SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Descargar para leer sin conexión
สรุปเนือหา
้
โครงสร้ างฐานราก
งานดินและเสาเข็ม
งานดินและเสาเข็มเป็ นส่ วนประกอบกัน เพื่อให้เกิดความแข็งแรงแก่อาคาร เพื่อให้เกิดความมันคงแข็งแรง
่
แก่อาคาร ควรเจาะดินเพื่อหาค่าความแข็งแรงของดินโดยเฉพาะชั้นหิ นเพื่อให้ปลายเข็มหยังลงไปอย่างมันคง
่
่
- การรับนําหนักของดิน
้
ชนิดของการเรี ยงก้อนเล็กไปก้อนใหญ่ข้ ึนเป็ นลําดับลึก ถือว่าเป็ นดินชนิดดี(Wall Grade) ความแข็งแรง
่
ของดินเพิ่มขึ้น หรื อบางที่ดินมีความแข็งแรงตํ่าเมื่ออยูลึกลงไป ขณะเดียวกันดินที่แช่นาอยูระยะหนึ่ง เมื่อนํ้า
้ ่
ลดลงอาจทําให้ดินทรุ ดตัวไปด้วย เรี ยกว่าคอนโซลิเดชัน (Consolidation)
่
- การรับนําหนักของเข็ม
้
ลักษณะการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม อาจเป็ นการรับนํ้าหนักแต่ละต้น หรื อการให้เข็มรับนํ้าหนักเป็ นกลุ่ม
(Pile Group) แต่ขณะเดียวกันระยะของเข็มแต่ละต้นควรไม่นอยกว่า 3 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของ
้
เสาเข็ม
การรับนํ้าหนักของเสาเข็มมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
- เสาเข็มรับความฝื ด (Friction Piles)
-เสาเข็มรับความฝื ดและปลายเข็ม (Friction and End Bearing Piles)
(2) การเจาะและกดเข็ม
การเจาะดินแล้วหล่อคอนกรี ต ทําได้ท้ งเข็มขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่มีประโยชน์สาคัญคือ ไม่ทาให้อาคาร
ั
ํ
ํ
ใกล้เคียงกระทบกระเทือนจากการตอก หรื อการทะเล้นของดินไปดันส่ วนของอาคารใต้ระดับพื้นดิน ทําให้
อาคารใกล้เคียงเกิดความเสี ยหาย โดยเฉพาะการใช้เข็มขนาดใหญ่และรับนํ้าหนักมาก มีขอจํากัดต้องใช้
้
ระบบการเจาะดิน แล้วหล่อคอนกรี ตเข็มในภายหลังการสอดเหล็กลงไป
-การเตรียมงานเข็ม
1.การปรับบริ เวณ
บริเวณที่จะทําการเจาะและกดเข็ม ควรปรับผิวดินหรื อทรายถมไว้ คอนข้ างเรี ยบ มีระดับตํ่าใกล้ เคียงกัน
่
เมือตอกหลักให้ ตําแหน่งของศูนย์เสาเข็ม ควรพ่นหรื อทาสีแดงทําให้ แลเห็นได้ ชด
ั
2.การวางเข็ม
่
สําหรับโรงงานหล่อเข็มมักผลิตเข็มไม่ทนต่อการใช้งาน อย่างไรก็ดี ขนาดของเข็มจะระบุอยูใน
ั
เอกสารของผูผลิตเข็มที่เป็ นคู่มือให้วิศวกรให้เลือกใช้ขณะออกแบบได้ การสังตามขนาดระบุจะง่ายและ
้
่
รวดเร็ วต่อการจัดส่ งเข็ม
3.การเตรี ยมรถเจาะและกด
เนื่องจากรถแทรกเตอร์ ประกอบด้ วยอุปการณ์ที่มีนํ ้าหนักมาก การเคลื่อนย้ ายในลักษณะครบเครื่ องทําได้
ยาก จําเป็ นต้ องถอดชิ ้นส่วนที่เป็ นแกน
-การเจาะและกดเข็ม
การเจาะและกดเข็มมีลาดับขั้นการทํางานดังนี้
ํ
1.การยกเข็มขึ้นประกับแกน
2.การเจาะและกดเข็ม
3.การต่อเข็มต้นที่ 2
4.การเจาะและกดเข็มต้นที่ 2
5.การตอกเข็มลงในระดับกําหนด

(3) การขุดดินฐานราก

-การขุดดินด้ วยเครื่องจักรกล
เครื่ องจักรที่ใช้ งานดินด้ วยการใช้ รถขดดิน และ รถตักดินด้ านหน้ าตีนตะขาบหรื อล้ อยาง

-การขุดดินด้ วยแรงคน
เครื่ องจักรทํางานได้ไม่หมดของงาน เพราะเครื่ องจักรมีขนาดใหญ่การทํางานอาจไปกระทบกับ
เสาเข็ม หรื อเครื่ องจักรไม่สามารถเข้าไปขุดในซอกระหว่างเสาได้ จึงต้องใช้แรงคน
งานฐานราก
ฐานรากทําหน้าที่รับนํ้าหนักของตัวอาคารทั้งหมดเพื่อถ่ายลงเสาเข็มให้เสาเข็มรับนํ้าหนักกรณี เข็ม
เดี่ยว หรื อถ่ายนํ้าหนักลงดิน เพื่อให้ดินรับนํ้าหนักในกรณี ฐานแผ่
ในกรณี ฐานรากที่มีเสาเข็มต้นเดียว และถ้าการตอกเสาเข็มไม่ตรงตามศูนย์จะทําให้เกิดปัญหา
ตามมากับฐานราก คือ ฐานรากจะเกิดการพลิกควํ่า เมื่อรับนํ้าหนักจากตัวอาคาร
(1) งานคอนกรีตหยาบ
แม้แต่อาคารขนาดเล็ก งานคอนกรี ตหยาบให้ความสําคัญต่อฐานราก ใช้หวรัดเข็มไม่ให้เลื่อน หลุดออกจาก
ั
บริ เวณพื้นที่ใต้ฐานรากเป็ นสําคัญ แต่เมื่องานก่อสร้างใหญ่ข้ ึน งานคอนกรี ตหยาบยังให้ ประโยชน์มากขึ้น
ไปอีก เป็ นการแบ่งระหว่างดินหรื อทรายใต้ฐานรากโดยตรง
-การตั้งแบบแบบข้ างเพือหล่อคอนกรีตหยาบ
่
1. เตรี ยมไม้ ไม้ที่ต้ งแบบข้างประกอบด้วย
ั
1.1ไม้หลัก
1.2ไม้แบบ
1.3ไม้ค้ ายัน
ํ
2. เตรี ยมตะปู
ตะปู ตะปูที่ใช้ควรประมาณได้ โดยไม่จาเป็ นต้องนับว่าตอกจํานวนกี่ตว เช่น ตะปู ที่ใช้ตอกแบบ
ํ
ั
ติดหลัก ใช้ตะปูขนาด 2 ½ นิ้วตอกหลักละ 2 ตัว ส่วนไม้ค้ ายันตอกติดหลังแบบ 1 ตัวตอกหัวไม้แบบไปชน
ํ
ด้านข้างของแบบใช้ตะปู 2 ตัว
3. การตั้งแบบ
การตั้งแบบข้างใน การเทคอนกรี ตหยาบให้มีพ้นที่กว้างออกไปจึงไม่ตองเคร่ งครัดเรื่ องขนาดอย่างไรก็ตาม
ื
้
ถ้าตั้งแบบได้ดีจะดูสวยงาม ก่อนหน้าที่จะทําการขุดเสร็ จและลงทรายบดอัดแน่น
สามารถตรวจสอบแนวศูนย์กลางเสาอีกครั้ง เพื่อให้ได้แนวขอบของฐานรากก่อน
-การเทคอนกรีตหยาบ
เนื่องจากการเทคอนกรี ตหยาบมีจานวนไม่มาก อาจทําการผสมเองโดยใช้โม่ผสมแบบเอียง ซึ่งเป็ นเพราะ
ํ
เตรี ยมหลุมไว้ไม่ได้มากจึงต้องทําการเทลงเมื่อตั้งแบบเสร็ จ
2) การตั้งแบบข้ าง
สําหรับตัวฐานเสาตอม่อจะตั้งเพียงแบบข้าง การสร้างแบบหล่อให้มีความแข็งแรงเมื่อขนาดของฐานรากมี
พื้นที่ และความหนามากขึ้น ปั จจุบนมีการนําแบบเหล็กและโครงนังร้านมาใช้ แต่ช่างจะมีความชํานาญกับ
ั
่
การใช้ไม้มากกว่า จึงพบว่ามีการผสมกันระหว่างแบบเหล็กแต่ใช้โครงไม้ยดยัน
ึ
-เตรียมงานตั้งแบบฐานราก
1. เตรี ยมผิวคอนกรี ต
2.วางไม้รับคํ้ายันรอบฐาน
3.การหาแนวฐานราก
(3) การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่ อ
-การเตรียมการผูกเหล็ก
1. งานวัดและยึดเหล็ก
2. การตั้งโต๊ ะดัดเหล็ก
3. การดัดเหล็ก
-การติดตั้งเหล็ก
ระหว่างประกอบแบบเหล็กด้านข้าง ช่างเหล็กจะยกเหล็กตะแกรงที่ดดไว้แล้วเข้าติดตั้ง ช่างไม้จะเว้นช่อง
ั
แบบเอาไว้ก่อนเพื่อให้ขนเหล็กเข้าได้ง่าย เป็ นลักษณะการทํางานของฐานรากขนาดใหญ่ ระยะของแบบ
แน่นอน เมื่อนําเหล็กมาวางโดยใช้ชอล์กแบ่งระยะจากเหล็กตัวริ มด้านหนึ่งและแบ่งระยะที่เหล็กอีกเส้น
หนึ่งที่วางตัวริ มตั้งฉากกับเส้นแรก ปลายต่อกัน วางเหล็กตะแกรงในแถวเดียวกันเรี ยงชิดกันแล้วใช้ชอล์ก
ขีดไว้ตามระยะที่วดแบ่งไว้ 1 เส้นเท่านั้น อีกด้านหนึ่งจะทําเช่นเดียวกัน ติดตั้ง เมื่อวางเหล็กตะแกรงไป
ั
ได้แถวหนึ่ง แถวที่สองที่ต้ งได้ฉากกันเริ่ มวางซ้อนโดยผูกส่ วนหัวเหล็กให้ได้ตามระยะไว้ก่อนให้ตลอดแนว
ั
ทั้งสองฝั่ง วางลูกปูนหนุนเหล็กให้ลอย 0.04 เมตร เต็ม ทิ้งให้ลูกปูนแข็ง 1 วัน รุ่ งขึ้นแบ่งลูกปูนออกเป็ น
ั
ก้อนๆ หนุนเหล็กตะแกรงโดยผูกลวดบนลูกปูนที่ฝั่งไว้กบเหล็กตะแกรงด้วย
(4) การเทคอนกรีตฐานราก
การผสมที่ถูกต้องตามหลักการของคอนกรี ต และการผสมสารตัวเร่ งหรื อสารตัวหน่วง เพื่อให้
คอนกรี ตมีคุณสมบัติสอดคล้องกับงานที่จะใช้คอนกรี ตนั้น ควรนําคอนกรี ตผสมเสร็ จ (Ready Mixed
Concrete) มาใช้
งานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ส่วนมากแล้ว ประกอบด้วยการผสมคอนกรี ตในหน่วยงานส่ วนหนึ่งกับการ
่
ใช้คอกรี ตผสมเสร็ จ ทั้งนี้จะต้องพิจารณาอย่างเหมาะสมตามความจําเป็ นกับการใช้คอนกรี ตแม้วาราคาของ
คอนกรี ตผสมเสร็ จจะมีราคาสูงกว่าคอนกรี ตที่ผสมเองในหน่วยงานบ้าง
โครงสร้ างตัวอาคาร
งานเสา
(1) งานเหล็กเสริมคอนกรีตเสา
่
1. เหล็กแกนเสา มีความสําคัญต่อการเสริ มโครงสร้างเสา เหล็กแกนจะอยูตอนริ มของเสามากเท่าที่จาเป็ น
ํ
นอกจากจะรับแรงอัดด้านบนแล้ว เสายังต้องช่วยแรงดัดด้านผิวข้างเมื่อเกิดการงอ จึงต้องทําการออกแบบ
เป็ นเสาสั้นหรื อเสายาว
2. เหล็กปลอกเสา การเสริ มเหล็กแกนของแต่ละระดับความสูงอาจลดขนาดหรื อลดจํานวนเหล็กแกนลงตาม
การออกแบบของวิศวกร และการเปลี่ยนตําแหน่งที่เสริ มเหล็กแกนหรื อการเสริ มเหล็กแกนที่มีขนาดลดลง
ทําให้ตองคิดเหล็กปลอกของแต่ละช่วงนั้นออกมา
้
3. เหล็กตะแกรงฐานเสาตอม่ อ จะดูจากแบบขยายฐานราก โดยเฉพาะต้องรู ้ตาแหน่งของเหล็กตะแกรง ซึ่ง
ํ
ปลายงอฉากของเหล็กแกนเสาจะวางบนเหล็กตะแกรงเป็ นการเชื่อมติด 3-4 จุด แทนการผูก จะทําให้ติดตั้ง
ได้เร็ วและสะดวก มีความแข็งแรงกว่าการผูกด้วย
4. เทคนิคของการเสริมเหล็กเสา เสาขนาดใหญ่จะมีจานวนเหล็กแกนหลายเส้น เมื่อเรี ยงเหล็กแกนตามขอบ
ํ
้
ข้างของเสา จะมีระยะระหว่างเหล็กแกนน้อยกว่า 0.02 เมตร ทําให้ตองร่ นให้เหล็กแกนตัวริ มเข้าไปชิดกัน
เป็ นเหล็กแกนคู่
(2) งานแบบหล่ อเสา
1. การขีดเส้ นศูนย์ เสาและเส้ นริมเสา
2. ปรับปรุงตําแหน่ งและจํานวนเหล็ก
3. แนวทีจะต้ องวางแบบ
่
4. การทําดิ่งแบบเสา
5.การยึดแบบเสา
(3) งานหล่ อคอนกรีตเสา
เนื่องจากเป็ นเสาต้นใหญ่ใช้คอนกรี ตจํานวนมากจึงใช้คอนกรี ตผสมเสร็ จ อาจเป็ นคอนกรี ตปั๊มคอนกรี ตจาก
เครื่ องส่ ง ดันคอนกรี ตไปตามท่อเทลงแบบเสาได้เลย จํานวนของคอนกรี ตประมาณได้ง่ายว่าจะใช้เท่าใด
และสังคอนกรี ตผสมเสร็ จมาดังกล่าวแล้ว การเขบ่าโดยใช้เครื่ องแหย่คอนกรี ตสอดลงไป ตอนใกล้ริมเหล็ก
่
แกนให้ทวถึง จะต้องเตรี ยมช่างและคนงานเพื่อการเทคอนกรี ตเสาให้ครบตามจํานวนที่ต้ งแบบไว้ และ
ั่
ั
ควบคุมให้ดาเนินไปอย่างระมัดระวัง เมื่อถอดแบบให้ใช้กระสอบชุบนํ้าคลุมไว้และรดนํ้าตลอด 14 วัน
ํ

งานคาน
่
งานโครงสร้างอาคาร คานเป็ นส่ วนการรับนํ้าหนักจากพื้นถ่ายลงเสา จึงพบว่าปลายคานธรรมดาจะวางอยูบน
หัวเสา เนื่องจากเสาขนาดใหญ่เสริ มเหล็กเส้นโตและหลายเส้น เหล็กเสริ มของคานจึงต้องสอดเข้าไปในช่อง
ระหว่างเหล็กเสา รวมทั้งการหลอส่ วนหัวเสากับคานจะหล่อคอนกรี ตไปพร้อมๆกัน
(1) การตั้งแบบท้ องคาน
-เสานั่งร้ านและการตั้งแบบท้ องคาน
ั
เสานังร้านจะใช้กบงานที่นาเสาไม้คร่ าว หรื อท่อเหล็กมารับโครงสร้าง จึงมีส่วนประกอบของเสาและการ
ํ
่
เรี ยกชื่อแตกต่างกันไปตามหน้าที่หลักดังกล่าว แต่น้ าหนัก ที่จะบรรทุกบนเสามีแตกต่างกันไปด้วย กรณี รับ
ํ
โครงอาคารพิเศษหรื อขนาดใหญ่ จําเป็ นต้องได้รับการคํานวณโดยวิศวกร เพื่อความปลอดภัยแก่ทุกคนใน
หน่วยงาน
(2) การประกอบเหล็กคาน
-เหล็กบน-ล่างของคาน
1. เหล็กบน เป็ นเหล็กเส้นตรงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร จํานวน 2 เส้น จะวิ่งตลอดช่วง ที่ระยะ
6.00 เมตร (ศูนย์กลางเสาด้านหนึ่งถึงศูนย์กลางเสาอีกด้านหนึ่ง) เป็ นเหล็กบน 2 เส้น ด้านซ้ายและด้านขวา
ของหน้าตัดคาน
่
2. เหล็กล่าง หมายถึงเหล็กแถวล่างสุ ดของเสา 6.00 เมตร เหล็กด้านขวาชี้วาเป็ นเหล็กจํานวน 2 เส้น ส้นผ่าน
่
ศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ชี้มาจนใกล้ระยะ 1.50 เมตร ที่จะถึงศูนย์กลางเสา ทางซ้าย ชี้วาเหล็ก 2 เส้นและ
ขนาดเดียวกัน เลยเข้ามาในระยะ 1.50 เมตร จากศูนย์กลางเสาต้นซ้าย ใช้เหล็ก 3 เส้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20
มิลลิเมตร แสดงว่ามีเหล็กเส้นกลาง 1 เส้น เสริ มที่ระยะ 1.50 เมตรจากศูนย์กลางเสา และงอฉากเหล็กขึ้น
่ ้
เรี ยกงอ 90 องศา อีก 2 เส้นจะอยูขางซ้ายและข้างขวาของหน้าตัดคาน
-เหล็กด้ านในบน-ล่าง
มีเหล็กอีก 2 แถว จากแถวบนแล้วถัดลงมาข้างล่าง โดยให้ผวเหล็กห่างกันไม่เกิน 0.025 เมตร
ิ
1. เหล็กด้านในบน เฉพาะรู ปเห็นเหล็กแกนบน ช่วงขวา ใช้เหล็ก 2 เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20
มิลลิเมตร วิ่งที่ความยาว 1.50 เมตร ส่ วนด้านซ้ายกําหนด 3 เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มิลลิเมตร แสดง
ว่า 3 เส้นในแถวนี้ว่งตลอกความยาว 4.00 เมตร จากศูนย์กลางเสาด้านซ้ายถึงปลายเหล็กด้านขวาจะงอฉาก
ิ
หรื องอ 90 องศส เหล็กด้านในบนทั้งสองข้างจะไม่วิ่งตลอดคาน ระยะห่ างของคอนกรี ตที่ผวคานถึงเหล็ก
ิ
แกนด้านในบนเท่ากับ 0.076 เมตร หรื อระยะคอนกรี ตหุ มเหล็กบน 0.031 เมตร รวมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง
้
ของเหล็กบน 0.020 เมตร และระยะของเหล็ก 0.025 เมตร รวมทั้งสิ้ นเท่ากับ 0.076 เมตร
2. เหล็กด้านในล่าง เป็ นเหล็ก 2 เส้น ด้านซ้ายและขวา เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร เสริ มที่ระยะห่างจาก
ระดับท้องคานจนถึงผิวเหล็กที่ 0.076 เมตร มีวธีการคิดเช่นเดียวกับเหล็กด้านในบนวิ่งจากศูนย์กลางเสา
ิ
ด้านซ้ายไปตามความยาวของคาน แล้วงอฉากที่ระยะอีก 0.75 เมตร จะถึงศูนย์กลางของเสาด้านขวา
-เหล็กปลอกคาน
สําหรับคานช่วงยาว เหล็กปลอกจะมีระยะเสริ มไมเท่ากัน จะมีการเสริ มเหล็กปลอกเส้นผ่าน
ศูนย์กลางที่แตกต่างกัน
(3) การประกอบแบบข้ างคาน
-การตั้งแบบข้ างคานและการคํายัน
้
การประกอบแบบคาน โดยเฉพาะแบบท้องคานและแบบข้างคาน จะทําในโรงงานทําแบบหล่อคอนกรี ต มี
จํานวนมากพอที่จะเริ่ มทําภายหลังประกอบเสาตุกตาหัวตัวที หรื อเสานังร้านตัวที
๊
่
(4) เทคนิคการประกอบแบบคาน
-การตั้งแบบหล่ อคานตัวริม
เนื่องจากคานตัวริ มอาคาร การตั้งเสานังร้านรับแบบท้องคานทําได้ดานเดียว จึงมีความยาวที่จะตั้งแบบให้ได้
้
่
ความแข็งแรง บางทีอาจใช้ไม้ผสมกับแบบเหล็กตามความจําเป็ น ความชํานาญของช่างไม้ และ
ความสามารถของวิศวกรโครงการ ทําให้มีเทคนิคและหลักการทําให้ได้งานที่เป็ นมาตรฐานมากขึ้น
1. แบบที่ทาขึ้น
ํ
2. ไม้ประกับตั้งและไมคํ้ายัน
3. ไม้ประกับนอน
4. ไม้ค้ ายันข้างแบบ
ํ
5. ไม้รองแบบท้องคานหรื อตงรองรับแบบท้องคาน
6. เสานังร้านรับท้องคาน
่
7. คานรับตง
8. สะพานรับคํ้ายัน
9. ไม้รัดโครงนังร้าน
่
-การตั้งแบบคานประกอบกับไม้ แบบหล่ อพืน
้
่ ั
1. การตั้งแบบคาน ระยะห่างของการตั้งเสาตูอยูระหว่าง 0.40 – 1.00 เมตร ขึ้นอยูกบขนาดของคาน
๊ ่
และความแข็งแรงของแบบท้องคาน
่
2. การตั้งแบบคานประกอบพื้น ข้อสําคัญอยูที่การตอกไม้ที่ทาคานและวางตง โดยอาศัยแบบข้าง
ํ
คานที่ต้ งแล้วรับแทนเสานังร้าน จึงมาใช้คานไม้ 1 ½ x 3 นิ้ว หรื อไม้ 2 x 4 นิ้ว ตามความจําเป็ นสําหรับตงที่
ั
่
วางจะใช้ไม้ขนาด 1 ½ x 3 นิ้ว วางห่างกัน 0.30 เมตร และกรุ ผวแบบรองให้พนด้วยไม้อดหนา 8 มิลลิเมตร
ิ
ิ้
ั
(5) งานหล่อคอนกรีตคาน
การนําคอนกรี ตเทลงแบบเป็ นเทคนิคสําคัญ แม้รู้หลักการแต่ขาดประสบการณ์และความชํานาญ
อาจเทคอนกรี ตเป็ นโพรงได้ท้ งที่เป็ นโครงสร้างขนาดใหญ่
ั
-การเทและการเขย่ าคอนกรีต
1. การถอดแบบ ถอดตะปูออกก่อน นําไม้วางเรี ยงไว้ใช้ตอไป และทําการตีไม่ค้ ายัน 2-3 ตัว ออก
ํ
จากการคํ้า และตีสะพานรับคํ้ายันด้วย จะใช้หวค้อนหรื อปากแบนของชะแลงสอดลงไปตามรอยที่ร้าวนั้น
ั
ค่อยๆสอดลึกลงไป งัดแบบเบาๆ
2. การบ่มคอนกรี ต เมื่อถอดแบบเสร็ จ ควรใช้กระสอบชุบนํ้าคลุมผิวให้ทว และฉีกนํ้าเมื่อ
่ั
การะสอบที่คลุมแห้ง การบ่มเพื่อให้การก่อนตัวของคอนกรี ตเป็ นไปอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะช่วง
อายุ 2 – 7 วัน ความแข็งแรงของคอนกรี ตจะเพิมสูงด้วยการควบคุมความชื้น และให้ความชื้นแก่เมล็ดซีเมนต์
่
่
ที่ยงค้างการทําปฏิกิริยาอยูอีก ทําให้ทาปฏิกิริยาได้ครบถ้วนตลิด 14 วัน ควรได้รับการบ่มอย่างถูกต้องและ
ั
ํ
ํ
ให้ความชื้นแก่คานสมํ่าเสมอ คลุมผิวอย่างทัวถึงถึง 28 วัน จึงจะนับว่าคอนกรี ตให้กาลังเพียงพอกับการบ่ม
่
แล้ว

งานพื้น
งานพื้นนั้นถ้าพิจารณาแล้วมีความสําคัญต่องานอาคาร เราะเป็ นส่ วนให้ประโยชน์แก่ผพกอาศัยหรื อ
ู้ ั
ผูใช้บริ การโดยตรง เมื่อสร้างพื้นเสร็ จระดับหนึ่งจะแหสดจํานวนชั้นที่ทา เช่น ชั้นที่ 1 ใช้เลข 1 ติดไว้ที่ช้ น
้
ํ
ั
่
เท่ากับว่าแสดงให้รู้วางานโครงสร้างอาคารแล้วเสร็ จไป
่
ดังได้ทราบแล้วว่าส่ วนหนาของพื้น 10 – 15 เซนติเมตร จะวางอยูบนหลังคานคอยรับนํ้าหนัก
บรรทุกที่ถ่ายลงบนพื้นถ่ายนํ้าหนักต่อเนื่องลงมายังคานและจากคานถ่ายลงเสา เนื่องจากพื้นมีความบาง การ
เสริ มเหล็กจึงต้องใช้เหล็กเส้นเล็ก และเสริ มถี่มากขึ้น
(1) งานแบบใต้ พน
ื้
เป็ นงานระบบวางคาน ตง และพื้น จึงดูไม่ซบซ้อน แต่การทําพื้นให้ได้ระดับและรับนํ้าหนักได้ก่อน
ั
เทและระหว่างเทคอนกรี ต มักต้องแก้ปัญหาเนื่องจากพื้นแอ่นขณะกําลังเท อาจเนื่องจากการทรุ ดตัวของเสา
นังร้านหรื อคานหลุดจากบ่าข้างเสา
่
- เสานั่งร้ านรับพืน
้
1. เสานังร้านใช้ไม้คร่ าว
่
2. เสานังร้านโดยใช้เสาเข็มไม้เบญจพรรณ
่
3. เสาท่อเหล็ก หรื อนังร้านสําเร็ จรู ป
่
- งาน คาน ตง และ พืน
้
1. งานคาน
ปกติใช้ไม้ที่มีขนาดความลึกมาก เช่น ไม้ 1 x 6 นิ้ว หรื อ 1 x 8 นิ้ว แต่ในการนําคานวาง
บนเสานังร้านที่ห่างกันประมาณ 1.00 – 2.00 เมตร จะเป็ นโครงนังร้านสําเร็ จรู ปหรื อจะ
่
่
เป็ นโครงนังร้านเสาท่อเหล็ก
่
2. งานตง
เป็ นตัวไม้ที่เล็กกว่า แต่อาศัยการพาดบนหลังคานด้วยระยะห่ างระหว่า 0.30 – 0.60
เมตร สําหรับพื้นไม้อดที่จะวางบนหลังตงเพื่อเป็ นแบบรองคอนกรี ตสดที่หล่อนั้น จะมี
ั
นํ้าหนักตอลดหน้าของพื้นเป็ นนํ้าหนักเฉลี่ย การวางตงให้หลังตงเสมอกัน จะทําให้ปู
พื้นไม้อดได้เสมอกันและระดับไปด้วย
ั
3. งานพื้น
พื้นรองด้วยไม้อดหรื อรองด้วยแบบเหล็ก จะวางบนหลังตงเช่นเดียวกัน และเมื่อถอด
ั
แบบลงแล้วท้องพื้นจะเรี ยบ แต่ถาใช้ตะปูดวยไม้แบบ 1 x 8 จะเป็ นรอยต่อแผ่นไม้เป็ น
้
้
เส้นตลอดความยาวของการปูไม้แบบ อาจทําให้ฮาบปูนท้องพื้นได้ง่ายกว่ารองแบบให้
ท้องพื้นเรี ยบ
(2) งานเทคอนกรีตพืน
้
1. การเทคอนกรีตพืนบนพืนทรายอัดแน่ น
้
้
ปกติจะมีการหล่อคานคอดินเสร็ จก่อน แล้วจึงถมทรายหรื อถมดินให้แน่น เจตนาของวิศวกรต้องกา
ให้พ้ืนดินช่วยรับนํ้าหนักบรรทุกบนพื้น
อย่างไรก็ตามการถมดินหรื อทราย ควรให้มีความแน่นพอสมควร มิฉะนั้นอาจเกิดปัญหาใต้พ้นอาจ
ื
เป็ นโพรงเมื่อดินทรุ ดตัวลง จะเป็ นที่ขงของนํ้าใต้ดิน พื้นจะเกิดความเสี ยหายได้ในภายหลัง
ั
การนําทรายเป็ นแบบรองรับคอนกรี ต ทรายควรมีความแน่นพอสมควร ให้ปาดผิวหน้าของทรายให้
เรี ยบก่อนวางเหล็กตะแกรง การเสริ มเหล็ก 2 ชั้น ควรหนุนเหล็กด้านล่างด้วยลูกปูน ก่อนเทคอนกรี ตควร
ปาดแต่งผิวทรายอีกครั่งแลละฉี ดนํ้าที่ผวทรายให้เปี ยก ผิวทรายจะได้ไม่ดูดซึมนํ้าจากคอนกรี ต และทรายจะ
ิ
มีความแน่นพียงพอ
-การเทคอนกรีตบนพืนแบบหล่ อ
้
อาจเป็ นพื้นไม้แผ่นหรื อพื้นไม้อด หรื อ พื้นแผ่นเหล็กนํามาเรี ยงต่อกัน ผิวพื้นจะต้องเรี ยบได้ระดับ
ั
ทาผิวแบบด้วยนํ้ามันเครื่ องบางๆ มีการตั้งแบบที่แข็งแรงรองรับด้วย ตง คาน และเสา พื้นแบบหล่อดังกล่าว
อาจมีปัญหาเรื่ องผิวแบบรั่วตอนรอยต่อของแบบแผ่นเล็ก ถ้าไม้แผ่นรอยรั่วมาก อาจราดนํ้าให้ไม้แบบ
่
ขยายตัวทําให้ร่องระหว่างแผ่นไม้แคบลงร่ องแบบจะมีมากเพียงใดอยูที่ความสามารถจองช่างไม้ที่จะเรี ยง
และอัดไม้แบบ รวมทั้งไม่ทิ้งแบบให้หดตัว ควรเทคอนกรี ตภายหลักการผูกเหล็กตะแกรงพื้นแล้วเสร็ จ การ
ทิ้งแบบไว้ 4- 5 วัน จะทําให้มีปัญหาการหดตัว

งานบันได
(1) งานแบบหล่ อบันได
การตั้งแบบบันไดจะทําภายหลังการเทพื้นชั้นล่างและชั้นบนแล้ว สอดเหล็กเสริ มบันไดในแนวที่จะ
ั
ตั้งบันไดฝากไว้กบคาน การทํางานบนพื้นที่หล่อคอนกรี ตแล้ว จะทําให้การตั้งแบบได้รับความสะดวกและ
สามารถวัดระยะให้ถูกต้องได้ง่าย
(2) การตั้งแบบท้ องบันได
เนื่องจากเป็ นบันไดท้องเรี ยบ บางชนิดท้องบันไดจะขนานตามขั้นบันไดทุกประการ การตั้งแบบจะ
ให้ยกขึ้นเป็ นใต้ข้ นตั้งและใต้ข้นนอนเช่นเดียวกัน สําหรับบันไดท้องเรี ยบใช้ระบบการวางเสา คาน ตง และ
ั
ั
ปูพ้ืนเหมือนกับแบบหล่อพื้นหล่อคอนกรี ตธรรมดา เพียงแต่จะเอียงตามมุมหรื อตามขั้นของบันไดกําหนด
ลําดับขั้นตอนมีดงนี้
ั
-การตั้ งเสานังร้าน
่
-การวางคาน
-การวางตง
-การปูพ้นท้องพื้นบันได
ื
-การวางแบบข้างบันได
-การตั้ งไม้บงขั้น
ั
(3) งานเสริมเหล็กบันได
การเสริ มเหล็กในบันไดมีลกษณะคล้ายพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ประกอบด้วยเหล็กตะแกรงล่างและ
ั
่ ั
เหล็กตะแกรงบน เป็ นการเสริ มเหล็กทางเดียว หัวพื้นบันไดจะพาดอยูกบคานรับระดับใต้พ้ืนชั้นล่าง และ
คานรับระดับใต้พ้ืนชั้นบน
(4) งานหล่ อคอนกรีตบันได
เมื่อได้ต้ งแบบและเสริ มเหล็กบันได ตรวจสอบความแข็งแรงของแบบขนาดของลูกขั้นทั้งระยะลูก
ั
ตั้ง และระยะลูกนอน การตั้งแบบรับพื้นบันได ติดตั้งไม้แผ่นบังโดยยึดด้วยคานยึดพุกบังขั้นอย่างแข็ง
พอที่จะรับแรงดันของคอนกรี ต

งานก่ออิฐฉาบปูน
(1) เทคนิคการก่อและฉาบ
-ทุกรอยต่ อทางตั้งและนอน โดยเฉลี่ยจะไม่ควรให้เห็นเป็ นรู ในผนังก่ออิฐ การดันอิฐ หรื อตอก
หลังอิฐจะทําให้ปูนก่ออัดตัวแน่น ไม่เคาะจนปูนทะเล้นออกมาก
-ก่อให้ ได้ แนวเชือกเอ็น ปกติแต่ละช่วงเสาจะใช้เชือกเอ็นขึงเป็ นแนวสําหรับเป็ นแนวในการก่ออิฐ
ตรงแนวเชือก ช่างที่ไม่ชานาญมักขึงทีละ 4 -5 เส้น ทําให้ตองประมาณแนวผนังด้วยสายตา จะเกิดความ
ํ
้
ผิดพลาดผนังอาจเว้าเข้าหรื อยืนออกเกิดจากการประมาทของช่างก่ออิฐ
่
-รอยต่ อระหว่ างปูนมีความหนาใกล้เคียงกัน รอบปูนก่อทั้งในแนวตั้งและนอน ควรมีความหนา
ใกล้เคียงกันระหว่าง 1-1.5 เซนติเมตร
-อิฐทีนํามาก่ อควรชุ่ มนํา เพือไม่ให้อิฐดูดนํ้าจากปูนก่อ แต่ถาแช่อิฐให้อิ่มนํ้าช่างก่อจะไม่ชอบ
่
้ ่
้
่
เพราะจะทําให้ปูนเหลวอยูนาน
2. งานฉาบปูน
-ทํามุมเสามุมคาน บางทีเรี ยกจับเซี้ยม เฉพาะตอนมุมเสาต้องทําการตรวจขนาดเสากําหนดความ
หนาที่จะฉาบและแนวของเสาทั้งแนวของเสาให้ตรงกัน
-ฉาบบนผิวคอนกรีต
-ฉาบผิวก่ ออิฐ
-ฉาบตอนมุมให้ ได้ ฉาก
โครงสร้ างหลังคา
ดาดฟ้ า
็
ั
อาคารสูงขนาดใหญ่โดยส่ วนมากจะไม่มีวสดุประเภทมุงหลังคา ถ้ามีกจะเป็ นโครงเหล็กถักขนาดใหญ่
เนื่องมาจากอาคารอาจจะมีพ้นที่กว้าง แต่ในที่น้ ีทาเป็ นดาดฟ้ า
ื
ํ
่
ดาดฟ้ าไม่ได้มีอะไรแตกต่างไปจากชั้นอื่นของตัวอาคารหรื อบางครั้งก็ไม่ได้อยูในประเภทโครงสร้างหลังคา
เลยก็ได้ เพราะดาดฟ้ าคือชั้นบนสุ ดของอาคารหลังนั้น ที่แตกต่างกับชั้นต่างๆของตัวอาคารก็คือ ส่ วนของเสา
และคาน เนื่องจากดาดฟ้ าเป็ นชั้นสุ ดท้ายทําให้ไม่ตองมีเสาต่อขึ้นไปอีก
้
ดาดฟ้ าโดยส่ วนมากบางครั้งเป็ นที่ต้ งของงานระบบต่างๆ เช่นมีถงเก็บนํ้าหรื อแท้งนํ้าเพือปั้มนํ้าให้ภายใน
ั
ั
่
อาคาร ระบบดึงของลิฟต์ และแม้กระทังมิเตอร์น้ า มิเตอร์ไฟที่มกพบเห็นในประเภทอาคารอาพาธเม้นท์ แต่
ํ
ั
่
ดาดฟ้ าจะพบปั ญหามากในเรื่ องการรั่วซึมจากนํ้าฝนที่ตกลงมา และเกิดการขัง

โครงเหล็กถัก
โครงถัก (Truss) คือโครงสร้างซึ่งประกอบขึ้นโดยการยึดปลายทั้งสององค์อาคารเส้นตรงต่อกันเพื่อส่ งแรง
ผ่านระหว่างองค์อาคาร โดยอาจยึดติดกันโดยการเชื่อมหรื อใช้สลักเกลียว โครงสร้างที่นิยมทําเป็ นโครงถัก
ได้แก่ สะพาน และ โครงหลังคา
- รู ปแบบโครงถัก
่
โครงถักแบบโฮว์ (Howe Truss) จันทันเอียงเป็ นจัวสองข้างเท่ากัน ขื่ออยูในแนวราบ มีท่อนยึดดิ่ง ระยะห่ าง
่
เท่ากัน และมีท่อนยึดทแยงเอียงลงเข้าหากึ่งกลางช่วง โดยมีรูปร่ างตามช่วงความยาวที่ เพิ่มขึ้นดังในรู ป
โครงถักแบบโฮว์ ยกระดับ มักนิยมในโครงหลังคาช่วงยาวเช่นในโรงงานหรื อโกดังเก็บสิ นค้า
โครงถักคอร์ ดเอียงขนาน ขื่อจะเอียงขนานกับจันทัน ทาให้มีช่องว่างความสูงมากขึ้น
โครงถักแบบเอียงต่ างมุม (Dual Pitch) มักใช้เป็ นหลังคาอาคารตึกแถว โดยเอียงชันทางด้านหน้า แล้วลาดเท
ลงยาวด้านหลัง
โครงถักแบบโค้ ง (Curved Truss) นิยมมากขึ้นในปัจจุบนเนื่องจากมีการใช้แผ่นเหล็กรี ดรอนมุง หลังคาซึ่ง
ั
สามารถดัดโค้งได้
งานระบบ และงานตกแต่ ง
ระบบสุ ขาภิบาล
ระบบสุ ขาภิบาลในบ้าน ประกอบไปด้วย ระบบประปา, ระบบท่อระบายน้า ทิ้ง, ระบบท่อระบาย
อากาศ, ระบบระบายน้า ฝน และระบบบําบัดนํ้าเสี ย เป็ นต้น ดังนั้นนักออกแบบที่ดีการเลือกใช้วสดุอุปกรณ์
ั
ที่เหมาะสม การติดตั้งที่ถูกต้องจึงเป็ นเรื่ องสําคัญ มากสามารถควบคุมและตรวจสอบงาน
- ส่ วนประกอบของนําเสี ย
้
1. นํ้าทิ้ง
2. นํ้าโสโครก
3. นํ้าฝน
4. นํ้าทิ้งพิเศษ
- กรรมวิธีการผลิตนําประปา มีวิธีการทําอยู่ 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
้
1.การตกตะกอน
2.การกรอง
3.การฆ่าเชื้อโรค
- การตรวจคุณภาพ
1.การตรวจสี
่
2.การตรวจความขุน
3.การตรวจกลิ่นและรส
4.การตรวจค่า pH
5.การตรวจความกระด้าง
ระบบไฟฟ้ า

ั
การตรวจและควบคุมงานระบบไฟฟ้ าอาคาร ระบบไฟฟ้ าที่ใช้กบอาคารนั้นมีการแบ่งขอบเขต
ของการควบคุมและตรวจสอบออกเป็ นระบบย่อย เพื่อสะดวกในการตรวจสอบดังนี้ วิธีการเดิน
สายไฟฟ้ า แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ 1) การเดินสายไฟบนผนังหรื อ (แบบเดินลอย) การเดินสายไฟแบบ
นี้จะมองเห็นสายไฟ อาจทา ให้ดูไม่เรี ยบร้อย ไม่สวยงาม หากช่างเดินสายไฟไม่เรี ยบตรง ยิงจะเสริ ม
่
้
ให้ดูไม่เรี ยบร้อย ตกแต่งห้องให้ดูสวยงามยาก มีขอดีที่ค่าใช้จ่ายถูกกว่าแบบฝังในผนัง สามารถ
ตรวจสอบและซ่อมแซมได้ง่าย 2) การเดินแบบฝังในผนังเป็ นการเดินสายไฟโดยร้อยสายผ่านท่อ
สายไฟซึ่งฝังในผนังอาคาร ทา ให้ดูเรี ยบร้อยและตกแต่งห้องได้ง่าย เพราะมองไม่เห็นสายไฟจาก
ภายนอก การเดินท่อร้อยสายต้องทา ควบคู่ไปพร้อมการก่อ-ฉาบ
- ข้ อแนะนาในการออกแบบระบบวงจรไฟฟาภายในบ้ าน
้
ระบบวงจรไฟฟ้ าภายในบ้าน ควรแยกวงจรควบคุมพื้นที่ต่างๆ เป็ นส่ วนๆ เช่น แยกตามชั้นหรื อแยกตาม
ประเภทของการใช้ไฟฟ้ า ทา ให้ง่ายต่อการซ่อมแซมในกรณี ไฟฟ้ าขัดข้อง

ระบบป้ องกันอัคคีภย
ั
- สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย
1.ระบบไฟฟา การเกิดอัคคีภยส่ วนใหญ่มกกล่าวอ้างว่าเกิดจากไฟฟ้ า เช่น ไฟฟ้ าลัดวงจร หม้อแปลงไฟฟ้ า
้
ั
ั
ระเบิด
2.ความประมาท เกิดการไม่รักษาระเบียบและข้อบังคับของสถานที่
3. การเสี ยดทาน มักเกิดขึ้นได้จากส่ วนของเครื่ องจักรที่ขาดการดูแลบํารุ งรักษาด้วยวิธีที่ถูกต้อง หรื อทิ้งการ
ปฏิบติไป
ั
4. การสั มผัสเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ไฟฟา เช่น ความร้อนจากท่อไอเสี ยของเครื่ องจักร ท่อลมร้อน หม้อไอ
้
นํ้า จะมีความร้อนถึงอุณหภูมิซ่ ึงทําให้เกิดไฟลุกไหม้ข้ นได้
ึ
5. การเผาไหม้ เอง สารเคมีบางชนิดเมื่อหกรดกันทําให้เกิดการลุกไหม้ข้ ึนเอง เมื่อไปติดเชื้อเพลิงจะทําให้เกิด
การลุกเป็ นไฟ ยากที่จะระงับในเวลาอันรวดเร็ ว
6.การใช้ ความร้ อนเกินขนาด เมื่อเครื่ องควบคุมความร้อนอัตโนมัติเกิดชํารุ ด สวิตซ์ไม่ตดไฟ
ั
7. ความร้ อนหรือประกายไฟ จากการเชื่อมโลหะหรื อหลอมโลหะ เตานํ้ามัน เตาอบ บางครั้ง เกิดจากการ
ความรู ้เม่าไม่ถึงการณ์ เช่น ทําการมาสี ในบริ เวณใกล้เคียงทําให้ทินเนอร์เกิดติดไฟขึ้นได้
่
8.ไฟฟาสถิต มักเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่ตองหมุนเพลา ทําให้เกิดคาร์บอนลอยตัวอยูใน
้
้
บรรยากาศ ถ้าบริ เวณนั้นมีความชื้นตํ่าหรื อแห้งก็อาจมีการสะสมไฟฟ้ าสถิตถึงขั้นทําให้เกิดการจุดติดไฟลุก
ไหม้ข้ ึน
- วิธีปองกันอัคคีภัย
้
1.การออกแบบอาคาร โดยเฉพาะสถาปนิกควรให้ความรอบคอบในการเลือกวัสดุที่ใช้ในการ
ก่อสร้าง วัสดุที่เก็บไว้ในอาคาร ทางหนีไฟ และควรแสดงที่ต้ งของท่อนํ้าประปาที่ใช้ในการดับเพลิง
ั
2.ติดตั้งอุปกรณ์ ดับเพลิงชั้นต้ น เลือกติดตั้งอุปกรณ์ที่เห็นได้ง่าย สามารถถอดไปใช้ได้อย่าง
รวดเร็ ว
3.แสดงแพนผังอาคาร ในแผนผังระบุตาแหน่งที่ติดตั้งอุปกรณ์แต่ละชนิดตามลักษณะของการ
ํ
เกิดอัคคีภย ให้ผเู ้ กี่ยวข้องและผูที่เป็ นยามรักษาการณ์นาไปใช้ได้ มีขอแนะนําให้เข้าใจ หรื อ ฝึ กฝนให้ใช้
ั
้
ํ
้
อุปกรณ์ได้อย่างรวดเร็ ว
4.ต่ อสายไฟเพิมเติม เมื่อต้องการต่อสายไฟฟ้ า ควรใช้เจ้าหน้าที่จากการไฟฟ้ า หรื อช่างไฟฟ้ าต่อ
่
สายไฟฟ้ า จะปลอดภัยมากกว่านําสายไปคล้องหรื อมัดกันอย่างไม่ถูกวิธี เพราะจะทําให้เกิดประกายไฟหรื อ
ความร้อนในส่ วนต่อสายที่ไม่กระชับนั้น
5. มีปายบอก โดยเฉพาะสถานที่เก็บนํ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซ หรื อวัสดุไวไฟ จ้องมีป้ายบอก
้
“ห้ามสูบบุหรี่ ” พื้นสี ขาวสูง 7 นิ้ว ติดตั้งไว้ และควรจัดบริ เวณให้เป็ นพื้นที่เฉพาะ ห้ามคนผ่าน
6.ติดตั้งระบบความปลอดภัยอืนๆ ติดตั้งอุปกรณ์ตามตําแหน่งและจํานวนอย่างเหมาะสมกับสภาพ
่
อาคาร โดยเลือกใช้เครื่ องดับเพลิง เครื่ องสู บนํ้าดับเพลิงแบบหาบ หาม หรื อลาก เข็น รถดับเพลิง นํ้ายาเคมี
และอุปกรณ์พเิ ศษอื่นๆ
- ระบบดับเพลิง
1. ระบบดับเพลิงโดยใช้ สารเคมี แบ่ งได้ เป็ น 6 ชนิด
1.1 เครื่องดับเพลิงชนิดนําธรรมดา
้
1.2 เครื่องดับเพลิงชนิดกรด-โซดา
1.3 เครื่องดับเพลิงชนิดฟองก๊าซ (โฟม)
1.4 เครื่องดับเพลิงชนิดนํายาเหลวระเหย
้
1.5 เครื่องดับเพลิงชนิดคาร์ บอนไดออกไซด์ เหลว (แบบผสมความดัน)
1.6 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ ง

ระบบลิฟต์
-ชนิดของลิฟต์
1. Traction Elevator
เป็ นลิฟต์ที่ใช้ในอาคารตั้งแต่ระดับความสูงกลางๆ ไปถึงสูงมาก ใช้ระบบการลากดึงโดยรอก และใช้ตุม
้
นํ้าหนักเป็ นตัวถ่วงนํ้าหนัก
2. Hydraulic Elevator
นิยมใช้ ในอาคารไม่กี่ชน ในความเร็ วที่ตํ่า
ั้
-ส่ วนประกอบของลิฟต์
1. ตูลิฟต์
้
2.สายเคเบิล
3.เครื่ องยนต์ลิฟต์
4. เกียร์ แบ่งเป็ น 2 แบบ
4.1 แบบไม่มีเกียร์
4.2 แบบมีเกียร์ 5.เบรกแม่เหล็กไฟฟ้ า
5.ตัวจํากัดความเร็ ว
6.ลักษณะการทํางานของลิฟต์
1. ลิฟต์ไฟฟ้ า เป็ นลิฟต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าเข้ามอเตอร์ดึงห้องลิฟต์ข้ ึนด้วยสายเชือกสลิง ใช้ได้
สําหรับอาคารทุกประเภท โดยเฉพาะอาคารสูงทัวไป มีท้ งระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ และไฟฟ้ ากระแสตรง
ั
่
2. ลิฟต์ไฮดรอลิก เป็ นลิฟต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าเข้ามอเตอร์ ทําให้เครื่ องปั๊มไฮดรอลิกยกลิฟต์ข้ ึน
ั
ปกติจะใช้กบอาคารสู งไม่เกิน 6 ชั้น เพราะจํากัดความสูงของแกนไฮดรอลิก เนื่องจากลิฟต์มีความเร็วตํ่าแต่มี
้
ราคาแพง มีขอดีคือไม่ตองมีหองเครื่ องโผล่เลยชั้นดาดฟ้ าของอาคาร นํ้าหนักของลิฟต์จะลงที่กนบ่อลิฟต์
้
้
้
โดยตรง

ระบบท่อและร้อยท่อ
เป็ นหลักการที่นาไปใช้ในการติดตั้งระบบท่อ ไม่วาจะเป็ นนํ้าประปา ท่อนํ้าร้อน ท่อระบายนํ้า
ํ
จนกระทังท่อส่ งความเย็นและท่อร้อยสายไฟ แบบก่อนสร้างจะระบุเฉพาะการต้องฝังท่อไว้แต่มิได้ระบุ
่
ตําแหน่งหรื อขยายให้เห็นรายละเอียดในการยึดท่อ แขวนท้อ รวมทั้งระบุการใช้อุปกรณ์ หรื อบอกระยะการ
เกิดท่อไว้เป็ นการแน่นอน แต่วิศวกรโครงการจะต้องพิจารณาเลือกวิธีฝังท่อ และเลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม
กับลักษณะของห้องของอาคาร
-การปองกันความปลอดภัยของโครงสร้ าง
้
ในการสร้างอาคารนั้น ระบบโครงสร้างได้แก่ เสา คาน พื้น กําแพง ตัวโครงสร้างแต่ละส่ วนต้องรับ
นํ้าหนักของตัวเองและรับนํ้าหนักบรรทุก ถ่ายทอดการรับนํ้าหนักกันลงมา นอกจากนี้ยงต้อง
ั
ต้านทานต่อแรงลม แรงสันสะเทือนอันเกิดจากการวิ่งของรถยนต์บนถนนและจากแผ่นดินไหว
่
-การเดินท่ อเพือปองกันนําและกันซึม
่ ้
้
่
เป็ นการเดินนอนผ่านผนังขอบนอกของอาคารซึ่งจะมีผวด้านหนึ่งอยูภายในและผิวอีกด้านหนึ่งจะ
ิ
่
อยูภายนอกอาคาร ส่ วนใหญ่จะเป็ นผนังก่ออิฐหนา แผ่นอิฐฉาบปูนเรี ยบทั้งสองหน้า ภายนอกอาจ
ต้องสัมผัสกับฝนหรื อความชื้นอื่นๆ การเดินท่อผ่านชั้นกันซึมกันนํ้าด้วยการใช้มอร์ตาร์ ประกอย
ด้วยการเว้นท่อหรื อฝังท่อเหล็กพร้อมคอลลาร์ท่ีเป็ นขอบยกสู ง ใหญ่กว่าปลอกเหล็กเลกน้อยเพือน
่
ั
กันนํ้าเข้าส่ วนนี้ ส่ วนที่ระหว่างคอลลาร์กบผิวนอกของท่อจะอุดด้วยปอ โดยรอบท่อแล้วทําการ
ั
คอล์คคิงด้วยตะกัวปิ ด สําหรับผิวด้านภายนอกอาคารจะฉาบด้วยมอร์ตาร์กนนํ้าและฉาบผิวหน้า
่
เรี ยบภายนอกอีกครั้ง

Más contenido relacionado

Más de Pongpob Srisaman

Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Pongpob Srisaman
 
8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรมPongpob Srisaman
 
6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบPongpob Srisaman
 
3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำPongpob Srisaman
 
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)Pongpob Srisaman
 
7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)Pongpob Srisaman
 

Más de Pongpob Srisaman (6)

Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)
 
8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม
 
6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ
 
3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ
 
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
 
7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)
 

5.ส่วนสรุปเนื้อหา

  • 1. สรุปเนือหา ้ โครงสร้ างฐานราก งานดินและเสาเข็ม งานดินและเสาเข็มเป็ นส่ วนประกอบกัน เพื่อให้เกิดความแข็งแรงแก่อาคาร เพื่อให้เกิดความมันคงแข็งแรง ่ แก่อาคาร ควรเจาะดินเพื่อหาค่าความแข็งแรงของดินโดยเฉพาะชั้นหิ นเพื่อให้ปลายเข็มหยังลงไปอย่างมันคง ่ ่ - การรับนําหนักของดิน ้ ชนิดของการเรี ยงก้อนเล็กไปก้อนใหญ่ข้ ึนเป็ นลําดับลึก ถือว่าเป็ นดินชนิดดี(Wall Grade) ความแข็งแรง ่ ของดินเพิ่มขึ้น หรื อบางที่ดินมีความแข็งแรงตํ่าเมื่ออยูลึกลงไป ขณะเดียวกันดินที่แช่นาอยูระยะหนึ่ง เมื่อนํ้า ้ ่ ลดลงอาจทําให้ดินทรุ ดตัวไปด้วย เรี ยกว่าคอนโซลิเดชัน (Consolidation) ่ - การรับนําหนักของเข็ม ้ ลักษณะการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม อาจเป็ นการรับนํ้าหนักแต่ละต้น หรื อการให้เข็มรับนํ้าหนักเป็ นกลุ่ม (Pile Group) แต่ขณะเดียวกันระยะของเข็มแต่ละต้นควรไม่นอยกว่า 3 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของ ้ เสาเข็ม การรับนํ้าหนักของเสาเข็มมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ - เสาเข็มรับความฝื ด (Friction Piles) -เสาเข็มรับความฝื ดและปลายเข็ม (Friction and End Bearing Piles) (2) การเจาะและกดเข็ม การเจาะดินแล้วหล่อคอนกรี ต ทําได้ท้ งเข็มขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่มีประโยชน์สาคัญคือ ไม่ทาให้อาคาร ั ํ ํ ใกล้เคียงกระทบกระเทือนจากการตอก หรื อการทะเล้นของดินไปดันส่ วนของอาคารใต้ระดับพื้นดิน ทําให้ อาคารใกล้เคียงเกิดความเสี ยหาย โดยเฉพาะการใช้เข็มขนาดใหญ่และรับนํ้าหนักมาก มีขอจํากัดต้องใช้ ้ ระบบการเจาะดิน แล้วหล่อคอนกรี ตเข็มในภายหลังการสอดเหล็กลงไป -การเตรียมงานเข็ม
  • 2. 1.การปรับบริ เวณ บริเวณที่จะทําการเจาะและกดเข็ม ควรปรับผิวดินหรื อทรายถมไว้ คอนข้ างเรี ยบ มีระดับตํ่าใกล้ เคียงกัน ่ เมือตอกหลักให้ ตําแหน่งของศูนย์เสาเข็ม ควรพ่นหรื อทาสีแดงทําให้ แลเห็นได้ ชด ั 2.การวางเข็ม ่ สําหรับโรงงานหล่อเข็มมักผลิตเข็มไม่ทนต่อการใช้งาน อย่างไรก็ดี ขนาดของเข็มจะระบุอยูใน ั เอกสารของผูผลิตเข็มที่เป็ นคู่มือให้วิศวกรให้เลือกใช้ขณะออกแบบได้ การสังตามขนาดระบุจะง่ายและ ้ ่ รวดเร็ วต่อการจัดส่ งเข็ม 3.การเตรี ยมรถเจาะและกด เนื่องจากรถแทรกเตอร์ ประกอบด้ วยอุปการณ์ที่มีนํ ้าหนักมาก การเคลื่อนย้ ายในลักษณะครบเครื่ องทําได้ ยาก จําเป็ นต้ องถอดชิ ้นส่วนที่เป็ นแกน -การเจาะและกดเข็ม การเจาะและกดเข็มมีลาดับขั้นการทํางานดังนี้ ํ 1.การยกเข็มขึ้นประกับแกน 2.การเจาะและกดเข็ม 3.การต่อเข็มต้นที่ 2 4.การเจาะและกดเข็มต้นที่ 2 5.การตอกเข็มลงในระดับกําหนด (3) การขุดดินฐานราก -การขุดดินด้ วยเครื่องจักรกล เครื่ องจักรที่ใช้ งานดินด้ วยการใช้ รถขดดิน และ รถตักดินด้ านหน้ าตีนตะขาบหรื อล้ อยาง -การขุดดินด้ วยแรงคน เครื่ องจักรทํางานได้ไม่หมดของงาน เพราะเครื่ องจักรมีขนาดใหญ่การทํางานอาจไปกระทบกับ เสาเข็ม หรื อเครื่ องจักรไม่สามารถเข้าไปขุดในซอกระหว่างเสาได้ จึงต้องใช้แรงคน
  • 3. งานฐานราก ฐานรากทําหน้าที่รับนํ้าหนักของตัวอาคารทั้งหมดเพื่อถ่ายลงเสาเข็มให้เสาเข็มรับนํ้าหนักกรณี เข็ม เดี่ยว หรื อถ่ายนํ้าหนักลงดิน เพื่อให้ดินรับนํ้าหนักในกรณี ฐานแผ่ ในกรณี ฐานรากที่มีเสาเข็มต้นเดียว และถ้าการตอกเสาเข็มไม่ตรงตามศูนย์จะทําให้เกิดปัญหา ตามมากับฐานราก คือ ฐานรากจะเกิดการพลิกควํ่า เมื่อรับนํ้าหนักจากตัวอาคาร (1) งานคอนกรีตหยาบ แม้แต่อาคารขนาดเล็ก งานคอนกรี ตหยาบให้ความสําคัญต่อฐานราก ใช้หวรัดเข็มไม่ให้เลื่อน หลุดออกจาก ั บริ เวณพื้นที่ใต้ฐานรากเป็ นสําคัญ แต่เมื่องานก่อสร้างใหญ่ข้ ึน งานคอนกรี ตหยาบยังให้ ประโยชน์มากขึ้น ไปอีก เป็ นการแบ่งระหว่างดินหรื อทรายใต้ฐานรากโดยตรง -การตั้งแบบแบบข้ างเพือหล่อคอนกรีตหยาบ ่ 1. เตรี ยมไม้ ไม้ที่ต้ งแบบข้างประกอบด้วย ั 1.1ไม้หลัก 1.2ไม้แบบ 1.3ไม้ค้ ายัน ํ 2. เตรี ยมตะปู ตะปู ตะปูที่ใช้ควรประมาณได้ โดยไม่จาเป็ นต้องนับว่าตอกจํานวนกี่ตว เช่น ตะปู ที่ใช้ตอกแบบ ํ ั ติดหลัก ใช้ตะปูขนาด 2 ½ นิ้วตอกหลักละ 2 ตัว ส่วนไม้ค้ ายันตอกติดหลังแบบ 1 ตัวตอกหัวไม้แบบไปชน ํ ด้านข้างของแบบใช้ตะปู 2 ตัว 3. การตั้งแบบ การตั้งแบบข้างใน การเทคอนกรี ตหยาบให้มีพ้นที่กว้างออกไปจึงไม่ตองเคร่ งครัดเรื่ องขนาดอย่างไรก็ตาม ื ้ ถ้าตั้งแบบได้ดีจะดูสวยงาม ก่อนหน้าที่จะทําการขุดเสร็ จและลงทรายบดอัดแน่น สามารถตรวจสอบแนวศูนย์กลางเสาอีกครั้ง เพื่อให้ได้แนวขอบของฐานรากก่อน
  • 4. -การเทคอนกรีตหยาบ เนื่องจากการเทคอนกรี ตหยาบมีจานวนไม่มาก อาจทําการผสมเองโดยใช้โม่ผสมแบบเอียง ซึ่งเป็ นเพราะ ํ เตรี ยมหลุมไว้ไม่ได้มากจึงต้องทําการเทลงเมื่อตั้งแบบเสร็ จ 2) การตั้งแบบข้ าง สําหรับตัวฐานเสาตอม่อจะตั้งเพียงแบบข้าง การสร้างแบบหล่อให้มีความแข็งแรงเมื่อขนาดของฐานรากมี พื้นที่ และความหนามากขึ้น ปั จจุบนมีการนําแบบเหล็กและโครงนังร้านมาใช้ แต่ช่างจะมีความชํานาญกับ ั ่ การใช้ไม้มากกว่า จึงพบว่ามีการผสมกันระหว่างแบบเหล็กแต่ใช้โครงไม้ยดยัน ึ -เตรียมงานตั้งแบบฐานราก 1. เตรี ยมผิวคอนกรี ต 2.วางไม้รับคํ้ายันรอบฐาน 3.การหาแนวฐานราก (3) การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่ อ -การเตรียมการผูกเหล็ก 1. งานวัดและยึดเหล็ก 2. การตั้งโต๊ ะดัดเหล็ก 3. การดัดเหล็ก -การติดตั้งเหล็ก ระหว่างประกอบแบบเหล็กด้านข้าง ช่างเหล็กจะยกเหล็กตะแกรงที่ดดไว้แล้วเข้าติดตั้ง ช่างไม้จะเว้นช่อง ั แบบเอาไว้ก่อนเพื่อให้ขนเหล็กเข้าได้ง่าย เป็ นลักษณะการทํางานของฐานรากขนาดใหญ่ ระยะของแบบ แน่นอน เมื่อนําเหล็กมาวางโดยใช้ชอล์กแบ่งระยะจากเหล็กตัวริ มด้านหนึ่งและแบ่งระยะที่เหล็กอีกเส้น หนึ่งที่วางตัวริ มตั้งฉากกับเส้นแรก ปลายต่อกัน วางเหล็กตะแกรงในแถวเดียวกันเรี ยงชิดกันแล้วใช้ชอล์ก ขีดไว้ตามระยะที่วดแบ่งไว้ 1 เส้นเท่านั้น อีกด้านหนึ่งจะทําเช่นเดียวกัน ติดตั้ง เมื่อวางเหล็กตะแกรงไป ั
  • 5. ได้แถวหนึ่ง แถวที่สองที่ต้ งได้ฉากกันเริ่ มวางซ้อนโดยผูกส่ วนหัวเหล็กให้ได้ตามระยะไว้ก่อนให้ตลอดแนว ั ทั้งสองฝั่ง วางลูกปูนหนุนเหล็กให้ลอย 0.04 เมตร เต็ม ทิ้งให้ลูกปูนแข็ง 1 วัน รุ่ งขึ้นแบ่งลูกปูนออกเป็ น ั ก้อนๆ หนุนเหล็กตะแกรงโดยผูกลวดบนลูกปูนที่ฝั่งไว้กบเหล็กตะแกรงด้วย (4) การเทคอนกรีตฐานราก การผสมที่ถูกต้องตามหลักการของคอนกรี ต และการผสมสารตัวเร่ งหรื อสารตัวหน่วง เพื่อให้ คอนกรี ตมีคุณสมบัติสอดคล้องกับงานที่จะใช้คอนกรี ตนั้น ควรนําคอนกรี ตผสมเสร็ จ (Ready Mixed Concrete) มาใช้ งานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ส่วนมากแล้ว ประกอบด้วยการผสมคอนกรี ตในหน่วยงานส่ วนหนึ่งกับการ ่ ใช้คอกรี ตผสมเสร็ จ ทั้งนี้จะต้องพิจารณาอย่างเหมาะสมตามความจําเป็ นกับการใช้คอนกรี ตแม้วาราคาของ คอนกรี ตผสมเสร็ จจะมีราคาสูงกว่าคอนกรี ตที่ผสมเองในหน่วยงานบ้าง
  • 6. โครงสร้ างตัวอาคาร งานเสา (1) งานเหล็กเสริมคอนกรีตเสา ่ 1. เหล็กแกนเสา มีความสําคัญต่อการเสริ มโครงสร้างเสา เหล็กแกนจะอยูตอนริ มของเสามากเท่าที่จาเป็ น ํ นอกจากจะรับแรงอัดด้านบนแล้ว เสายังต้องช่วยแรงดัดด้านผิวข้างเมื่อเกิดการงอ จึงต้องทําการออกแบบ เป็ นเสาสั้นหรื อเสายาว 2. เหล็กปลอกเสา การเสริ มเหล็กแกนของแต่ละระดับความสูงอาจลดขนาดหรื อลดจํานวนเหล็กแกนลงตาม การออกแบบของวิศวกร และการเปลี่ยนตําแหน่งที่เสริ มเหล็กแกนหรื อการเสริ มเหล็กแกนที่มีขนาดลดลง ทําให้ตองคิดเหล็กปลอกของแต่ละช่วงนั้นออกมา ้ 3. เหล็กตะแกรงฐานเสาตอม่ อ จะดูจากแบบขยายฐานราก โดยเฉพาะต้องรู ้ตาแหน่งของเหล็กตะแกรง ซึ่ง ํ ปลายงอฉากของเหล็กแกนเสาจะวางบนเหล็กตะแกรงเป็ นการเชื่อมติด 3-4 จุด แทนการผูก จะทําให้ติดตั้ง ได้เร็ วและสะดวก มีความแข็งแรงกว่าการผูกด้วย 4. เทคนิคของการเสริมเหล็กเสา เสาขนาดใหญ่จะมีจานวนเหล็กแกนหลายเส้น เมื่อเรี ยงเหล็กแกนตามขอบ ํ ้ ข้างของเสา จะมีระยะระหว่างเหล็กแกนน้อยกว่า 0.02 เมตร ทําให้ตองร่ นให้เหล็กแกนตัวริ มเข้าไปชิดกัน เป็ นเหล็กแกนคู่ (2) งานแบบหล่ อเสา 1. การขีดเส้ นศูนย์ เสาและเส้ นริมเสา 2. ปรับปรุงตําแหน่ งและจํานวนเหล็ก 3. แนวทีจะต้ องวางแบบ ่ 4. การทําดิ่งแบบเสา 5.การยึดแบบเสา (3) งานหล่ อคอนกรีตเสา เนื่องจากเป็ นเสาต้นใหญ่ใช้คอนกรี ตจํานวนมากจึงใช้คอนกรี ตผสมเสร็ จ อาจเป็ นคอนกรี ตปั๊มคอนกรี ตจาก เครื่ องส่ ง ดันคอนกรี ตไปตามท่อเทลงแบบเสาได้เลย จํานวนของคอนกรี ตประมาณได้ง่ายว่าจะใช้เท่าใด
  • 7. และสังคอนกรี ตผสมเสร็ จมาดังกล่าวแล้ว การเขบ่าโดยใช้เครื่ องแหย่คอนกรี ตสอดลงไป ตอนใกล้ริมเหล็ก ่ แกนให้ทวถึง จะต้องเตรี ยมช่างและคนงานเพื่อการเทคอนกรี ตเสาให้ครบตามจํานวนที่ต้ งแบบไว้ และ ั่ ั ควบคุมให้ดาเนินไปอย่างระมัดระวัง เมื่อถอดแบบให้ใช้กระสอบชุบนํ้าคลุมไว้และรดนํ้าตลอด 14 วัน ํ งานคาน ่ งานโครงสร้างอาคาร คานเป็ นส่ วนการรับนํ้าหนักจากพื้นถ่ายลงเสา จึงพบว่าปลายคานธรรมดาจะวางอยูบน หัวเสา เนื่องจากเสาขนาดใหญ่เสริ มเหล็กเส้นโตและหลายเส้น เหล็กเสริ มของคานจึงต้องสอดเข้าไปในช่อง ระหว่างเหล็กเสา รวมทั้งการหลอส่ วนหัวเสากับคานจะหล่อคอนกรี ตไปพร้อมๆกัน (1) การตั้งแบบท้ องคาน -เสานั่งร้ านและการตั้งแบบท้ องคาน ั เสานังร้านจะใช้กบงานที่นาเสาไม้คร่ าว หรื อท่อเหล็กมารับโครงสร้าง จึงมีส่วนประกอบของเสาและการ ํ ่ เรี ยกชื่อแตกต่างกันไปตามหน้าที่หลักดังกล่าว แต่น้ าหนัก ที่จะบรรทุกบนเสามีแตกต่างกันไปด้วย กรณี รับ ํ โครงอาคารพิเศษหรื อขนาดใหญ่ จําเป็ นต้องได้รับการคํานวณโดยวิศวกร เพื่อความปลอดภัยแก่ทุกคนใน หน่วยงาน (2) การประกอบเหล็กคาน -เหล็กบน-ล่างของคาน 1. เหล็กบน เป็ นเหล็กเส้นตรงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร จํานวน 2 เส้น จะวิ่งตลอดช่วง ที่ระยะ 6.00 เมตร (ศูนย์กลางเสาด้านหนึ่งถึงศูนย์กลางเสาอีกด้านหนึ่ง) เป็ นเหล็กบน 2 เส้น ด้านซ้ายและด้านขวา ของหน้าตัดคาน ่ 2. เหล็กล่าง หมายถึงเหล็กแถวล่างสุ ดของเสา 6.00 เมตร เหล็กด้านขวาชี้วาเป็ นเหล็กจํานวน 2 เส้น ส้นผ่าน ่ ศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ชี้มาจนใกล้ระยะ 1.50 เมตร ที่จะถึงศูนย์กลางเสา ทางซ้าย ชี้วาเหล็ก 2 เส้นและ ขนาดเดียวกัน เลยเข้ามาในระยะ 1.50 เมตร จากศูนย์กลางเสาต้นซ้าย ใช้เหล็ก 3 เส้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร แสดงว่ามีเหล็กเส้นกลาง 1 เส้น เสริ มที่ระยะ 1.50 เมตรจากศูนย์กลางเสา และงอฉากเหล็กขึ้น ่ ้ เรี ยกงอ 90 องศา อีก 2 เส้นจะอยูขางซ้ายและข้างขวาของหน้าตัดคาน
  • 8. -เหล็กด้ านในบน-ล่าง มีเหล็กอีก 2 แถว จากแถวบนแล้วถัดลงมาข้างล่าง โดยให้ผวเหล็กห่างกันไม่เกิน 0.025 เมตร ิ 1. เหล็กด้านในบน เฉพาะรู ปเห็นเหล็กแกนบน ช่วงขวา ใช้เหล็ก 2 เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร วิ่งที่ความยาว 1.50 เมตร ส่ วนด้านซ้ายกําหนด 3 เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มิลลิเมตร แสดง ว่า 3 เส้นในแถวนี้ว่งตลอกความยาว 4.00 เมตร จากศูนย์กลางเสาด้านซ้ายถึงปลายเหล็กด้านขวาจะงอฉาก ิ หรื องอ 90 องศส เหล็กด้านในบนทั้งสองข้างจะไม่วิ่งตลอดคาน ระยะห่ างของคอนกรี ตที่ผวคานถึงเหล็ก ิ แกนด้านในบนเท่ากับ 0.076 เมตร หรื อระยะคอนกรี ตหุ มเหล็กบน 0.031 เมตร รวมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง ้ ของเหล็กบน 0.020 เมตร และระยะของเหล็ก 0.025 เมตร รวมทั้งสิ้ นเท่ากับ 0.076 เมตร 2. เหล็กด้านในล่าง เป็ นเหล็ก 2 เส้น ด้านซ้ายและขวา เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร เสริ มที่ระยะห่างจาก ระดับท้องคานจนถึงผิวเหล็กที่ 0.076 เมตร มีวธีการคิดเช่นเดียวกับเหล็กด้านในบนวิ่งจากศูนย์กลางเสา ิ ด้านซ้ายไปตามความยาวของคาน แล้วงอฉากที่ระยะอีก 0.75 เมตร จะถึงศูนย์กลางของเสาด้านขวา -เหล็กปลอกคาน สําหรับคานช่วงยาว เหล็กปลอกจะมีระยะเสริ มไมเท่ากัน จะมีการเสริ มเหล็กปลอกเส้นผ่าน ศูนย์กลางที่แตกต่างกัน (3) การประกอบแบบข้ างคาน -การตั้งแบบข้ างคานและการคํายัน ้ การประกอบแบบคาน โดยเฉพาะแบบท้องคานและแบบข้างคาน จะทําในโรงงานทําแบบหล่อคอนกรี ต มี จํานวนมากพอที่จะเริ่ มทําภายหลังประกอบเสาตุกตาหัวตัวที หรื อเสานังร้านตัวที ๊ ่ (4) เทคนิคการประกอบแบบคาน -การตั้งแบบหล่ อคานตัวริม เนื่องจากคานตัวริ มอาคาร การตั้งเสานังร้านรับแบบท้องคานทําได้ดานเดียว จึงมีความยาวที่จะตั้งแบบให้ได้ ้ ่ ความแข็งแรง บางทีอาจใช้ไม้ผสมกับแบบเหล็กตามความจําเป็ น ความชํานาญของช่างไม้ และ ความสามารถของวิศวกรโครงการ ทําให้มีเทคนิคและหลักการทําให้ได้งานที่เป็ นมาตรฐานมากขึ้น 1. แบบที่ทาขึ้น ํ 2. ไม้ประกับตั้งและไมคํ้ายัน 3. ไม้ประกับนอน 4. ไม้ค้ ายันข้างแบบ ํ 5. ไม้รองแบบท้องคานหรื อตงรองรับแบบท้องคาน
  • 9. 6. เสานังร้านรับท้องคาน ่ 7. คานรับตง 8. สะพานรับคํ้ายัน 9. ไม้รัดโครงนังร้าน ่ -การตั้งแบบคานประกอบกับไม้ แบบหล่ อพืน ้ ่ ั 1. การตั้งแบบคาน ระยะห่างของการตั้งเสาตูอยูระหว่าง 0.40 – 1.00 เมตร ขึ้นอยูกบขนาดของคาน ๊ ่ และความแข็งแรงของแบบท้องคาน ่ 2. การตั้งแบบคานประกอบพื้น ข้อสําคัญอยูที่การตอกไม้ที่ทาคานและวางตง โดยอาศัยแบบข้าง ํ คานที่ต้ งแล้วรับแทนเสานังร้าน จึงมาใช้คานไม้ 1 ½ x 3 นิ้ว หรื อไม้ 2 x 4 นิ้ว ตามความจําเป็ นสําหรับตงที่ ั ่ วางจะใช้ไม้ขนาด 1 ½ x 3 นิ้ว วางห่างกัน 0.30 เมตร และกรุ ผวแบบรองให้พนด้วยไม้อดหนา 8 มิลลิเมตร ิ ิ้ ั (5) งานหล่อคอนกรีตคาน การนําคอนกรี ตเทลงแบบเป็ นเทคนิคสําคัญ แม้รู้หลักการแต่ขาดประสบการณ์และความชํานาญ อาจเทคอนกรี ตเป็ นโพรงได้ท้ งที่เป็ นโครงสร้างขนาดใหญ่ ั -การเทและการเขย่ าคอนกรีต 1. การถอดแบบ ถอดตะปูออกก่อน นําไม้วางเรี ยงไว้ใช้ตอไป และทําการตีไม่ค้ ายัน 2-3 ตัว ออก ํ จากการคํ้า และตีสะพานรับคํ้ายันด้วย จะใช้หวค้อนหรื อปากแบนของชะแลงสอดลงไปตามรอยที่ร้าวนั้น ั ค่อยๆสอดลึกลงไป งัดแบบเบาๆ 2. การบ่มคอนกรี ต เมื่อถอดแบบเสร็ จ ควรใช้กระสอบชุบนํ้าคลุมผิวให้ทว และฉีกนํ้าเมื่อ ่ั การะสอบที่คลุมแห้ง การบ่มเพื่อให้การก่อนตัวของคอนกรี ตเป็ นไปอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะช่วง อายุ 2 – 7 วัน ความแข็งแรงของคอนกรี ตจะเพิมสูงด้วยการควบคุมความชื้น และให้ความชื้นแก่เมล็ดซีเมนต์ ่ ่ ที่ยงค้างการทําปฏิกิริยาอยูอีก ทําให้ทาปฏิกิริยาได้ครบถ้วนตลิด 14 วัน ควรได้รับการบ่มอย่างถูกต้องและ ั ํ ํ ให้ความชื้นแก่คานสมํ่าเสมอ คลุมผิวอย่างทัวถึงถึง 28 วัน จึงจะนับว่าคอนกรี ตให้กาลังเพียงพอกับการบ่ม ่ แล้ว งานพื้น งานพื้นนั้นถ้าพิจารณาแล้วมีความสําคัญต่องานอาคาร เราะเป็ นส่ วนให้ประโยชน์แก่ผพกอาศัยหรื อ ู้ ั ผูใช้บริ การโดยตรง เมื่อสร้างพื้นเสร็ จระดับหนึ่งจะแหสดจํานวนชั้นที่ทา เช่น ชั้นที่ 1 ใช้เลข 1 ติดไว้ที่ช้ น ้ ํ ั ่ เท่ากับว่าแสดงให้รู้วางานโครงสร้างอาคารแล้วเสร็ จไป
  • 10. ่ ดังได้ทราบแล้วว่าส่ วนหนาของพื้น 10 – 15 เซนติเมตร จะวางอยูบนหลังคานคอยรับนํ้าหนัก บรรทุกที่ถ่ายลงบนพื้นถ่ายนํ้าหนักต่อเนื่องลงมายังคานและจากคานถ่ายลงเสา เนื่องจากพื้นมีความบาง การ เสริ มเหล็กจึงต้องใช้เหล็กเส้นเล็ก และเสริ มถี่มากขึ้น (1) งานแบบใต้ พน ื้ เป็ นงานระบบวางคาน ตง และพื้น จึงดูไม่ซบซ้อน แต่การทําพื้นให้ได้ระดับและรับนํ้าหนักได้ก่อน ั เทและระหว่างเทคอนกรี ต มักต้องแก้ปัญหาเนื่องจากพื้นแอ่นขณะกําลังเท อาจเนื่องจากการทรุ ดตัวของเสา นังร้านหรื อคานหลุดจากบ่าข้างเสา ่ - เสานั่งร้ านรับพืน ้ 1. เสานังร้านใช้ไม้คร่ าว ่ 2. เสานังร้านโดยใช้เสาเข็มไม้เบญจพรรณ ่ 3. เสาท่อเหล็ก หรื อนังร้านสําเร็ จรู ป ่ - งาน คาน ตง และ พืน ้ 1. งานคาน ปกติใช้ไม้ที่มีขนาดความลึกมาก เช่น ไม้ 1 x 6 นิ้ว หรื อ 1 x 8 นิ้ว แต่ในการนําคานวาง บนเสานังร้านที่ห่างกันประมาณ 1.00 – 2.00 เมตร จะเป็ นโครงนังร้านสําเร็ จรู ปหรื อจะ ่ ่ เป็ นโครงนังร้านเสาท่อเหล็ก ่ 2. งานตง เป็ นตัวไม้ที่เล็กกว่า แต่อาศัยการพาดบนหลังคานด้วยระยะห่ างระหว่า 0.30 – 0.60 เมตร สําหรับพื้นไม้อดที่จะวางบนหลังตงเพื่อเป็ นแบบรองคอนกรี ตสดที่หล่อนั้น จะมี ั นํ้าหนักตอลดหน้าของพื้นเป็ นนํ้าหนักเฉลี่ย การวางตงให้หลังตงเสมอกัน จะทําให้ปู พื้นไม้อดได้เสมอกันและระดับไปด้วย ั 3. งานพื้น พื้นรองด้วยไม้อดหรื อรองด้วยแบบเหล็ก จะวางบนหลังตงเช่นเดียวกัน และเมื่อถอด ั แบบลงแล้วท้องพื้นจะเรี ยบ แต่ถาใช้ตะปูดวยไม้แบบ 1 x 8 จะเป็ นรอยต่อแผ่นไม้เป็ น ้ ้ เส้นตลอดความยาวของการปูไม้แบบ อาจทําให้ฮาบปูนท้องพื้นได้ง่ายกว่ารองแบบให้ ท้องพื้นเรี ยบ
  • 11. (2) งานเทคอนกรีตพืน ้ 1. การเทคอนกรีตพืนบนพืนทรายอัดแน่ น ้ ้ ปกติจะมีการหล่อคานคอดินเสร็ จก่อน แล้วจึงถมทรายหรื อถมดินให้แน่น เจตนาของวิศวกรต้องกา ให้พ้ืนดินช่วยรับนํ้าหนักบรรทุกบนพื้น อย่างไรก็ตามการถมดินหรื อทราย ควรให้มีความแน่นพอสมควร มิฉะนั้นอาจเกิดปัญหาใต้พ้นอาจ ื เป็ นโพรงเมื่อดินทรุ ดตัวลง จะเป็ นที่ขงของนํ้าใต้ดิน พื้นจะเกิดความเสี ยหายได้ในภายหลัง ั การนําทรายเป็ นแบบรองรับคอนกรี ต ทรายควรมีความแน่นพอสมควร ให้ปาดผิวหน้าของทรายให้ เรี ยบก่อนวางเหล็กตะแกรง การเสริ มเหล็ก 2 ชั้น ควรหนุนเหล็กด้านล่างด้วยลูกปูน ก่อนเทคอนกรี ตควร ปาดแต่งผิวทรายอีกครั่งแลละฉี ดนํ้าที่ผวทรายให้เปี ยก ผิวทรายจะได้ไม่ดูดซึมนํ้าจากคอนกรี ต และทรายจะ ิ มีความแน่นพียงพอ -การเทคอนกรีตบนพืนแบบหล่ อ ้ อาจเป็ นพื้นไม้แผ่นหรื อพื้นไม้อด หรื อ พื้นแผ่นเหล็กนํามาเรี ยงต่อกัน ผิวพื้นจะต้องเรี ยบได้ระดับ ั ทาผิวแบบด้วยนํ้ามันเครื่ องบางๆ มีการตั้งแบบที่แข็งแรงรองรับด้วย ตง คาน และเสา พื้นแบบหล่อดังกล่าว อาจมีปัญหาเรื่ องผิวแบบรั่วตอนรอยต่อของแบบแผ่นเล็ก ถ้าไม้แผ่นรอยรั่วมาก อาจราดนํ้าให้ไม้แบบ ่ ขยายตัวทําให้ร่องระหว่างแผ่นไม้แคบลงร่ องแบบจะมีมากเพียงใดอยูที่ความสามารถจองช่างไม้ที่จะเรี ยง และอัดไม้แบบ รวมทั้งไม่ทิ้งแบบให้หดตัว ควรเทคอนกรี ตภายหลักการผูกเหล็กตะแกรงพื้นแล้วเสร็ จ การ ทิ้งแบบไว้ 4- 5 วัน จะทําให้มีปัญหาการหดตัว งานบันได (1) งานแบบหล่ อบันได การตั้งแบบบันไดจะทําภายหลังการเทพื้นชั้นล่างและชั้นบนแล้ว สอดเหล็กเสริ มบันไดในแนวที่จะ ั ตั้งบันไดฝากไว้กบคาน การทํางานบนพื้นที่หล่อคอนกรี ตแล้ว จะทําให้การตั้งแบบได้รับความสะดวกและ สามารถวัดระยะให้ถูกต้องได้ง่าย (2) การตั้งแบบท้ องบันได เนื่องจากเป็ นบันไดท้องเรี ยบ บางชนิดท้องบันไดจะขนานตามขั้นบันไดทุกประการ การตั้งแบบจะ ให้ยกขึ้นเป็ นใต้ข้ นตั้งและใต้ข้นนอนเช่นเดียวกัน สําหรับบันไดท้องเรี ยบใช้ระบบการวางเสา คาน ตง และ ั ั
  • 12. ปูพ้ืนเหมือนกับแบบหล่อพื้นหล่อคอนกรี ตธรรมดา เพียงแต่จะเอียงตามมุมหรื อตามขั้นของบันไดกําหนด ลําดับขั้นตอนมีดงนี้ ั -การตั้ งเสานังร้าน ่ -การวางคาน -การวางตง -การปูพ้นท้องพื้นบันได ื -การวางแบบข้างบันได -การตั้ งไม้บงขั้น ั (3) งานเสริมเหล็กบันได การเสริ มเหล็กในบันไดมีลกษณะคล้ายพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ประกอบด้วยเหล็กตะแกรงล่างและ ั ่ ั เหล็กตะแกรงบน เป็ นการเสริ มเหล็กทางเดียว หัวพื้นบันไดจะพาดอยูกบคานรับระดับใต้พ้ืนชั้นล่าง และ คานรับระดับใต้พ้ืนชั้นบน (4) งานหล่ อคอนกรีตบันได เมื่อได้ต้ งแบบและเสริ มเหล็กบันได ตรวจสอบความแข็งแรงของแบบขนาดของลูกขั้นทั้งระยะลูก ั ตั้ง และระยะลูกนอน การตั้งแบบรับพื้นบันได ติดตั้งไม้แผ่นบังโดยยึดด้วยคานยึดพุกบังขั้นอย่างแข็ง พอที่จะรับแรงดันของคอนกรี ต งานก่ออิฐฉาบปูน (1) เทคนิคการก่อและฉาบ -ทุกรอยต่ อทางตั้งและนอน โดยเฉลี่ยจะไม่ควรให้เห็นเป็ นรู ในผนังก่ออิฐ การดันอิฐ หรื อตอก หลังอิฐจะทําให้ปูนก่ออัดตัวแน่น ไม่เคาะจนปูนทะเล้นออกมาก -ก่อให้ ได้ แนวเชือกเอ็น ปกติแต่ละช่วงเสาจะใช้เชือกเอ็นขึงเป็ นแนวสําหรับเป็ นแนวในการก่ออิฐ ตรงแนวเชือก ช่างที่ไม่ชานาญมักขึงทีละ 4 -5 เส้น ทําให้ตองประมาณแนวผนังด้วยสายตา จะเกิดความ ํ ้ ผิดพลาดผนังอาจเว้าเข้าหรื อยืนออกเกิดจากการประมาทของช่างก่ออิฐ ่
  • 13. -รอยต่ อระหว่ างปูนมีความหนาใกล้เคียงกัน รอบปูนก่อทั้งในแนวตั้งและนอน ควรมีความหนา ใกล้เคียงกันระหว่าง 1-1.5 เซนติเมตร -อิฐทีนํามาก่ อควรชุ่ มนํา เพือไม่ให้อิฐดูดนํ้าจากปูนก่อ แต่ถาแช่อิฐให้อิ่มนํ้าช่างก่อจะไม่ชอบ ่ ้ ่ ้ ่ เพราะจะทําให้ปูนเหลวอยูนาน 2. งานฉาบปูน -ทํามุมเสามุมคาน บางทีเรี ยกจับเซี้ยม เฉพาะตอนมุมเสาต้องทําการตรวจขนาดเสากําหนดความ หนาที่จะฉาบและแนวของเสาทั้งแนวของเสาให้ตรงกัน -ฉาบบนผิวคอนกรีต -ฉาบผิวก่ ออิฐ -ฉาบตอนมุมให้ ได้ ฉาก
  • 14. โครงสร้ างหลังคา ดาดฟ้ า ็ ั อาคารสูงขนาดใหญ่โดยส่ วนมากจะไม่มีวสดุประเภทมุงหลังคา ถ้ามีกจะเป็ นโครงเหล็กถักขนาดใหญ่ เนื่องมาจากอาคารอาจจะมีพ้นที่กว้าง แต่ในที่น้ ีทาเป็ นดาดฟ้ า ื ํ ่ ดาดฟ้ าไม่ได้มีอะไรแตกต่างไปจากชั้นอื่นของตัวอาคารหรื อบางครั้งก็ไม่ได้อยูในประเภทโครงสร้างหลังคา เลยก็ได้ เพราะดาดฟ้ าคือชั้นบนสุ ดของอาคารหลังนั้น ที่แตกต่างกับชั้นต่างๆของตัวอาคารก็คือ ส่ วนของเสา และคาน เนื่องจากดาดฟ้ าเป็ นชั้นสุ ดท้ายทําให้ไม่ตองมีเสาต่อขึ้นไปอีก ้ ดาดฟ้ าโดยส่ วนมากบางครั้งเป็ นที่ต้ งของงานระบบต่างๆ เช่นมีถงเก็บนํ้าหรื อแท้งนํ้าเพือปั้มนํ้าให้ภายใน ั ั ่ อาคาร ระบบดึงของลิฟต์ และแม้กระทังมิเตอร์น้ า มิเตอร์ไฟที่มกพบเห็นในประเภทอาคารอาพาธเม้นท์ แต่ ํ ั ่ ดาดฟ้ าจะพบปั ญหามากในเรื่ องการรั่วซึมจากนํ้าฝนที่ตกลงมา และเกิดการขัง โครงเหล็กถัก โครงถัก (Truss) คือโครงสร้างซึ่งประกอบขึ้นโดยการยึดปลายทั้งสององค์อาคารเส้นตรงต่อกันเพื่อส่ งแรง ผ่านระหว่างองค์อาคาร โดยอาจยึดติดกันโดยการเชื่อมหรื อใช้สลักเกลียว โครงสร้างที่นิยมทําเป็ นโครงถัก ได้แก่ สะพาน และ โครงหลังคา - รู ปแบบโครงถัก ่ โครงถักแบบโฮว์ (Howe Truss) จันทันเอียงเป็ นจัวสองข้างเท่ากัน ขื่ออยูในแนวราบ มีท่อนยึดดิ่ง ระยะห่ าง ่ เท่ากัน และมีท่อนยึดทแยงเอียงลงเข้าหากึ่งกลางช่วง โดยมีรูปร่ างตามช่วงความยาวที่ เพิ่มขึ้นดังในรู ป โครงถักแบบโฮว์ ยกระดับ มักนิยมในโครงหลังคาช่วงยาวเช่นในโรงงานหรื อโกดังเก็บสิ นค้า โครงถักคอร์ ดเอียงขนาน ขื่อจะเอียงขนานกับจันทัน ทาให้มีช่องว่างความสูงมากขึ้น โครงถักแบบเอียงต่ างมุม (Dual Pitch) มักใช้เป็ นหลังคาอาคารตึกแถว โดยเอียงชันทางด้านหน้า แล้วลาดเท ลงยาวด้านหลัง โครงถักแบบโค้ ง (Curved Truss) นิยมมากขึ้นในปัจจุบนเนื่องจากมีการใช้แผ่นเหล็กรี ดรอนมุง หลังคาซึ่ง ั สามารถดัดโค้งได้
  • 15. งานระบบ และงานตกแต่ ง ระบบสุ ขาภิบาล ระบบสุ ขาภิบาลในบ้าน ประกอบไปด้วย ระบบประปา, ระบบท่อระบายน้า ทิ้ง, ระบบท่อระบาย อากาศ, ระบบระบายน้า ฝน และระบบบําบัดนํ้าเสี ย เป็ นต้น ดังนั้นนักออกแบบที่ดีการเลือกใช้วสดุอุปกรณ์ ั ที่เหมาะสม การติดตั้งที่ถูกต้องจึงเป็ นเรื่ องสําคัญ มากสามารถควบคุมและตรวจสอบงาน - ส่ วนประกอบของนําเสี ย ้ 1. นํ้าทิ้ง 2. นํ้าโสโครก 3. นํ้าฝน 4. นํ้าทิ้งพิเศษ - กรรมวิธีการผลิตนําประปา มีวิธีการทําอยู่ 3 ขั้นตอนหลักดังนี้ ้ 1.การตกตะกอน 2.การกรอง 3.การฆ่าเชื้อโรค - การตรวจคุณภาพ 1.การตรวจสี ่ 2.การตรวจความขุน 3.การตรวจกลิ่นและรส 4.การตรวจค่า pH 5.การตรวจความกระด้าง
  • 16. ระบบไฟฟ้ า ั การตรวจและควบคุมงานระบบไฟฟ้ าอาคาร ระบบไฟฟ้ าที่ใช้กบอาคารนั้นมีการแบ่งขอบเขต ของการควบคุมและตรวจสอบออกเป็ นระบบย่อย เพื่อสะดวกในการตรวจสอบดังนี้ วิธีการเดิน สายไฟฟ้ า แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ 1) การเดินสายไฟบนผนังหรื อ (แบบเดินลอย) การเดินสายไฟแบบ นี้จะมองเห็นสายไฟ อาจทา ให้ดูไม่เรี ยบร้อย ไม่สวยงาม หากช่างเดินสายไฟไม่เรี ยบตรง ยิงจะเสริ ม ่ ้ ให้ดูไม่เรี ยบร้อย ตกแต่งห้องให้ดูสวยงามยาก มีขอดีที่ค่าใช้จ่ายถูกกว่าแบบฝังในผนัง สามารถ ตรวจสอบและซ่อมแซมได้ง่าย 2) การเดินแบบฝังในผนังเป็ นการเดินสายไฟโดยร้อยสายผ่านท่อ สายไฟซึ่งฝังในผนังอาคาร ทา ให้ดูเรี ยบร้อยและตกแต่งห้องได้ง่าย เพราะมองไม่เห็นสายไฟจาก ภายนอก การเดินท่อร้อยสายต้องทา ควบคู่ไปพร้อมการก่อ-ฉาบ - ข้ อแนะนาในการออกแบบระบบวงจรไฟฟาภายในบ้ าน ้ ระบบวงจรไฟฟ้ าภายในบ้าน ควรแยกวงจรควบคุมพื้นที่ต่างๆ เป็ นส่ วนๆ เช่น แยกตามชั้นหรื อแยกตาม ประเภทของการใช้ไฟฟ้ า ทา ให้ง่ายต่อการซ่อมแซมในกรณี ไฟฟ้ าขัดข้อง ระบบป้ องกันอัคคีภย ั - สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย 1.ระบบไฟฟา การเกิดอัคคีภยส่ วนใหญ่มกกล่าวอ้างว่าเกิดจากไฟฟ้ า เช่น ไฟฟ้ าลัดวงจร หม้อแปลงไฟฟ้ า ้ ั ั ระเบิด 2.ความประมาท เกิดการไม่รักษาระเบียบและข้อบังคับของสถานที่ 3. การเสี ยดทาน มักเกิดขึ้นได้จากส่ วนของเครื่ องจักรที่ขาดการดูแลบํารุ งรักษาด้วยวิธีที่ถูกต้อง หรื อทิ้งการ ปฏิบติไป ั 4. การสั มผัสเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ไฟฟา เช่น ความร้อนจากท่อไอเสี ยของเครื่ องจักร ท่อลมร้อน หม้อไอ ้ นํ้า จะมีความร้อนถึงอุณหภูมิซ่ ึงทําให้เกิดไฟลุกไหม้ข้ นได้ ึ 5. การเผาไหม้ เอง สารเคมีบางชนิดเมื่อหกรดกันทําให้เกิดการลุกไหม้ข้ ึนเอง เมื่อไปติดเชื้อเพลิงจะทําให้เกิด การลุกเป็ นไฟ ยากที่จะระงับในเวลาอันรวดเร็ ว 6.การใช้ ความร้ อนเกินขนาด เมื่อเครื่ องควบคุมความร้อนอัตโนมัติเกิดชํารุ ด สวิตซ์ไม่ตดไฟ ั
  • 17. 7. ความร้ อนหรือประกายไฟ จากการเชื่อมโลหะหรื อหลอมโลหะ เตานํ้ามัน เตาอบ บางครั้ง เกิดจากการ ความรู ้เม่าไม่ถึงการณ์ เช่น ทําการมาสี ในบริ เวณใกล้เคียงทําให้ทินเนอร์เกิดติดไฟขึ้นได้ ่ 8.ไฟฟาสถิต มักเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่ตองหมุนเพลา ทําให้เกิดคาร์บอนลอยตัวอยูใน ้ ้ บรรยากาศ ถ้าบริ เวณนั้นมีความชื้นตํ่าหรื อแห้งก็อาจมีการสะสมไฟฟ้ าสถิตถึงขั้นทําให้เกิดการจุดติดไฟลุก ไหม้ข้ ึน - วิธีปองกันอัคคีภัย ้ 1.การออกแบบอาคาร โดยเฉพาะสถาปนิกควรให้ความรอบคอบในการเลือกวัสดุที่ใช้ในการ ก่อสร้าง วัสดุที่เก็บไว้ในอาคาร ทางหนีไฟ และควรแสดงที่ต้ งของท่อนํ้าประปาที่ใช้ในการดับเพลิง ั 2.ติดตั้งอุปกรณ์ ดับเพลิงชั้นต้ น เลือกติดตั้งอุปกรณ์ที่เห็นได้ง่าย สามารถถอดไปใช้ได้อย่าง รวดเร็ ว 3.แสดงแพนผังอาคาร ในแผนผังระบุตาแหน่งที่ติดตั้งอุปกรณ์แต่ละชนิดตามลักษณะของการ ํ เกิดอัคคีภย ให้ผเู ้ กี่ยวข้องและผูที่เป็ นยามรักษาการณ์นาไปใช้ได้ มีขอแนะนําให้เข้าใจ หรื อ ฝึ กฝนให้ใช้ ั ้ ํ ้ อุปกรณ์ได้อย่างรวดเร็ ว 4.ต่ อสายไฟเพิมเติม เมื่อต้องการต่อสายไฟฟ้ า ควรใช้เจ้าหน้าที่จากการไฟฟ้ า หรื อช่างไฟฟ้ าต่อ ่ สายไฟฟ้ า จะปลอดภัยมากกว่านําสายไปคล้องหรื อมัดกันอย่างไม่ถูกวิธี เพราะจะทําให้เกิดประกายไฟหรื อ ความร้อนในส่ วนต่อสายที่ไม่กระชับนั้น 5. มีปายบอก โดยเฉพาะสถานที่เก็บนํ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซ หรื อวัสดุไวไฟ จ้องมีป้ายบอก ้ “ห้ามสูบบุหรี่ ” พื้นสี ขาวสูง 7 นิ้ว ติดตั้งไว้ และควรจัดบริ เวณให้เป็ นพื้นที่เฉพาะ ห้ามคนผ่าน 6.ติดตั้งระบบความปลอดภัยอืนๆ ติดตั้งอุปกรณ์ตามตําแหน่งและจํานวนอย่างเหมาะสมกับสภาพ ่ อาคาร โดยเลือกใช้เครื่ องดับเพลิง เครื่ องสู บนํ้าดับเพลิงแบบหาบ หาม หรื อลาก เข็น รถดับเพลิง นํ้ายาเคมี และอุปกรณ์พเิ ศษอื่นๆ - ระบบดับเพลิง 1. ระบบดับเพลิงโดยใช้ สารเคมี แบ่ งได้ เป็ น 6 ชนิด 1.1 เครื่องดับเพลิงชนิดนําธรรมดา ้
  • 18. 1.2 เครื่องดับเพลิงชนิดกรด-โซดา 1.3 เครื่องดับเพลิงชนิดฟองก๊าซ (โฟม) 1.4 เครื่องดับเพลิงชนิดนํายาเหลวระเหย ้ 1.5 เครื่องดับเพลิงชนิดคาร์ บอนไดออกไซด์ เหลว (แบบผสมความดัน) 1.6 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ ง ระบบลิฟต์ -ชนิดของลิฟต์ 1. Traction Elevator เป็ นลิฟต์ที่ใช้ในอาคารตั้งแต่ระดับความสูงกลางๆ ไปถึงสูงมาก ใช้ระบบการลากดึงโดยรอก และใช้ตุม ้ นํ้าหนักเป็ นตัวถ่วงนํ้าหนัก 2. Hydraulic Elevator นิยมใช้ ในอาคารไม่กี่ชน ในความเร็ วที่ตํ่า ั้ -ส่ วนประกอบของลิฟต์ 1. ตูลิฟต์ ้ 2.สายเคเบิล 3.เครื่ องยนต์ลิฟต์ 4. เกียร์ แบ่งเป็ น 2 แบบ 4.1 แบบไม่มีเกียร์ 4.2 แบบมีเกียร์ 5.เบรกแม่เหล็กไฟฟ้ า 5.ตัวจํากัดความเร็ ว
  • 19. 6.ลักษณะการทํางานของลิฟต์ 1. ลิฟต์ไฟฟ้ า เป็ นลิฟต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าเข้ามอเตอร์ดึงห้องลิฟต์ข้ ึนด้วยสายเชือกสลิง ใช้ได้ สําหรับอาคารทุกประเภท โดยเฉพาะอาคารสูงทัวไป มีท้ งระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ และไฟฟ้ ากระแสตรง ั ่ 2. ลิฟต์ไฮดรอลิก เป็ นลิฟต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าเข้ามอเตอร์ ทําให้เครื่ องปั๊มไฮดรอลิกยกลิฟต์ข้ ึน ั ปกติจะใช้กบอาคารสู งไม่เกิน 6 ชั้น เพราะจํากัดความสูงของแกนไฮดรอลิก เนื่องจากลิฟต์มีความเร็วตํ่าแต่มี ้ ราคาแพง มีขอดีคือไม่ตองมีหองเครื่ องโผล่เลยชั้นดาดฟ้ าของอาคาร นํ้าหนักของลิฟต์จะลงที่กนบ่อลิฟต์ ้ ้ ้ โดยตรง ระบบท่อและร้อยท่อ เป็ นหลักการที่นาไปใช้ในการติดตั้งระบบท่อ ไม่วาจะเป็ นนํ้าประปา ท่อนํ้าร้อน ท่อระบายนํ้า ํ จนกระทังท่อส่ งความเย็นและท่อร้อยสายไฟ แบบก่อนสร้างจะระบุเฉพาะการต้องฝังท่อไว้แต่มิได้ระบุ ่ ตําแหน่งหรื อขยายให้เห็นรายละเอียดในการยึดท่อ แขวนท้อ รวมทั้งระบุการใช้อุปกรณ์ หรื อบอกระยะการ เกิดท่อไว้เป็ นการแน่นอน แต่วิศวกรโครงการจะต้องพิจารณาเลือกวิธีฝังท่อ และเลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม กับลักษณะของห้องของอาคาร -การปองกันความปลอดภัยของโครงสร้ าง ้ ในการสร้างอาคารนั้น ระบบโครงสร้างได้แก่ เสา คาน พื้น กําแพง ตัวโครงสร้างแต่ละส่ วนต้องรับ นํ้าหนักของตัวเองและรับนํ้าหนักบรรทุก ถ่ายทอดการรับนํ้าหนักกันลงมา นอกจากนี้ยงต้อง ั ต้านทานต่อแรงลม แรงสันสะเทือนอันเกิดจากการวิ่งของรถยนต์บนถนนและจากแผ่นดินไหว ่ -การเดินท่ อเพือปองกันนําและกันซึม ่ ้ ้ ่ เป็ นการเดินนอนผ่านผนังขอบนอกของอาคารซึ่งจะมีผวด้านหนึ่งอยูภายในและผิวอีกด้านหนึ่งจะ ิ ่ อยูภายนอกอาคาร ส่ วนใหญ่จะเป็ นผนังก่ออิฐหนา แผ่นอิฐฉาบปูนเรี ยบทั้งสองหน้า ภายนอกอาจ ต้องสัมผัสกับฝนหรื อความชื้นอื่นๆ การเดินท่อผ่านชั้นกันซึมกันนํ้าด้วยการใช้มอร์ตาร์ ประกอย ด้วยการเว้นท่อหรื อฝังท่อเหล็กพร้อมคอลลาร์ท่ีเป็ นขอบยกสู ง ใหญ่กว่าปลอกเหล็กเลกน้อยเพือน ่ ั กันนํ้าเข้าส่ วนนี้ ส่ วนที่ระหว่างคอลลาร์กบผิวนอกของท่อจะอุดด้วยปอ โดยรอบท่อแล้วทําการ ั คอล์คคิงด้วยตะกัวปิ ด สําหรับผิวด้านภายนอกอาคารจะฉาบด้วยมอร์ตาร์กนนํ้าและฉาบผิวหน้า ่ เรี ยบภายนอกอีกครั้ง