SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 72
การจัดการพาณิชย์
นาวี
บรรยายโดย ขวัญชัย ช้างเกิด
MBA Logistics Ramkhamhaeng
เอกสารอ้างอิง
• เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง
คมนาคม
• หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก
2551
สัปดาห์ บทที่ เนื้อหาการสอน
1
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ท่าเรือ เรือ
สินค้า
2 ธุรกิจพาณิชย์นาวีของประเทศไทย
3 องค์กรและการตลาดธุรกิจพาณิชย์
นาวี
2 4 ขั้นตอนการนำาสินค้าเข้าออกและ
เอกสารเรือ
5 กรมศุลกากรและพิธีการ
6 โรงพักสินค้าเพื่อตรวจปล่อยของ
เข้า และบรรจุของขาออก
3
7 การประกันภัยทางทะเล
8 กฎหมายพาณิชย์นาวี กฎหมาย
ทะเล และอนุสัญญา
ตารางการบรรยาย วิชาการจัดการ
พาณิชย์นาวี
• คะแนนเข้าชั้นเรียนและมีส่วนร่วม %
• คะแนนรายงาน %
• สอบประมวลความรู้รายวิชา %
• รวม %
การวัดผลและประเมินผล
Reportให้นักศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวท่าเรือ
ในประเทศ
จำานวน 1 เล่ม
- หาข้อมูลจากแหล่งใดก็ได้ ด้วยตนเอง
- จัดทำารูปเล่มแบบรายงาน พร้อมอ้างอิง
แหล่งที่มา ของข้อมูล
- จัดส่งรูปเล่ม ในวันที่มาสอบ เท่านั้น
- การวัดผล 30 คะแนน
เสนอ อาจารย์ขวัญชัย
ช้างเกิด
บทที่ 1
ความรู้ทั่วไป ท่าเรือ เรือ
สินค้า
มหมายของท่าเรือ
ท่าเรือ คือ สถานที่ที่เรือเข้าจอดเทียบท่าได้อย่าง
ปลอดภัย เพื่อทำาการบรรทุกขนถ่ายสินค้าเติมเชื้อเพลิง
นำ้าและอาหาร และเป็นที่ที่รับส่งผู้โดยสารที่เดินทางโดย
ทางเรือที่ปัจจุบันนิยมใช้ใน การท่องเที่ยวเป็นส่วนใหญ่
ท่าเรือ คือจุดขนถ่ายสินค้าเปลี่ยนจากพาหนะหนึ่งเป็น
อีกพาหนะหนึ่ง สำาหรับการขนส่งทางทะเล ก็จะทำาการ
บรรทุกและขนถ่ายสินค้าและออกจากท่าเรือไป ส่วนการ
ขนส่งภายในประเทศสินค้าจะถูกขนส่งมาโดยรถบรรทุก
รถไฟและอื่นๆ มายังท่าเรือ กลับกันเมื่อสินค้าขนถ่ายขึ้น
จากเรือก็จะเก็บรักษาไว้ที่ท่าเรือและทำาการขนส่งต่อไป
ภายในประเทศโดยพาหนะอื่น ท่าเรือถือเป็นกิจกรรม
หนึ่งของกระบวนการ LOGISTICS โดยท่าเรือทำาหน้าที่
ให้การบริการในการขนถ่ายสินค้า โดยท่าเทียบเรือจะ
น้าที่หลักของท่าเรือ
1.การควบคุมและให้ความช่วย
เหลือในการเดินเรือ
2.การนำาร่อง
3.การลากจูง
4.การปฏิบัติงานบรรทุกขนถ่าย
สินค้า
ท่าเรือ
ระเภทของท่าเรือ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ตามหน้าที่หรือลักษณะการใช้งาน
าเรือเก็บสินค้าหรือท่าเรือขนส่งสินค้า ท่าเรือปลอดภาษี ท่าเรือภาย
เพื่อการทหาร ท่าเรือขนส่งทางทะเลในเขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ
อขนส่งผู้โดยสาร เป็นต้น
ตามลักษณะพื้นที่หรือสภาพภูมิศาสตร์
ท่าเรือชายฝั่งทะเล ท่าเรือนำ้าลึก ท่าเรือปากแม่นำ้า ท่าเรือแม่นำ้า เป็น
3 แบ่งแยกตามขนาดของท่าเรือ เพื่อเปรียบเทียบกำาลัง
การผลิตของท่าเรือแต่ละแห่งเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันจากตัวเลขที่
สำาคัญ คือ
1.นำ้าหนักสินค้าทั้งหมดที่ท่าเรือควบคุมในแต่ละปี
2.มูลค่าสิ้นค้าที่ท่าเรือควบคุมทั้งหมด
3.จำานวนท่าเทียบเรือที่ใช้ประโยชน์
4.ขนาดของเรือ
ท่าเรือ
บของท่าเรือ มี 2 ลักษณะ คือ
พัฒนาจากรูปแบบท่าที่เป็นธรรมชาติ (Natural Harbour C
ท่าเรือ
กแบบก่อสร้างให้มีรูปแบบแตกต่างไปจากสภาพท่าที่มีอยู่ใ
arbour Configuration)
ท่าเรือ
ก่อสร้างให้มีรูปแบบแตกต่างไปจากสภาพท่าที่มีอยู่ในธรรมชาติโคร
ออกแบบเพื่อความเหมาะสมในการใช้งานและชนิดหรือขนาดเรือที่จ
ะ คือ
นโครงสร้างท่าเรือที่สร้างขนานกับแนวฝั่ง (Wharf หรือ Quay)
ท่าเรือ
2. เป็นโครงสร้างท่าเรือที่สร้างยื่นออกจากฝั่งทะเล (Pier หรือ
Jetty) หรือตลิ่งของแม่ นำ้าสำาหรับให้เรือ
เข้าเทียบท่าทำาด้วยไม้หรือเหล็กกล้า และที่สำาคัญคือโครงสร้าง
ต้องมีลักษณะโปร่ง ไม่กีดขวางทางเดินของ
กระแสนำ้ามีระดับความลึกของนำ้าหนักท่าเพียงพอให้เรือเข้า
จอดได้ อย่างเหมาะสมท่าเรือลักษณะนี้มัก
จะเป็นรูปตัวที (T) หรือรูปตัวแอล (L) โดยจะทำาหน้าที่ผสม
ผสานระหว่างเขื่อนกันคลื่นและเป็นท่าเทียบเรือ
ในตัวเอง ท่าเรือลักษณะนี้สามารถออกแบบ ให้เรือที่มีขนาด
แตกต่างกันใช้เทียบท่าพร้อมกันหลายลำาได้
ท่าเรือ
องท่าเรือ แบ่งได้เป็นหลายประเภท ดังนี้
1.ประเภทของท่าเรือแบ่งตามลักษณะการใช้งาน แบ่งได้
เป็น 4 ประเภท คือ
1.1 ท่าเรือหลบภัย เป็นท่าเรือที่สร้างขึ้นเพื่อให้เรือ
ใช้หลบพายุและคลื่นลม และบางครั้ง
อาจใช้เป็นท่าเรือเพื่อการค้าด้วย
ท่าเรือ
1.2 ท่าเรือทหาร
ท่าเรือ
1.3 ท่าเรือท่องเที่ยว
ท่าเรือ
1.4 ท่าเรือพาณิชย์
ท่าเรือ
งท่าเรือแบ่งตามลักษณะภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็น 2 ปร
ม่นำ้า ท่าเรือแม่นำ้าเป็นท่าเรือที่ตั้งอยู่ในแม่นำ้า หรือปากแม่นำ้า ซึ่งมีความปลอด
ศจากคลื่นลม
ท่าเรือ
2.2 ท่าเรือทะเล เป็นท่าเรือที่ตั้งอยู่บนชายทะเลซึ่งมีลักษณะเป็นเวิ้ง
อ่าวให้เรือสามารถเทียบท่าได้
อย่างปลอดภัย อาจมีแนวกั้นป้องกันคลื่นลมธรรมชาติ
ท่าเรือ
ท่าเรือในประเทศไทย
ท่าเรือนับเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญต่อการค้าระหว่างประเทศและ
เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจาก
สินค้าที่ขนถ่ายผ่านท่าเรือหลากหลายและมีปริมาณมาก จึงก่อให้
เกิดกิจกรรมมากมายในเรือ กิจกรรมเหล่านี้
ก่อให้เกิดการจ้างงาน นำาเงินตราเข้าสู่ประเทศและก่อให้เกิดการ
ขยายตัวในทางอุตสาหกรรม และก่อให้เกิดการ
พัฒนาทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่กว้างไกลออกไป
ท่าเรือ
ท่าเรือของรัฐ
1.1 ท่าเรือกรุงเทพ, เชียงแสน, เชียงของ
1.2 ท่าเรือแหลมฉบัง
1.3 ท่าเรือมาบตาพุด
1.4 ท่าเรือสงขลา
1.5 ท่าเรือระนอง
1.6 ท่าเรือภูเก็ต
1.7 ที่จอดสมอเรือบริเวณเกาะสีชัง
ท่าเรือ
ท่าเรือ
4
23
อาณาบริเวณ
ทางบก ได้แก่เขตพื้นที่ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของการท่าเรือ
แห่งประเทศไทย (กทท.) ณ ท่าเรือกรุงเทพ มีพื้นที่
ประมาณ 2,353 ไร่ แบ่งเป็น
1) การใช้พื้นที่ในเขตรั้วศุลกากร ในกิจการ ท่าเรือ
ประมาณ 860 ไร่
2) นอกเขตรั้วศุลกากร ในกิจการท่าเรือประมาณ129ไร่
3) พื้นที่สำารองเพื่อการขยายงานในอนาคต 169 ไร่
4) พื้นที่ให้หน่วยงานราชการขอใช้ประมาณ 217 ไร่
5) พื้นที่ ให้หน่วยงานของรัฐและเอกชนเช่าประมาณ
596 ไร่
6) พื้นที่ชุมชนประมาณ 197 ไร่ และทางสัญจรประมาณ
185 ไร่
ท่าเรือ
ร่องนำ้าทางเข้า
ร่องนำ้าสันดอนท่าเรือ
กรุงเทพมีความยาว 18
กิโลเมตร ความกว้างร่องนำ้า
ในทางตรง 150 เมตร และ
ความกว้างร่องนำ้าในทางโค้ง
250 เมตร ร่องนำ้าดังกล่าวได้
รับการบำารุงรักษาให้คงความ
ลึกที่ 8.5 เมตร จาก
ระดับทะเลปานกลางหรือ 6.5
เมตร จากระดับนำ้าลงตำ่าสุด
แม่นำ้าบริเวณท่าเรือกรุงเทพ
มีความลึกระหว่าง 8.5-11
เมตร จากระดับนำ้าทะเลปาน
กลาง
ท่าเรือ
- อยู่ทางภาคตะวันออกของ
ประเทศไทย
- มีพื้นที่ขนาด 6,340ไร่
ประกอบด้วยท่าเทียบเรือที่เปิด
ให้บริการแล้วดังนี้
1) ท่าเทียบเรือตู้
คอนเทนเนอร์ 7 ท่า
2) ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์
1 ท่า
3) ท่าเทียบเรือ Ro/Ro 1 ท่า
4) ท่าเทียบเรือโดยสารและ
เรือ Ro/Ro 1 ท่า
ท่าเรือ
 สามารถรองรับเรือขนาดใหญ่พิเศษ (Super
Post Panamax) ได้
 กทท. เป็นองค์กรบริหารท่าเรือโดยรวม
 ส่วนงานด้านปฏิบัติการเป็นของเอกชนที่เช่า
ประกอบการหรือที่เรียกว่า Landlord Port
 เป็นท่าเทียบเรือที่มีอัตราการเติบโตของการ
ให้บริการขนถ่ายสินค้าสูงสุดแห่งหนึ่งของ
โลก จากการจัดอันดับท่าเทียบเรือที่เป็น
World Top Container Port โดยนิตยสาร
ชั้นนำาของโลก เช่น Loylld List เป็นต้น
 ทลฉ. ได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากรัฐบาล
ในการเป็นท่าเรือหลักของประเทศแทนท่าเรือ
ท่าเรือ
28
B
1B
2
B
4
B3
B
5
A
3
Ao
A3
C1
C2
C
o D1
D2
D3
C3
A1
A2
A4
A5
53
ศูนย์กลาง
การตรวจ
สอบ
สินค้า
และพักรถ
บรรทุก
ท่าเรือ
แหลมฉบัง
ท่า
เ
ที
ย
บ
เรื
อ
(A)
ยาว
ห
น้
า
ท่
า
(เ
ม
ต
ร) ความลึก ลักษณะท่า
ขีดความ
สามารถ
A0 590
-14.0 เมตร
จาก
MSL
ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์
รองรับสินค้าทั่วไป
ที่ขนส่งโดยเรือลำาเลียง
เรือเดินทะเล
ชายฝั่ง และเรือ
Conventional 750,000 ตัน/ปี
-14.0 เมตร
ท่าเทียบเรือโดยสาร
ระหว่างประเทศจาก
เรือ
Ro/Ro และท่าเทียบเรือ
รับเรือโดยสาร
ขนาด
แหลมฉบังมีท่าเทียบเรือ 18 ท่า ดังนี้
ท่าเรือ
ท่า
เที
ย
บ
เรื
อ
(B และ
C)
ยาว
ห
น้
า
ท่
า
(เ
ม
ต
ร) ความลึก ลักษณะท่า
ขีดความ
สามารถ
B1-B4 300
-14.0เ มตร
จาก MSL ท่าเทียบเรือตู้สินค้า
รับเรือ 50,000 DWT
สินค้า, 0.6 ล้าน
TEU
B5 400
-14.0 เมตร
จาก MSL ท่าเทียบเรือตู้สินค้า
รับเรือ 50,000 DWT
สินค้า, 0.8 ล้าน
TEU
ท่าเทียบเรือสินค้า
ทั่วไปมีตู้บรรทุก
มาด้วยเที่ยวละไม่
ท่าเรือ
31
ท่า
เที
ยบ
เรื
อ
(D)
ยาวหน้า
ท่า
(เมตร) ความลึก ลักษณะท่า
ขีดความ
สามารถ
D1 700
-16.0เมตร
จาก
SL ท่าเทียบเรือตู้สินค้า ปีละ 1.4 ล้าน TEU
D2-D3
ท่าละ
500
-16.0เมตร
จาก
SL ท่าเทียบเรือตู้สินค้า
ปีละ 1.0 ล้าน
TEU/ท่า
ท่าเรือ
ผู้บริหารท่าเรือแหลมฉบัง
ท่าเทียบเรือ ผู้บริหาร
1.ท่าเทียบเรือA0 บริษัทแอลซีเอ็มทีจำากัด
2.ท่าเทียบเรือA1 บริษัทแหลมฉบังครูซเซ็นเตอร์จำากัด
3.ท่าเทียบเรือA2 บริษัทไทยแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
4.ท่าเทียบเรือA3 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
5.ท่าเทียบเรือA4 บริษัทอ่าวไทยคลังสินค้าจำากัด
6.ท่าเทียบเรือA5 บริษัทนามยงเทอร์มินัลจำากัด
7.ท่าเทียบเรือB1 บริษัทแอลซีบีคอนเทนเนอร์เทอร์มินัล
8.ท่าเทียบเรือB2 บริษัทเอเวอร์กรีนคอนเทนเนอร์เทอร์มินัล(ประเทศไทย)จำากัด
9.ท่าเทียบเรือB3 บริษัทอีสเทิร์นซีแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
ท่าเทียบเรือ ผู้บริหาร
10.ท่าเทียบเรือB4 บริษัททีไอพีเอสจำากัด
11.ท่าเทียบเรือB5 บริษัทแหลมฉบังอินเตอร์เนชั่นแนลเทอร์มินัลจำากัด
12.ท่าเทียบเรือc0 บริษัทฮัทชิสันโร-โรเทอร์มินัล(ประเทศไทย)จำากัด
13.ท่าเทียบเรือc1 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
14.ท่าเทียบเรือc2 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
15.ท่าเทียบเรือc3 บริษัทแหลมฉบังอินเตอร์เนชั่นแนลเทอร์มินัลจำากัด
16.ท่าเทียบเรือD1 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
17.ท่าเทียบเรือD2 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัล
18.ท่าเทียบเรือD3 บริษัทฮัทชิสันแหลมฉบังเทอร์มินัลจำากัด
จำานวนเรือผ่านท่า ปริมาณสินค้าเข้า-ออก
ท่าเรือแหลมฉบัง (ปีงบประมาณ)
    ปริมาณสินค้า (ตัน)    
ปี
จำาน
ว
น สินค้าทั่วไป สินค้าบรรจุตู้ รวม
ตู้
สินค้า(T.
E.U.)
เรือ
(
ล
ำำ
)
ขา
เ
ข้
า
ขา
อ
อ
ก
ขา
เ
ข้
า
ขา
อ
อ
ก ขาเข้า ขาออก
ขา
เ
ข
ำ้
า
ขา
อ
อ
ก
25
4
1
3,05
0
192,2
7
6
1,005,
0
6
6
4,005,
9
3
3
8,539,
8
5
8
4,198,
20
9
9,544,
92
4
698,0
7
1
726,6
3
1
25
4
2
3,30
0
109,4
1
2
710,4
2
1
5,013,
1
7
5
10,63
4,
5
5
5
5,122,
58
7
11,344
,9
76
850,6
6
1
905,2
0
6
11,78 1,036 1,074
ที่มา : กระทรวงคมนาคม
1. มีท่าเทียบเรือ 3 ท่า ความ
ยาวรวม 510 ม. กว้าง 30 ม.
ความลึกหน้าท่า 10 ม. (เมื่อนำ้าลง
ตำ่าสุด) ประกอบด้วย
- ท่าเทียบเรือสินค้า
ทั่วไป 2 ท่า มีความยาว 180 ม.
และ 175 ม. ตามลำาดับ
- ท่าเทียบเรือสินค้าเท
กอง 1 ท่า มีความยาว 155 ม.
2. ร่องนำ้ามีความยาว 4 กม.
กว้าง 120 ม. ลึก 9 ม.
3. พื้นที่กลับลำาเรือมีเส้นผ่า
ศูนย์กลาง 300 ม.
4. พื้นที่ท่าเรือ 115,000
ตรม.
5. ลานคอนเทนเนอร์
ท่าเรือนำ้าลึก
สงขลา
ท่าเรือ
ตั้งอยู่ในจังหวัดภูเก็ต ทาง
ด้านชายฝั่งทะเลอันดามัน ปัจจุบันมี
บทบาทสำาคัญในการรับเรือท่อง
เที่ยวมากกว่าเรือสินค้า โดยมีท่า
เทียบเรือทั้งหมด 2 ท่า ซึ่งมีสิ่ง
อำานวยความสะดวกท่าเรือ ดังนี้
1. ท่าเทียบเรือความยาว 360
เมตร กว้าง 30 เมตร ลึก 10 เมตร
รับสินค้าทั่วไปขนาด 20, 000 DW
T ความยาวเรือไม่เกิน 210 เมตร
กินนำ้าลึกไม่เกิน 8.5 เมตร โดยจอด
เรือเทียบท่าพร้อมกันได้ 2 ลำา และ
ท่าเรือ
ท่าเรือภูเก็ต
      ร่องนำ้า
        ร่องนำ้าทางเดิน
เรือเริ่มตั้งแต่บริเวณทิศ
ตะวันตกของเกาะช้าง
จนถึงท่าเทียบเรือ รวม
ระยะทาง 28 กิโลเมตร
โดยมีความลึกของร่อง
นำ้า 8 เมตร จากระดับ
นำ้าลงตำ่าสุด และความ
กว้างของร่องนำ้า 120
เมตร ตลอดระยะแนว
ร่องนำ้า ติดตั้ง
เครื่องหมายช่วยการ
เดินเรือเพื่อเพิ่มความ
ปลอดภัยในการเดินเรือ
ท่าเรือ
ท่าเรือระนอง
จ.ระนองตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นำ้ากระบุรี ฝั่ง
ตะวันออก
ต.ปากนำ้า อ.เมือง จ.ระนอง
เนื้อที่ 315 ไร่
ลักษณะของท่าเรือ
ระนอง
ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์
        มีขนาดความกว้าง 26
เมตร ยาว 134 เมตร สามารถรับเรือ
สินค้าขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอสส์
จอดเทียบท่าได้พร้อมกัน 2 ลำา มี
สะพานเชื่อมฝั่งกว้าง 10 เมตร ยาว
212 เมตร จำานวน 2 สะพานท่าเทียบ
เรือตู้สินค้า
        มีขนาดความกว้าง 30
เมตร ยาว 150 เมตร สามารถรับเรือ
สินค้าขนาดไม่เกิน 12,000 เดดเวท
ตัน จอดเทียบท่าได้ครั้งละไม่เกิน 1
ลำา มีสะพานเชื่อมฝั่งกว้าง 7.5 เมตร
ยาว 212 เมตร สะพานเชื่อมกับ
ท่าเรืออเนกประสงค์ กว้าง 8.50
เมตร ยาว40 เมตร
ท่าเรือ
สิ่งอำานวยความสะดวก        
 เรือลากจูง เครื่องมือทุ่น
แรงประเภทต่าง ๆ สำาหรับ
การยกขนและเคลื่อนย้าย
สินค้า 
พื้นที่ฝากเก็บสินค้า       
  1. โรงพักสินค้า มีพื้นที่
1,500 ตารางเมตร
         2. พื้นที่วางสินค้าทั่วไป
7,200 ตารางเมตร
1) เป็นท่าเรือเฉพาะกิจ ซึ่งรัฐได้กำาหนดให้
บริการอุตสาหกรรมที่ผลิตขึ้นในบริเวณมาบตาพุด
อยู่ในความรับดูแลของการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย รก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม
2535
2)ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะ 1  แบ่ง
ท่าเรือออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.1) ท่าเรือสาธารณะ (Public Terminal) เป็น
ท่าเรือที่ไม่จำากัดผู้ใช้บริการ โดย กนอ. ก่อสร้างสิ่ง
อำานวยความสะดวกพื้นฐานและท่าเทียบเรือให้
ประกอบด้วย 2 ท่าเทียบเรือ คือ
(1) ท่าเทียบเรือทั่วไป (General
Cargo Berth) บริหารจัดการโดยบริษัท ไทยพรอสเพ
ท่าเรือมาบตาพุด
จ.ระยอง
ท่าเรือ
2. ท่าเรือเอกชน
2.1 ท่าเรือเอกชนในแม่นำ้าเจ้าพระยา
2.2 ท่าเรือเอกชนชายฝั่งตะวันออก
2.3 ท่าเรือเอกชนชายฝั่งภาคใต้
ท่าเรือ
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
• โครงสร้างของเรือ ประกอบด้วย 2 ส่วนที่
สำาคัญคือ
– ส่วนที่เป็นตัวเรือหรือลำาเรือ (Hull)
ประกอบด้วย Holds และ Tanks
– ส่วนที่เป็นเครื่องจักร (Machinery) ซึ่ง
จะรวมถึงเครื่องยนต์และอุปกรณ์ต่าง ๆ
• ลักษณะพื้นฐานของเรือ
– Single Deck Vessels เป็นเรือที่มีดาดฟ้า
ชั้นเดียว เหมาะสมกับการบรรทุกสินค้าเทกอง
(bulk cargoes) เช่น ถ่านหิน เมล็ดธัญพืช
ต่าง ๆ
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
40
– Tween Deck Vessels เป็น
เรือที่มีดาดฟ้าเพิ่มขึ้นอีก
หลายชั้นที่ด้านล่างของ
ดาดฟ้าเรืออันบนสุด
(main deck) เหมาะสมกับการ
บรรทุกสินค้าทั่วไป ดาดฟ้า
เรือแต่ละชั้นจะช่วยป้องกัน
ความเสียหายของสินค้าได้
– Shelter Deck Vessels เป็น
เรือที่มีดาดฟ้าเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง
ชั้นเหนือดาดฟ้าเรืออันบนสุด
เหมาะสมกับการบรรทุก
สินค้าหลายประเภท เช่น เรือ
บรรทุกแก๊ส (Gas Carriers)
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
41
• ประเภทของเรือ
1. เรือสินค้า (Cargo ship) เป็นเรือที่ใช้สำาหรับ
การบรรทุกสินค้า จำาแนกตามลักษณะสินค้าที่
ขนส่งเป็น 4 ก ลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 เรือบรรทุกสินค้าเหลว (Tankers)
กลุ่มที่ 2 เรือบรรทุกสินค้าเทกอง (Bulk
Carrier)
กลุ่มที่ 3 เรือบรรทุกสินค้าทั่วไป (General
Cargo Ship)
กลุ่มที่ 4 เรือคอนเทนเนอร์ (Container Ships)
กลุ่มที่ 5 เรือประเภทอื่น ๆ
2. เรือโดยสาร (Passenger ship) เป็นเรือที่ใช้
สำาหรับขนส่ง
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
• ประเภทของเรือสินค้า
– Cargo Ships เป็นเรือสินค้าซึ่งอาจใช้คำาว่า Liner (เรือ
ประจำา) หรือ Tramp (เรือจร) สำาหรับบรรทุกสินค้าทั่วไป
ไม่จำาเป็นต้องมีเฉพาะสินค้าอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจ
บรรทุกสินค้าเก่าที่เป็นหีบห่อและไม่เป็นหีบห่อ เรือ
สินค้าทั่วไป จะเรียกว่า Breakbulk ship มีลักษณะ
คล้ายเรือบรรทุกถ่านหินแต่จะบรรทุกสินค้าผสมหลาย
อย่าง บางลำามี Gantry cranes ประจำาเรือด้วย โดย
จำาแนกตามลักษณะสินค้าที่ขนส่งเป็น 4 กลุ่ม คือ
•กลุ่มที่ 1 เรือบรรทุกสินค้าเหลว (Tankers) เป็นชื่อ
รวมที่ใช้เรียกเรือบรรทุกสินค้าเหลวทุกชนิด ออกแบบ
พิเศษสำาหรับสินค้าจำาพวกนำ้ามัน สารเคมี หรือใช้
บรรทุก
แก๊ส จึงเป็นเรือที่ค่อนข้าง
อันตรายและต้องการการควบคุม
ดูแลความปลอดภัยในการขนส่ง
และสูบถ่ายสูง
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
• กลุ่มที่ 3 เรือบรรทุกสินค้า
ทั่วไป (General cargo ship)
เป็นเรือที่บรรทุกสินค้าได้หลาย
ชนิดรวมกัน โดยระวางสินค้า
อาจวางเป็นชั้น ๆ (tween
deck) เพื่อแก้ไขปัญหาการวาง
ซ้อนทับของสินค้าในระวางจน
เกินไป มีความสะดวก ในการ
เข้าออกเมืองท่าต่างๆ ได้อย่างดี
สามารถให้บริการในลักษณะ
• กลุ่มที่ 2 เรือบรรทุกสินค้าเทกอง (Bulk carrier)
เป็นเรือที่มีดาดฟ้าชั้นเดียวขนาดใหญ่ สำาหรับ
บรรทุกสินค้าเทกอง (แบบไม่หีบห่อ) อาจเป็นเรือ
สินค้าเทกองแห้ง (Dry bulk carriers)
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
• กลุ่มที่ 4 เรือคอนเทนเนอร์
(Container Ships) สำาหรับ
บรรทุกสินค้าที่ถูกบรรจุเป็นตู้
เป็นเรือขนาดใหญ่ มีการ
พัฒนาออกแบบให้เหมาะสม
กับระบบการขนส่งประเภท
ต่าง ๆ และต้องมีท่าเรือที่
รองรับอย่างเหมาะสมในด้าน
เทคโนโลยีของอุปกรณ์ขน
ถ่าย หรือการใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ในการขนยก
สินค้า ข้อดีของการขนส่ง
ประเภทนี้คือสะดวก รวดเร็ว
สินค้าได้รับความเสียหาย
• กลุ่มที่ 5 เรือประเภทอื่น ๆ เป็นเรือที่ใช้บรรทุก
สินค้าที่มีลักษณะแตกต่างไปจากสินค้าทั่วไป จึง
มีลักษณะโครงสร้าง อุปกรณ์แตกต่างไปจากเรือ
อื่น ๆ เช่น
- เรือบรรทุกรถยนต์ (Vehicle carrier)
- เรือห้องเย็น (Reefer/refrigerated vessel)
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
เรือโดยสาร (Passenger
Ships/Cruise Liners)
เป็นเรือโดยสารที่มี
ลักษณะเฉพาะตัว มี
สิ่งอำานวยความสะดวก
จำานวนมาก มีค่าใช้จ่ายใน
การบำารุงรักษาสูง โดย
ทั่วไปมีขนาดใหญ่กว่าเรือ
ประเภทอื่น ภายในเรือจะมี
ห้องอาหาร ห้องพักผู้
โดยสาร ห้องดูภาพยนตร์
ห้องโถงสำาหรับเต้นรำา
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
เทคโนโลยีเรือ การเทคโนโลยีมาใช้กับเรือมี
หลายด้าน เช่น การออกแบบรูปทรงเพื่อ
- ลดแรงเสียดทาน มีเสถียรภาพ ไม่โคลง ลด
นำ้าหนักเรือ
- มีความเร็วสูง ประหยัดเชื้อเพลิง ควบคุมได้
ง่าย
- มีความปลอดภัย และไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
โดยสามารถพิจารณาในประเด็นต่าง ๆ ที่
สำาคัญดังนี้
1) การจัดการกับตัวเรือ
2) เครื่องยนต์ขับเคลื่อนเรือ
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
การใช้พลังงานทดแทน สืบเนื่องมาจาก
- นำ้ามันเชื้อเพลิงมีราคาผันผวนค่อนข้างสูงมา
ตั้งแต่ปี 2548 และเริ่มลดลงและค่อนข้างคงที่มา
ตั้งแต่ช่วงประมาณเดือนกันยายน 2549
- รัฐบาลได้มีนโยบายและแผนด้านส่งเสริม
พลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับประเทศ เพื่อกระจาย
ชนิดเชื้อเพลิงและลดการพึ่งพาการนำาเข้าพลังงาน
มาตรการที่สำาคัญมาตรการหนึ่ง คือ ส่งเสริมการใช้
ก๊าซธรรมชาติ (NGV) ก๊าซโซฮอล์ และไบโอดีเซล
ทดแทนนำ้ามันเชื้อเพลิงในภาคการขนส่งตามความ
เหมาะสมกับศักยภาพด้านการพัฒนาพลังงาน
ทดแทนของประเทศ
- กรมการขนส่งทางนำ้าและพาณิชยนาวีได้ดำาเนิน
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
โครงการส่งเสริมการใช้ NGV ในภาคการขนส่งทางนำ้า
โดยร่วมมือจาก ปตท. ดังนี้
1) โครงการทดลองใช้ NGV ในเรือ Motor Barge
คาดว่าจะสามารถลดการนำาเข้านำ้ามันจากต่าง
ประเทศปีละประมาณ 5,760,000 ลิตร หรือ
คิดเป็นมูลค่า 115 ล้านบาท (คิดที่ราคานำ้ามันดิบ 60
USD/BBL) และคาดว่าจะสามารถติดตั้งเครื่องยนต์
แล้วเสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2550
2) โครงการ NGV ในเรือเฟอร์รี่
สามารถลดการนำาเข้านำ้ามันจากต่างประเทศได้ปี
ละประมาณ 600,000 ลิตร หรือคิดเป็นมูลค่า 12 ล้าน
บาท (คิดที่ราคานำ้ามันดิบ 60 USD/BBL), ลดต้นทุนค่า
เชื้อเพลิงของผู้ประกอบการลงได้ประมาณ 30% และ
ลดมลพิษที่เกิดจากเครื่องยนต์ดีเซล ทั้งนี้ ปตท. กำาลัง
ก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) ที่
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
ความสัมพันธ์ระหว่างท่าเรือและเรือ
เพื่อความปลอดภัยในการดำาเนินกิจการ
ท่าเรือและเรือจะต้องมีความ สัมพันธ์กัน ขึ้นอยู่กับ
แบบท่าเรือ ประเภทของเรือ และปริมาณการบรรทุก
ของเรือท่าเรือจะต้องออกแบบให้สัมพันธ์กับประเภท
เรือที่จะเข้ามาเทียบท่า โดย
 ต้องมีระดับความลึกของร่องนำ้าหน้าท่าที่
เหมาะสมเพื่อให้เรือขนาดต่างๆ สามารถ
จอดได้อย่างปลอดภัย
 ควรมีอุปกรณ์หรือสิ่งอำานวยความสะดวกที่
พอเพียงระหว่างท่าเรือและเรือที่สัมพันธ์กัน
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
การกำาหนดขนาดการบรรทุก
สินค้าของเรือจะเข้า
เทียบท่าเรือ มีปัจจัย
พิจารณา คือ
- Ship’s Draft หรือ
Draught ขนาดกินนำ้าลึก
ของเรือ เป็นตัวเลขกำาหนด
ขนาดการบรรทุกเพื่อวัด
ความลึกของเรือ เช่น เมื่อ
เรือบรรทุกสินค้าเต็ม (Full
Load) หรือไม่ได้บรรทุก
สินค้าเลย (Light Load) จะ
มีขนาดความลึกเท่าใด
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
51
การวัดขนาดตันเรือ
การวัดขนาดตันเรือ (Tonnage
measurement) หมายถึง มาตราวัด
ขนาดเรือที่ใช้วัดเกี่ยวกับการระวางบรรทุก
สินค้าของเรือสินค้าและค่าขนส่ง ซึ่งการ
วัดขนาดตันเรือดังกล่าวแบ่งได้เป็น 2
ลักษณะ คือ
- วัดปริมาตรของตัวเรือ
(Volume tonnage)
- วัดนำ้าหนักเรือและสินค้า
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
การวัดขนาดตันเรือ สามารถแบ่งการวัด
ขนาดตันเรือออกเป็น 5 วิธีดังนี้
1. Deadweight Tonnage (D.W.T.)
เดทเวทตันเนจ คือ นำ้าหนักรวมที่เรือ
สามารถจะบรรทุกสินค้าได้สูงสุดรวมทั้งเสบียง
สัมภาระ (Stores) และเชื้อเพลิง (Bunker fuel)
และมีหน่วยเป็นนำ้าหนัก เช่น ตันละ 1,000
กิโลกรัม หรือ ตันละ 2,240 ปอนด์
ตัวอย่าง : ถ้าเรือลำาหนึ่ง มีเดทเวทตันเนจ
= 12,000 เมตริกตัน
ถ้าเรือลำานี้ มีนำ้าหนักในสภาวะ light
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
2. ตันเนจของสินค้า (Cargo
tonnage)
การวัดตันเนจของสินค้าสามารถวัดได้ 2
รูปแบบ คือ วัดเป็นนำ้าหนักหรือปริมาตรก็ได้
ตามแต่จะตกลงกันระหว่างผู้รับขนสินค้าและ
ผู้ส่งสินค้า
- การวัดตันเนจของสินค้าตามนำ้าหนักมี
ทั้งระบบอเมริกัน คือ 2,000 ปอนด์ (short
ton) และระบบอังกฤษ คือ 2,240 ปอนด์
(long ton)
- การวัดตันเนจของสินค้าตามปริมาตร
โดยปกติใช้หนึ่งตัน (measurement ton) มี
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
3. ตันเนจของระวางขับนำ้าของเรือ
(Displacement tonnage)
ตันเนจ ของระวางขับนำ้าของเรือมีหน่วยเป็น
นำ้าหนัก คือ ตันละ 2,240 ปอนด์ ซึ่งเป็นนำ้าหนัก
ของตัวเรือรวมทั้งทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บนเรือใน
ขณะนั้น จำานวนนำ้าหนักที่คำานวณได้คือ นำ้า
หนักโดยรวมของนำ้าที่ถูกแทนที่โดยเรือในขณะ
นั้น ๆ
ตันเนจ ของระวางขับนำ้าเฉพาะตัวเรือ
(displacement light) คือนำ้าหนักของเรือที่ไม่
รวมสัมภาระ (stores) นำ้ามันเชื้อเพลิง (bunker
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
4. ตันกรอสของเรือ (Gross tonnage)
- การคำานวณปริมาตรตันกรอสใช้วัดจากตัว
เรือและจะไม่ใช้วัดจากสินค้า
- ปริมาตรตันกรอสกำาหนดได้โดยการ
คำานวณช่องว่างภายในเรือ (vessel’s closed
– in space) ซึ่งมีหน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตและนำา
มาหารด้วยจำานวน 100 และมักจะเรียกกันใน
อดีตว่า Gross Registered Tonnage
( G.R.T.)
ดังนั้น 1 ตันกรอส จึงมีค่า = ปริมาตร
100 ลูกบาศก์ฟุต การคำานวณปริมาตรตันกรอ
สนี้จะนำาไปใช้ในการคำานวณเพื่อจ่ายเป็นค่า
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
5. ตันเนจของเรือ (Net tonnage)
ตันเนจของเรือ คือ จำานวนปริมาตรตัน
กรอสของเรือลบด้วยปริมาตรช่องว่างที่ถูก
ครอบครองโดยคนประจำาเรือ เครื่องจักร
(machinery) นำ้ามันเชื้อเพลิง สัมภาระ
และห้องพักอื่น ๆ ที่ไม่ใช้สำาหรับการ
บรรทุกสินค้า
ยานพาหนะทางนำ้า (เรือ)
สินค้า
ทะเลของโลก แบ่งตามลักษณะสินค้า สามารถ
กได้เป็น 2 ประเภท
1. สินค้าของเหลว ได้แก่นำ้า มันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ก๊าซ
เหลว สินค้าที่ทำาการขนส่งทางทะเลโดยเรือนำ้ามัน ประเภท
ต่างๆ
2. สินค้าแห้ง หมายถึงสินค้าประเภทต่างๆ ที่รวมทั้งสินค้า
ของเหลวที่บรรจุขวดหรือถังด้วย สินค้าแห้งแบ่งออกได้ 2
ประเภท สินค้าแห้งเทกอง และสินค้าทั่วไป
2.1. สินค้าแห้งเทกอง ได้แก่ สินค้าแห้งที่ไม่ต้องบรรจุ
หีบห่อ เทกองรวมกันได้ เช่น เมล็ดพืช ถ่านหิน แร่เหล็ก
ซีเมนต์ ไม้ซุง
2.2. สินค้าทั่วไป ได้แก่ สินค้าที่บรรจุหีบห่อในลักษณะ
ต่างๆ เช่น กล่อง ม้วน ถุง ถัง สินค้าที่มีขนาดใหญ่ที่มา
สามารถบรรจุหีบห่อได้ เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ และรวม
ถึงสินค้าประเภทเทกองที่บรรจุหีบห่อ เช่น ข้าวที่บรรจุ
างทะเลแบ่งออกตามลักษณะการขนส่งทางทะเล ที่แตกต่าง
หมายถึงสินค้าที่มีลักษณะเหมือนกันอาจเป็นเม็ดหรือเมล็ด
ว และถูกขนส่งในลักษณะที่ไม่มีการบรรจุหีบห่อใดๆ
กองเหลว ได้แก่ นำ้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์นำ้ามัน สารเคมี ก๊าซเห
กองหลัก ได้แก่ แร่เหล็ก ถ่านหิน ธัญพืช บ็อกไซด์และอลูม
เฟต
กองรอง เช่น นำ้าตาล ข้าว มันสำาปะหลัง ไม้ซุง ทองแดง เศ
ป็นต้น
กองพิเศษ เช่น รถยนต์ ผลิตภัณฑ์เหล็ก เป็นต้น
สินค้า
สินค้า
มายถึง สินค้าที่มีปริมาณขนส่งได้เต็มขนาดบรรทุกของเร
ต่อการจัดการขนส่งแบบเทกอง จึงจำาเป็นที่ต้องขนส่งรวมก
ต่างๆ มีขนาดรูปร่างและลักษณะการบรรจุหีบห่อต่างกัน สิน
ต่างกัน ดังนั้นจึงมีการรวมสินค้าให้มีขนาดใหญ่ขึ้น สินค้า
อง ถัง ห่อ หรือมัด หรือไม่ก็ได้ สินค้าทั่วไปที่สำาคัญ อาจจะ
สินค้า
ชิ้น เช่น สินค้าเป็นชิ้น หีบห่อ เครื่องจักร ซึ่งแต่ละหน่วยต้องทำาการข
ากกน
สินค้าหรือหีบห่อที่ขนส่งโดยวางบนไม้ที่ทำาเป็นที่ใช้รองสินค้า และท
สินค้า
ก่อนขนส่ง เช่น ซุง ไม้แปรรูป
ช่น อาหารทะเล กุ้ง ปลา ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม เนย กุ้ง หอย
กมากหรือมีขนาดเทอะทะ เช่น ซุงท่อนขนาดใหญ่
ค้าทั่วไปหรือสินค้าเทกองที่บรรจุอยู่ในตู้สินค้า ซึ่งเป็นรูปแ
เพื่อให้เกิดความสะดวก ประหยัด รวดเร็ว และปลอดภัยกา
ใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ
1921 โดย บริษัท New Central Railway จำากัด ประเทศ
สินค้า
ร์ (Types of Containers) ชนิดต่างๆ
นเนอร์ ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าทางทะเล หมายถึง ตู้สี่เหล
าว 20,35.40 หรือ 45 ฟุต ทำาจากเหล็กหรืออลูมิเนียม ได้รับ
้าได้ในตัวตู้ได้ ใช้ในการบรรทุกสินค้าที่เป็นหีบ ห่อ ชิ้น ลัง
บรรจุหีบห่อ เพื่อป้องกันการสูญหาย และเสียหายระหว่างข
ตู้คอนเทนเนอร์
นค้าทั่วไป (Dry of General Cargo Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
เย็น (Reefer Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
อากาศ (Ventilated Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
ค์เกอร์ (Tank Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
ลังคา (Open Top Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
(Platform based Container of Flat Rack Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
้าง (Side Open Container)
ตู้คอนเทนเนอร์
อจัมโบ้ (High Cube Container)
ความสูงของตู้
จะสูงกว่า 1 ฟุต
จากความสูง 8 ฟุต
6 นิ้ว เป็น 9 ฟุต 6 น
ตู้คอนเทนเนอร์
Hide Container) คล้ายกับตู้สินค้าแห้งหรือสินค้าทั่วไป แต
บด้วยสานพิษที่จะไม่ดูดซึมกลิ่นและทนต่อการกัดกร่อนของ
ดองเกลือซึ่งมีกลิ่นแรงมาก
บสินค้าที่มีลักษณะพิเศษ
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6Khwanchai Changkerd
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทยRawiwun Theerapongsawud
 
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 

La actualidad más candente (20)

ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
 
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 

Más de Khwanchai Changkerd

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2Khwanchai Changkerd
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1Khwanchai Changkerd
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาKhwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3Khwanchai Changkerd
 

Más de Khwanchai Changkerd (9)

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
 

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1