละคนมารวมกัน จะได้ เป็นค่าพยากรณ์ของแต่ละเขตจนถึงระดับประเทศ 4. การสารวจตลาด จะใช้การสอบถามจากลูกค้าถึงแผนการซื้อ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในอนาคต จากนั้นนาผลที่ได้มาใช้ใน การพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า 
8
9การพยากรณ์เชิงปริมาณ คือ การพยากรณ์ที่ใช้รูปแบบทางคณิตศาสตร์เข้า ช่วย และมักนาข้อมูลในอดีตมาใช้ในการพยากรณ์ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบได้แก่ 1.รูปแบบอนุกรมเวลา ตั้งอยู่บนสมมุติฐานที่ว่าข้อมูลในอดีตจะสามารถใช้พยากรณ์ อนาคตได้ 2.รูปแบบปัจจัยสาเหตุ หรือรูปแบบเชิงเหตุผล เป็นการพยากรณ์ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่จะมี ผลกระทบต่อสิ่งที่พยากรณ์
การพยากรณ์โดยใช้รูปแบบ 
รูปแบบอนุกรมเวลา 
10แบ่งออกเป็น 4 วิธี วิธีการหาค่าแบบตรงตัว 
 วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 
 วิธีการปรับเรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล 
 วิธีการคาดคะเนแนวโน้ม
วิธีการหาค่าแบบตรงตัว 
“ความต้องการในอนาคต = ความต้องการปัจจุบัน” 
เช่น เดือนนี้ขายรองเท้าได้ 100คู่ 
สามารถพยากรณ์ได้ว่า : เดือนหน้าก็จะขายรองเท้าได้100คู่ด้วย 
(ต้นทุนต่า รวดเร็ว แต่คลาดเคลื่อนมาก) 
11
= 
วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบอย่างง่าย 
(Simple moving average) n = จานวนช่วงเวลาในค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ต้องการ เช่น 3, 4 หรือ5เดือน (โจทย์กาหนดให้) 12
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบอย่างง่าย 
ตัวอย่าง 
= 13 
เดือน 
ยอดขายที่เกิดขึ้นจริง 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน 
มกราคม 
10 
กุมภาพันธ์ 
12 
มีนาคม 
13 
เมษายน 
16 
(10+12+13)/3 = 11.67 
พฤษภาคม 
19 
(12+13+16)/3 = 13.67 
มิถุนายน 
23 
(13+16+19)/3 = 16 
กรกฎาคม 
26 
(16+19+23)/3 = 19.33 
สิงหาคม 
30 
(19+23+26)/3 = 22.67 
กันยายน 
28 
(23+26+30)/3 = 26.33 
ตุลาคม 
18 
(26+30+28)/3 = 28 
พฤศจิกายน 
16 
(30+28+18)/3 = 25.33 
ธันวาคม 
14 
(28+18+16)/3 = 20.67
วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้าหนัก 
(Weighted moving average) 
n = จานวนช่วงเวลาในค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ต้องการ เช่น 3, 4 หรือ5เดือน (โจทย์กาหนดให้) 
= 14
ตัวอย่าง 
= 
15 
เดือน 
ยอดขายที่เกิดขึ้นจริง 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้าหนัก 3 เดือน 
มกราคม 
10 
กุมภาพันธ์ 
12 
มีนาคม 
13 
เมษายน 
16 
[(3×13)+(2×12)+(10)]/6 = 12.17 
พฤษภาคม 
19 
[(3×16)+(2×13)+(12)]/6 = 14.33 
มิถุนายน 
23 
[(3×19)+(2×16)+(13)]/6 = 17 
กรกฎาคม 
26 
[(3×23)+(2×19)+(16)]/6 = 20.5 
สิงหาคม 
30 
[(3×26)+(2×23)+(19)]/6 = 23.83 
กันยายน 
28 
[(3×30)+(2×26)+(23)]/6 = 27.5 
ตุลาคม 
18 
[(3×28)+(2×30)+(26)]/6 = 18.33 
พฤศจิกายน 
16 
[(3×18)+(2×28)+(30)]/6 = 23.33 
ธันวาคม 
14 
[(3×16)+(2×18)+(28)]/6 = 18.67 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 
แบบถ่วงน้าหนัก
ค่าถ่วงน้าหนัก 
ช่วงเวลา 
3 
1 เดือนก่อนหน้า 
2 
2 เดือนก่อนหน้า 
1 
3 เดือนก่อนหน้า 
6 
ผลรวมของค่าถ่วง น้าหนัก 
ค่าพยากรณ์เดือนนี้ 
16 
การคิดค่าถ่วงน้าหนัก 
(3 x ยอดขายของเดือนทีแล้ว) + (2 x ยอดขายของ 2 เดือนก่อนหน้า) + (1 x ยอดขายของ 3 เดือนก่อนหน้า) 
ผลรวมของค่าถ่วงน้าหนัก 
=
Ft= ค่าพยากรณ์ที่ต้องการ 
Ft-1 = ค่าพยากรณ์งวดที่แล้ว 
α = ค่าคงที่ปรับเรียบ 0<α<1 
At-1= ค่าจริงงวดที่แล้ว 17 
วิธีปรับให้เรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล
ข้อมูลของช่วงเวลา 8 ไตรมาสของท่าเรือ เกี่ยวกับการขนถ่ายข้าวจากเรือ ผู้บริหารของ ท่าเรือต้องการพยากรณ์ไตรมาสที่9 โดยวิธีการ ปรับเรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล 
โดยใช้ค่า α = 0.1 
คาดว่าจะขนข้าวในไตรมาสแรกได้ 175 ตัน 
ตัวอย่าง 
21
22 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าว จริง 
ค่าพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ 
แบบเอ็กซ์โปเนนเชียลที่α=0.1 
1 
180 
175 
2 
168 
175.00+0.1(180-175) = 175.5 
3 
159 
4 
175 
5 
190 
6 
205 
7 
180 
8 
182 
9 
?????
23 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าว จริง 
ค่าพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ 
แบบเอ็กซ์โปเนนเชียลที่α=0.1 
1 
180 
175 
2 
168 
175.00+0.1(180-175) = 175.5 
3 
159 
175.50+0.1(168-175.50) = 174.75 
4 
175 
174.75+0.1(159-174.75) = 173.18 
5 
190 
173.18+0.1(175-173.18) = 173.36 
6 
205 
173.36+0.1(190-173.36) = 175.02 
7 
180 
175.02+0.1(205-175.02) = 178.02 
8 
182 
178.02+0.1(180-178.02) = 178.22 
9 
178.22+0.1(182-178.22) = 178.60
การคานวณค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนมี 3 วิธี •ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) •ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง(MSE) 
•ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) 
*** ความคลาดเคลื่อนยิ่งน้อยยิ่งดี 
21 
การวัดค่าความคาดเคลื่อนของการพยากรณ์
ข้อมูลของช่วงเวลา 8 ไตรมาสของท่าเรือ เกี่ยวกับการขนถ่ายข้าวจากเรือ ผู้บริหารของ ท่าเรือต้องการพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ แบบเอ็กซ์โปเนนเชียล 
โดยใช้ค่า α = 0.1 
คาดว่าจะขนข้าวในไตรมาสแรกได้ 175 ตัน 
จงหาค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนทั้งสามแบบ 
ตัวอย่าง 
22
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) 
/23
„ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) 
24 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าวจริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 
1 
180 
175 
|180 -175| = 5 
2 
168 
175.5 
|168 -175.5| = 7.5 
3 
159 
4 
175 
5 
190 
6 
205 
7 
180 
8 
182 
(รวม) 
MAD=
„ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) 
25 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าวจริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 
1 
180 
175 
|180 -175| = 5 
2 
168 
175.5 
|168 -175.5| = 7.5 
3 
159 
174.75 
|159 -174.75| = 15.75 
4 
175 
173.18 
|175 -173.18| = 1.82 
5 
190 
173.36 
|190 -173.36| = 16.64 
6 
205 
175.02 
|205 -175.02| = 29.98 
7 
180 
178.02 
|180 -178.02| = 1.98 
8 
182 
178.22 
|182 -178.22| = 3.78 
(รวม) 
82.45 
MAD= 82.45 ÷8 = 10.31 
เฉลย
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง(MSE) 
26
„ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (MSE) 
27 
MSE= 
ไตร มาส 
น้าหนัก ข้าวจริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง α=0.1 
1 
180 
175 
(180-175) = 5 = 25 
2 
168 
175.5 
(168-175.5) = (-7.5) = 56.25 
3 
159 
4 
175 
5 
190 
6 
205 
7 
180 
8 
182 
(รวม) 
2 
2 
2 
2
„ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (MSE) 
28 
ไตร มาส 
น้าหนัก ข้าวจริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง α=0.1 
1 
180 
175 
(180-175) = 5 = 25 
2 
168 
175.5 
(168-175.5) = (-7.5) = 56.25 
3 
159 
174.75 
(159-174.75) = (-15.75) = 248.06 
4 
175 
173.18 
(175-173.18) = 1.82 = 3.31 
5 
190 
173.36 
(190-173.36) = 16.64 = 276.89 
6 
205 
175.02 
(205-175.02) = 29.98 = 898.8 
7 
180 
178.02 
180-178.02) = 1.98 = 3.92 
8 
182 
178.22 
(182-178.22) = 3.78 = 14.29 
(รวม) 
1526.52 
MSE= 1526.52 ÷8 = 190.82 
เฉลย 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2 
2
ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์(MAPE) 
29
„ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) 
30 
MAPE= 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าว จริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 
1 
180 
175 
(|180 -175|÷180)×100 = 2.78% 
2 
168 
175.5 
(|168-175.5|÷168)×100 = 4.46% 
3 
159 
4 
175 
5 
190 
6 
205 
7 
180 
8 
182 
(รวม)
„ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) 
31 
ไตรมาส 
น้าหนักข้าว จริง 
ค่าพยากรณ์ 
ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 
1 
180 
175 
(|180 -175|÷180)×100 = 2.78% 
2 
168 
175.5 
(|168-175.5|÷168)×100 = 4.46% 
3 
159 
174.75 
(|159-174.75|÷159)×100 = 9.91% 
4 
175 
173.18 
(|175-173.18|÷175)×100 = 1.04% 
5 
190 
173.36 
(|190-173.36|÷190)×100 = 8.76% 
6 
205 
175.02 
(|205-175.02|÷205)×100 = 14.62% 
7 
180 
178.02 
(|180-178.02|÷180)×100 = 1.1% 
8 
182 
178.22 
(|182-178.22|÷182)×100 = 2.08% 
(รวม) 
44.75% 
MAPE= 44.75% ÷8 = 5.6% 
เฉลย
วิธีคาดคะเนแนวโน้ม (Trend Projections) 
เป็นการใช้ข้อมูลในอดีตเพื่อพยากรณ์แนวโน้มในอนาคตโดย อาศัยวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดมาช่วย โดยมีเงื่อนไขว่า ค่าข้อมูลต่างๆ เมื่อนามาเขียนในเส้นกราฟจะต้องมีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง และมี ค่าเบี่ยงเบนของข้อมูลห่างจากเส้นพยากรณ์ไม่มาก 
Y 
X 
เส้นแนวโน้ม 
32 
ช่วงระยะเวลา 
ค่าของตัวแปรตาม(ค่าy)
Yˆ  a  bx 
วิธีคาดคะเนแนวโน้ม 
= ค่าพยากรณ์ตัวแปรตาม 
= ค่าคงที่ที่ตัดแกน y 
= ค่าความชันของเส้นตรง 
แนวโน้ม 
= ช่วงระยะเวลา 
= ค่าผลรวม 
= ค่าเฉลี่ยของเวลา 
= ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตาม 
= ช่วงระยะเวลา 
2 2 x nx 
xy nxy 
b 
  
  
 
a  y  bx 
Yˆ 
a 
b 
x 
 
x 
y 
n 
33
ข้อมูลความต้องการพลังงานไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตระหว่างปี ค.ศ. 1999-2005 แสดงในตารางข้างล่าง จง พยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้า ของปี ค.ศ. 2006 โดยใช้วิธีการคาดคะเนแนวโน้ม 
37 
ตัวอย่าง
ความต้องการใช้ 
ปี ช่วงเวลา (x) พลังงานไฟฟ้า (y) xy 2 x 
1999 1 74 1 74 
2000 2 79 4 152 
2001 3 80 9 240 
2002 4 90 16 360 
2003 5 105 25 525 
2004 6 142 36 852 
2005 7 122 49 854 
4 
7 
28 
  
 
 
n 
x 
x 98.86 
7 
692 
  
 
 
n 
y 
y 
38 
140 2 x  28 y  692 x  xy  3,063
หาค่าคงที่ a , b 
2 2 x nx 
xy nxy 
b 
  
  
 
a  y bx 
ดังนั้น สมการแนวโน้มวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดจะได้ 
39 
10.54 
28 
295 
140 (7)(4) 
3,063 (7)(4)(98.86) 
2   
 
 
 
 98.8610.54(4)  56.70 
Yˆ  56.7010.54x
พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในปี ค.ศ. 2003 สามารถหาได้โดยแทนค่าx=5 จะได้ 
Yˆ  71.53.7(5)  90 เมกกะวัตต์ 
เส้นพยากรณ์แนวโน้ม Yˆ  71.5  3.7x 
พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในปี ค.ศ. 2004 สามารถหาได้โดยแทนค่าx=6 จะได้ 
Yˆ  71.5  3.7(6)  93.7 หรือ 94 เมกกะวัตต์ 
ความต้องการพลังงาน 
ปี 
40
การพยากรณ์โดยใช้ รูปแบบปัจจัยสาเหตุ 
38 
เป็นการพยากรณ์ที่จะพิจารณาตัว แปรหลายๆตัวที่มีผลกระทบต่อค่า พยากรณ์ เช่น การพยากรณ์ยอดขาย อาจจะขึ้นอยู่กับตัวแปร งบโฆษณา การ ตั้งราคา อัตราการว่างงาน เป็นต้น
การถดถอยเชิงเส้น (Linear regression analysis) 
แนวคิดคล้ายกับวิธีการคาดคะเนแนวโน้ม เพียงแต่ตัวแปรอิสระจะไม่ใช่ 
เรื่องของช่วงเวลาเพียงอย่างเดียว จะเป็นตัวแปรอิสระอื่นๆ ที่ส่งผลต่อ 
ตัวแปรตาม แต่ข้อมูลต้องสัมพันธ์กันแบบเส้นตรง ดังนัน้สมการ 
พยากรณ์ยังคงมีรูปแบบเหมือนเดิมคือ 
Yˆ  a  bx 
39
Yˆ  a  bx 
วิธีถดถอยเชิงเส้น 
= ค่าพยากรณ์ตัวแปรตาม 
= ค่าคงที่ที่ตัดแกน y 
= ค่าความชันของเส้นถดถอย 
= ค่าตัวแปรอิสระ 
(ไม่จาเป็นต้องเวลา) 
= ค่าผลรวม 
= ค่าเฉลี่ยของตัวแปรอิสระ 
= ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตาม 
= จานวนของข้อมูล 
2 2 x nx 
xy nxy 
b 
  
  
 
a  y  bx 
Yˆ 
a 
b 
x 
 
x 
y 
n 
40
ตัวอย่าง บริษัทรับซ่อมบ้าน ได้วิเคราะห์ว่ายอดขายของบริษัทจะขึ้นอยู่กับรายได้ของประชากร 
บริษัทได้ทาการเก็บข้อมูลยอดขายของบริษัท โดยเปรียบเทียบกับรายได้ประชากรในช่วงระยะเวลา 
6 ปีที่ผ่านมา จงพยากรณ์ยอดการซ่อมบ้านปีที่7 เมื่อรายได้เท่ากับ 600ล้านบาท 
ยอดขาย(y) รายได้(x) xy 
(แสนบาท) (ร้อยล้านบาท) 
2.0 1 1 2.0 
3.0 3 9 9.0 
2.5 4 16 10.0 
2.0 2 4 4.0 
2.0 1 1 2.0 
3.5 7 49 24.5 
2 x 
y 15.0 x 18 80 2 x  xy  51.5 
3 
6 
18 
  
 
 
n 
x 
x 2.5 
6 
15 
  
 
 
n 
y 
y 
41
หาค่าคงที่ a , b 
2 2 x nx 
xy nxy 
b 
  
  
 
2 80 (6)(3) 
51.5 (6)(3)(2.5) 
 
 
 
a  y bx  2.50.25(3) 1.75 
ดังนั้น สมการแนวโน้มวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดจะได้ Yˆ 1.750.25x 
 0.25 
42
พยากรณ์ยอดการซ่อมบ้านในปีที่ 7 
เมื่อรายได้เท่ากับ 600ล้านบาท 
จาก 
แสนบาท 
บาท 
Yˆ 1.750.25x 
Yˆ 1.75 0.25(6) 
Yˆ  3.25 
Yˆ  325,000 
43 
ยอดการซ่อมบ้านในปีที่7 เท่ากับ 325,000บาท

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxpiyapongauekarn
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

La actualidad más candente (20)

ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Similar a บทที่ 4 การพยากรณ์

การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมwarijung2012
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558ครู กรุณา
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตนวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตปิยวิทย์ เหลืองระลึก
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 

Similar a บทที่ 4 การพยากรณ์ (20)

การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
M1
M1M1
M1
 
Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตนวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
E-book
E-bookE-book
E-book
 

Más de Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Más de Dr.Krisada [Hua] RMUTT (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 

บทที่ 4 การพยากรณ์

  • 1. บทที่4 การพยากรณ์(ForecastingForecasting) การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือ การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญและคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
  • 2. เนื้อหา ความหมายของการพยากรณ์ ช่วงเวลาของการพยากรณ์ ประเภทของการพยากรณ์ ขั้นตอนการพยากรณ์ วิธีการพยากรณ์ การพยากรณ์เชิงคุณภาพ การพยากรณ์เชิงปริมาณ วิธีการพยากรณ์โดยใช้รูปแบบอนุกรมเวลา วิธีการพยากรณ์โดยใช้รูปแบบปัจจัยสาเหตุ 1
  • 3. ความสาคัญของการพยากรณ์ 3 การพยากรณ์มีความสาคัญต่อการดาเนินงานเป็น อย่างมาก ซึ่งความสาคัญของการพยากรณ์มีดังนี้ 1.ทาให้ทราบขนาดความต้องการผลิตภัณฑ์ของ ตลาด 2.ทาให้ธุรกิจสามารถลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นได้ 3.สามารถนาผลจากการพยากรณ์มาเป็นข้อมูลใน การวางแผนกิจกรรมต่างๆให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางธุรกิจ
  • 4. กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก 4 การพยากรณ์สร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันให้กับบริษัท Tupperwareบริษัท Tupperware เป็นผู้ผลิตกล่องพลาสติกสาหรับใส่กับข้าว ซึ่งประสบ ความสาเร็จในเวทีระดับโลกด้วยยอดขายกว่า 1.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ การ พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าที่ Tupperware ถือได้ว่าเป็นกระบวนการที่สาคัญ และเป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มทางานซึ่งประกอบไปด้วยผู้จัดการจาก ฝ่า ยต่างๆจะพยากรณ์โดยใช้ข้อมูลในอดีต เหตุการณ์ปัจ จุบันและเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยเทคนิคของการพยากรณ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้กลุ่ม ทางานสามารถวิเคราะห์ยอดขาย วิเคราะห์การตอบรับผลิตภัณฑ์ใหม่จากลูกค้า รวมทั้งทราบตาแหน่งของแต่ละผลิตภัณฑ์ต่างๆ และนาข้อมูลที่ได้มาตัดสินใจขั้น สุดท้ายเพื่อปรับค่าพยากรณ์ให้เหมาะสมที่สุดและนาค่าดังกล่าวไปวางแผนการ ปฏิบัติการทั่วทั้งองค์การต่อไป
  • 5. OM IN ACTION 5 การพยากรณ์ที่ Disney Worldทีมพยากรณ์ของ Disney World จะต้องทาการประมาณผู้เข้าชมในแต่ละวัน และจะต้องพยากรณ์จานวนลูกค้าในแต่ละสัปดาห์แต่ละเดือนและแต่ละปีรวมทั้งใน อีก5 ปีข้างหน้า สาเหตุที่จะต้องมีการพยากรณ์อย่างมากมายเช่นนี้ก็เนื่องจากว่า ตัวเลขดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจดาเนินกิจกรรมต่างๆโดยที่ทีม พยากรณ์จะใช้วิธีการในการตัดสินใจทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณซึ่งทีม ดังกล่าวนี้ได้พยากรณ์จานวนผู้เข้าชมสวนสนุกในปีค.ศ.2000 และสามารถทาให้ค่า ความผิดพลาดจากการพยากรณ์มีค่าเป็นศูนย์ได้ ซึ่ง Disney ได้ทาการเก็บข้อมูล ด้วยการใช้แบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวกว่า 1 ล้านคนต่อปี ซึ่งพฤติกรรมของ นักท่องเที่ยวจะสามารถนามาสร้างตัวแบบของการพยากรณ์ที่มีความแม่นยามาก ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นทีมงานพยากรณ์ยังต้องติดตามสถานการณ์ต่างๆและแนวโน้มของ เศรษฐกิจทุกภูมิภาคทั่วโลกเพื่อนามาใช้ในการวางแผนต่อไป
  • 6. ความหมายของการพยากรณ์ 2 คือ การทานายเหตุการณ์ในอนาคต อาจนา ข้อมูลในอดีตมาพยากรณ์อนาคตโดยใช้หลัก คณิตศาสตร์ ใช้ดุลยพินิจของผู้พยากรณ์ หรืออาจใช้หลายๆวิธีมารวมกัน เพื่อให้การ พยากรณ์มีความแม่นยามากที่สุด
  • 7. ช่วงเวลาของการพยากรณ์ •เหตุการณ์ไม่เกิน3เดือน เช่น การพยากรณ์การวาง แผนการจัดซื้อ การจัดตารางงาน การพยากรณ์ ยอดขาย และการพยากรณ์การผลิต ระยะสั้น •เหตุการณ์อยู่ในช่วง 3 เดือน ถึง 3 ปี เช่น การวางแผน การผลิต การวางแผนด้านงบประมาณเงินสด และ การวิเคราะห์แผนการดาเนินงานต่างๆ ระยะกลาง •เหตุการณ์ที่มากกว่า 3 ปีขึ้นไป เช่น การวางแผนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ค่าใช้จ่ายในการลงทุน การขาย ทาเลที่ตั้ง และการวิจัยและพัฒนา ระยะยาว 3
  • 8. ประเภทการพยากรณ์ 4 •ช่วยให้ทราบถึงวงจรธุรกิจว่า อยู่ในสถานการณ์ใด เช่น การจัดหาเงินหมุนเวียน ทางเศรษฐศาสตร์ •มีผลทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และส่งผลต่อ การพิจารณาที่ตั้งโรงงานและเครื่องจักรใหม่ที่ใช้ใน การผลิต ทางเทคโนโลยี •นาไปใช้ในการวางแผนทางการเงิน การตลาด เพื่อให้รองรับยอดขายที่เกิดขึ้น ทางความต้องการ ของลูกค้า
  • 9. 7 ขั้นตอนการพยากรณ์ การ ตัดสินใจ เลือกรายการที่ จะพยากรณ์ เลือก ช่วงเวลา เลือกรูปแบบ การพยากรณ์รวบรวมข้อมูล ทาการ พยากรณ์ ตรวจสอบ ผลลัพธ์ 5
  • 10. การพยากรณ์ เชิงคุณภาพ ใช้ความเห็น ของผู้บริหาร วิธีเดลฟาย ผู้ตัดสินใจ ทีมงาน ผู้ตอบคาถาม การประเมิน จากฝ่ายขาย การสารวจ ตลาด เชิงปริมาณ อนุกรมเวลา แบบตรงตัว ค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่ เอ็กซ์โปเนน เชียล คาดคะเน แนวโน้ม เชิงเหตุผล ถดถอยเชิงเส้น 6วิธีการพยากรณ์
  • 11. 7 คือ การพยากรณ์ที่ใช้ลางสังหรณ์ อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณ์ของผู้ตัดสินใจเป็นหลักใน การพยากรณ์ การพยากรณ์เชิงคุณภาพ มี 4 เทคนิค 1. การใช้ความเห็นของกลุ่มผู้บริหารระดับสูงหรือผู้เชี่ยวชาญ โดยมากจะผสมรูปแบบทางสถิติเข้าไปเพื่อประมาณความต้องการ หรือแนวโน้มในอนาคต 2. วิธีเดลฟาย วิธีนี้จะใช้บุคคล 3 กลุ่มเข้าร่วมในการพยากรณ์ ได้แก่
  • 12.  ผู้ตัดสินใจ ประกอบด้วยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 5 - 10 คน ซึ่งจะเป็นคนทาการพยากรณ์ ทีมงาน เป็นผู้ช่วยในด้านการเตรียมงาน เก็บรวบรวม สรุปผลการสารวจ ผู้ตอบคาถาม เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ตอบคาถาม 3. การประเมินจากฝ่ายขาย จะให้พนักงานขายประมาณ ยอดขายของตนเอง แล้วนาค่าพยากรณ์แต่ละคนมารวมกัน จะได้ เป็นค่าพยากรณ์ของแต่ละเขตจนถึงระดับประเทศ 4. การสารวจตลาด จะใช้การสอบถามจากลูกค้าถึงแผนการซื้อ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในอนาคต จากนั้นนาผลที่ได้มาใช้ใน การพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า 8
  • 13. 9การพยากรณ์เชิงปริมาณ คือ การพยากรณ์ที่ใช้รูปแบบทางคณิตศาสตร์เข้า ช่วย และมักนาข้อมูลในอดีตมาใช้ในการพยากรณ์ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบได้แก่ 1.รูปแบบอนุกรมเวลา ตั้งอยู่บนสมมุติฐานที่ว่าข้อมูลในอดีตจะสามารถใช้พยากรณ์ อนาคตได้ 2.รูปแบบปัจจัยสาเหตุ หรือรูปแบบเชิงเหตุผล เป็นการพยากรณ์ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่จะมี ผลกระทบต่อสิ่งที่พยากรณ์
  • 14. การพยากรณ์โดยใช้รูปแบบ รูปแบบอนุกรมเวลา 10แบ่งออกเป็น 4 วิธี วิธีการหาค่าแบบตรงตัว  วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่  วิธีการปรับเรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล  วิธีการคาดคะเนแนวโน้ม
  • 15. วิธีการหาค่าแบบตรงตัว “ความต้องการในอนาคต = ความต้องการปัจจุบัน” เช่น เดือนนี้ขายรองเท้าได้ 100คู่ สามารถพยากรณ์ได้ว่า : เดือนหน้าก็จะขายรองเท้าได้100คู่ด้วย (ต้นทุนต่า รวดเร็ว แต่คลาดเคลื่อนมาก) 11
  • 16. = วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบอย่างง่าย (Simple moving average) n = จานวนช่วงเวลาในค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ต้องการ เช่น 3, 4 หรือ5เดือน (โจทย์กาหนดให้) 12
  • 17. ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบอย่างง่าย ตัวอย่าง = 13 เดือน ยอดขายที่เกิดขึ้นจริง ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน มกราคม 10 กุมภาพันธ์ 12 มีนาคม 13 เมษายน 16 (10+12+13)/3 = 11.67 พฤษภาคม 19 (12+13+16)/3 = 13.67 มิถุนายน 23 (13+16+19)/3 = 16 กรกฎาคม 26 (16+19+23)/3 = 19.33 สิงหาคม 30 (19+23+26)/3 = 22.67 กันยายน 28 (23+26+30)/3 = 26.33 ตุลาคม 18 (26+30+28)/3 = 28 พฤศจิกายน 16 (30+28+18)/3 = 25.33 ธันวาคม 14 (28+18+16)/3 = 20.67
  • 18. วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้าหนัก (Weighted moving average) n = จานวนช่วงเวลาในค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ต้องการ เช่น 3, 4 หรือ5เดือน (โจทย์กาหนดให้) = 14
  • 19. ตัวอย่าง = 15 เดือน ยอดขายที่เกิดขึ้นจริง ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้าหนัก 3 เดือน มกราคม 10 กุมภาพันธ์ 12 มีนาคม 13 เมษายน 16 [(3×13)+(2×12)+(10)]/6 = 12.17 พฤษภาคม 19 [(3×16)+(2×13)+(12)]/6 = 14.33 มิถุนายน 23 [(3×19)+(2×16)+(13)]/6 = 17 กรกฎาคม 26 [(3×23)+(2×19)+(16)]/6 = 20.5 สิงหาคม 30 [(3×26)+(2×23)+(19)]/6 = 23.83 กันยายน 28 [(3×30)+(2×26)+(23)]/6 = 27.5 ตุลาคม 18 [(3×28)+(2×30)+(26)]/6 = 18.33 พฤศจิกายน 16 [(3×18)+(2×28)+(30)]/6 = 23.33 ธันวาคม 14 [(3×16)+(2×18)+(28)]/6 = 18.67 ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ แบบถ่วงน้าหนัก
  • 20. ค่าถ่วงน้าหนัก ช่วงเวลา 3 1 เดือนก่อนหน้า 2 2 เดือนก่อนหน้า 1 3 เดือนก่อนหน้า 6 ผลรวมของค่าถ่วง น้าหนัก ค่าพยากรณ์เดือนนี้ 16 การคิดค่าถ่วงน้าหนัก (3 x ยอดขายของเดือนทีแล้ว) + (2 x ยอดขายของ 2 เดือนก่อนหน้า) + (1 x ยอดขายของ 3 เดือนก่อนหน้า) ผลรวมของค่าถ่วงน้าหนัก =
  • 21. Ft= ค่าพยากรณ์ที่ต้องการ Ft-1 = ค่าพยากรณ์งวดที่แล้ว α = ค่าคงที่ปรับเรียบ 0<α<1 At-1= ค่าจริงงวดที่แล้ว 17 วิธีปรับให้เรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล
  • 22. ข้อมูลของช่วงเวลา 8 ไตรมาสของท่าเรือ เกี่ยวกับการขนถ่ายข้าวจากเรือ ผู้บริหารของ ท่าเรือต้องการพยากรณ์ไตรมาสที่9 โดยวิธีการ ปรับเรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล โดยใช้ค่า α = 0.1 คาดว่าจะขนข้าวในไตรมาสแรกได้ 175 ตัน ตัวอย่าง 21
  • 23. 22 ไตรมาส น้าหนักข้าว จริง ค่าพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ แบบเอ็กซ์โปเนนเชียลที่α=0.1 1 180 175 2 168 175.00+0.1(180-175) = 175.5 3 159 4 175 5 190 6 205 7 180 8 182 9 ?????
  • 24. 23 ไตรมาส น้าหนักข้าว จริง ค่าพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ แบบเอ็กซ์โปเนนเชียลที่α=0.1 1 180 175 2 168 175.00+0.1(180-175) = 175.5 3 159 175.50+0.1(168-175.50) = 174.75 4 175 174.75+0.1(159-174.75) = 173.18 5 190 173.18+0.1(175-173.18) = 173.36 6 205 173.36+0.1(190-173.36) = 175.02 7 180 175.02+0.1(205-175.02) = 178.02 8 182 178.02+0.1(180-178.02) = 178.22 9 178.22+0.1(182-178.22) = 178.60
  • 25. การคานวณค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนมี 3 วิธี •ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) •ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง(MSE) •ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) *** ความคลาดเคลื่อนยิ่งน้อยยิ่งดี 21 การวัดค่าความคาดเคลื่อนของการพยากรณ์
  • 26. ข้อมูลของช่วงเวลา 8 ไตรมาสของท่าเรือ เกี่ยวกับการขนถ่ายข้าวจากเรือ ผู้บริหารของ ท่าเรือต้องการพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบ แบบเอ็กซ์โปเนนเชียล โดยใช้ค่า α = 0.1 คาดว่าจะขนข้าวในไตรมาสแรกได้ 175 ตัน จงหาค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนทั้งสามแบบ ตัวอย่าง 22
  • 28. „ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) 24 ไตรมาส น้าหนักข้าวจริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 1 180 175 |180 -175| = 5 2 168 175.5 |168 -175.5| = 7.5 3 159 4 175 5 190 6 205 7 180 8 182 (รวม) MAD=
  • 29. „ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) 25 ไตรมาส น้าหนักข้าวจริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 1 180 175 |180 -175| = 5 2 168 175.5 |168 -175.5| = 7.5 3 159 174.75 |159 -174.75| = 15.75 4 175 173.18 |175 -173.18| = 1.82 5 190 173.36 |190 -173.36| = 16.64 6 205 175.02 |205 -175.02| = 29.98 7 180 178.02 |180 -178.02| = 1.98 8 182 178.22 |182 -178.22| = 3.78 (รวม) 82.45 MAD= 82.45 ÷8 = 10.31 เฉลย
  • 31. „ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (MSE) 27 MSE= ไตร มาส น้าหนัก ข้าวจริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง α=0.1 1 180 175 (180-175) = 5 = 25 2 168 175.5 (168-175.5) = (-7.5) = 56.25 3 159 4 175 5 190 6 205 7 180 8 182 (รวม) 2 2 2 2
  • 32. „ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (MSE) 28 ไตร มาส น้าหนัก ข้าวจริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกาลังสอง α=0.1 1 180 175 (180-175) = 5 = 25 2 168 175.5 (168-175.5) = (-7.5) = 56.25 3 159 174.75 (159-174.75) = (-15.75) = 248.06 4 175 173.18 (175-173.18) = 1.82 = 3.31 5 190 173.36 (190-173.36) = 16.64 = 276.89 6 205 175.02 (205-175.02) = 29.98 = 898.8 7 180 178.02 180-178.02) = 1.98 = 3.92 8 182 178.22 (182-178.22) = 3.78 = 14.29 (รวม) 1526.52 MSE= 1526.52 ÷8 = 190.82 เฉลย 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
  • 34. „ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) 30 MAPE= ไตรมาส น้าหนักข้าว จริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 1 180 175 (|180 -175|÷180)×100 = 2.78% 2 168 175.5 (|168-175.5|÷168)×100 = 4.46% 3 159 4 175 5 190 6 205 7 180 8 182 (รวม)
  • 35. „ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAPE) 31 ไตรมาส น้าหนักข้าว จริง ค่าพยากรณ์ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ α=0.1 1 180 175 (|180 -175|÷180)×100 = 2.78% 2 168 175.5 (|168-175.5|÷168)×100 = 4.46% 3 159 174.75 (|159-174.75|÷159)×100 = 9.91% 4 175 173.18 (|175-173.18|÷175)×100 = 1.04% 5 190 173.36 (|190-173.36|÷190)×100 = 8.76% 6 205 175.02 (|205-175.02|÷205)×100 = 14.62% 7 180 178.02 (|180-178.02|÷180)×100 = 1.1% 8 182 178.22 (|182-178.22|÷182)×100 = 2.08% (รวม) 44.75% MAPE= 44.75% ÷8 = 5.6% เฉลย
  • 36. วิธีคาดคะเนแนวโน้ม (Trend Projections) เป็นการใช้ข้อมูลในอดีตเพื่อพยากรณ์แนวโน้มในอนาคตโดย อาศัยวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดมาช่วย โดยมีเงื่อนไขว่า ค่าข้อมูลต่างๆ เมื่อนามาเขียนในเส้นกราฟจะต้องมีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง และมี ค่าเบี่ยงเบนของข้อมูลห่างจากเส้นพยากรณ์ไม่มาก Y X เส้นแนวโน้ม 32 ช่วงระยะเวลา ค่าของตัวแปรตาม(ค่าy)
  • 37. Yˆ  a  bx วิธีคาดคะเนแนวโน้ม = ค่าพยากรณ์ตัวแปรตาม = ค่าคงที่ที่ตัดแกน y = ค่าความชันของเส้นตรง แนวโน้ม = ช่วงระยะเวลา = ค่าผลรวม = ค่าเฉลี่ยของเวลา = ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตาม = ช่วงระยะเวลา 2 2 x nx xy nxy b      a  y  bx Yˆ a b x  x y n 33
  • 38. ข้อมูลความต้องการพลังงานไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตระหว่างปี ค.ศ. 1999-2005 แสดงในตารางข้างล่าง จง พยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้า ของปี ค.ศ. 2006 โดยใช้วิธีการคาดคะเนแนวโน้ม 37 ตัวอย่าง
  • 39. ความต้องการใช้ ปี ช่วงเวลา (x) พลังงานไฟฟ้า (y) xy 2 x 1999 1 74 1 74 2000 2 79 4 152 2001 3 80 9 240 2002 4 90 16 360 2003 5 105 25 525 2004 6 142 36 852 2005 7 122 49 854 4 7 28     n x x 98.86 7 692     n y y 38 140 2 x  28 y  692 x  xy  3,063
  • 40. หาค่าคงที่ a , b 2 2 x nx xy nxy b      a  y bx ดังนั้น สมการแนวโน้มวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดจะได้ 39 10.54 28 295 140 (7)(4) 3,063 (7)(4)(98.86) 2       98.8610.54(4)  56.70 Yˆ  56.7010.54x
  • 41. พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในปี ค.ศ. 2003 สามารถหาได้โดยแทนค่าx=5 จะได้ Yˆ  71.53.7(5)  90 เมกกะวัตต์ เส้นพยากรณ์แนวโน้ม Yˆ  71.5  3.7x พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในปี ค.ศ. 2004 สามารถหาได้โดยแทนค่าx=6 จะได้ Yˆ  71.5  3.7(6)  93.7 หรือ 94 เมกกะวัตต์ ความต้องการพลังงาน ปี 40
  • 42. การพยากรณ์โดยใช้ รูปแบบปัจจัยสาเหตุ 38 เป็นการพยากรณ์ที่จะพิจารณาตัว แปรหลายๆตัวที่มีผลกระทบต่อค่า พยากรณ์ เช่น การพยากรณ์ยอดขาย อาจจะขึ้นอยู่กับตัวแปร งบโฆษณา การ ตั้งราคา อัตราการว่างงาน เป็นต้น
  • 43. การถดถอยเชิงเส้น (Linear regression analysis) แนวคิดคล้ายกับวิธีการคาดคะเนแนวโน้ม เพียงแต่ตัวแปรอิสระจะไม่ใช่ เรื่องของช่วงเวลาเพียงอย่างเดียว จะเป็นตัวแปรอิสระอื่นๆ ที่ส่งผลต่อ ตัวแปรตาม แต่ข้อมูลต้องสัมพันธ์กันแบบเส้นตรง ดังนัน้สมการ พยากรณ์ยังคงมีรูปแบบเหมือนเดิมคือ Yˆ  a  bx 39
  • 44. Yˆ  a  bx วิธีถดถอยเชิงเส้น = ค่าพยากรณ์ตัวแปรตาม = ค่าคงที่ที่ตัดแกน y = ค่าความชันของเส้นถดถอย = ค่าตัวแปรอิสระ (ไม่จาเป็นต้องเวลา) = ค่าผลรวม = ค่าเฉลี่ยของตัวแปรอิสระ = ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตาม = จานวนของข้อมูล 2 2 x nx xy nxy b      a  y  bx Yˆ a b x  x y n 40
  • 45. ตัวอย่าง บริษัทรับซ่อมบ้าน ได้วิเคราะห์ว่ายอดขายของบริษัทจะขึ้นอยู่กับรายได้ของประชากร บริษัทได้ทาการเก็บข้อมูลยอดขายของบริษัท โดยเปรียบเทียบกับรายได้ประชากรในช่วงระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมา จงพยากรณ์ยอดการซ่อมบ้านปีที่7 เมื่อรายได้เท่ากับ 600ล้านบาท ยอดขาย(y) รายได้(x) xy (แสนบาท) (ร้อยล้านบาท) 2.0 1 1 2.0 3.0 3 9 9.0 2.5 4 16 10.0 2.0 2 4 4.0 2.0 1 1 2.0 3.5 7 49 24.5 2 x y 15.0 x 18 80 2 x  xy  51.5 3 6 18     n x x 2.5 6 15     n y y 41
  • 46. หาค่าคงที่ a , b 2 2 x nx xy nxy b      2 80 (6)(3) 51.5 (6)(3)(2.5)    a  y bx  2.50.25(3) 1.75 ดังนั้น สมการแนวโน้มวิธีการกาลังสองน้อยที่สุดจะได้ Yˆ 1.750.25x  0.25 42
  • 47. พยากรณ์ยอดการซ่อมบ้านในปีที่ 7 เมื่อรายได้เท่ากับ 600ล้านบาท จาก แสนบาท บาท Yˆ 1.750.25x Yˆ 1.75 0.25(6) Yˆ  3.25 Yˆ  325,000 43 ยอดการซ่อมบ้านในปีที่7 เท่ากับ 325,000บาท