SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
Back to the Natural Resource
นโยบายการพัฒนาอนาคตเมือง
แผนชาติที่ต้องชัดเจน
คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ
พัฒนาเมืองบนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อนําพาเมืองสู่เมืองสีเขียว เมืองน่าอยู่
เมืองที่ยั่งยืนพร้อมทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าที่
ดํารงอยู่
รศ..ดร. เอกรินทร์ อนุกูล
ยุทธธน
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Strong Statement of Direction …Back to the Natural Resource
นโยบายการพัฒนาอนาคตเมือง
แผนชาติที่ต้องชัดเจน
แผนปฏิบัติการที่ต้องชัดเจน คืนสู่
ทรัพยากรธรรมชาติพัฒนาเมืองบนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อนําพาเมืองสู่เมืองสีเขียว เมืองน่าอยู่
เมืองที่ยั่งยืนพร้อมทรัพยากรธรรมชาติ
•แผนการใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด
อนุรักษ์- ฟื้นฟูรักษา-พัฒนาอย่างยั่งยืน
•จัดลําดับศักดิ์พื้นที่อย่างเหมาะสม
วางระเบียบการใช้พื้นที่อย่างยั่งยืน
•ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้
พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย สร้างเมืองสะอาด
•วางระบบการเดินทางในเมืองที่สะอาด
ประหยัด รวดเร็ว และปลอดภัย
•อนุรักษ์พื้นที่วิถีวัฒนธรรมให้สมดุล
กับสัดส่วนการพัฒนาเมือง
• การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง
การพิทักษ์ทรัพยากรต้นทุนของชาติ และท้องถิ่น
•การอนุรักษ์พื้นที่ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม และ
แหล่งธรรมชาติของพื้นที่ เพื่อเป็นสัญลักษณ์
และมรดกสืบต่อไป recognition of cultural
Heritageการเคารพซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่น
•จําแนกและลําดับศักดิ์การใช้ประโยชน์พื้นที่ให้
เหมาะสมและตอบรับกับลักษณะการใช้งานอย่าง
เป็นระบบ Zoning Ordering Hierarchy of
land value Land Sharing Good
Governance
จัดเตรียมระบบโครงสร้างพื้นฐานอย่างมี
ประสิทธิภาพถนน เส้นทางคมนาคมหลัก รอง
ระบบระบายนํ้า สาธารณูปโภคพื้นฐานต่างๆ
ฯลฯ Green Infrastructure- Urban green
Mobility- Green Logistic
พื้นที่ว่างและพื้นที่สีเขียวคุณภาพเพื่อคุณภาพ
ชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีของเมือง Green
Environment- Eco Green City
Sustainable City.
•Environment
•Urban Public Facilities
•Land use Ordering
•Heritage preservation
• นํ้า...นํ้า....แผ่นดิน.....ถิ่นที่ตั้ง......และผังเมือง
บริบทที่ประชาชนคนรุ่นใหม่ ต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา
•แผ่นดิน ผืนนํ้า
ทรัพยากรต้นทุน
•ทรัพยากรต้นทุน มรดก
ทางธรรมชาติ •ผังเมือง ผังชาติ มาตรการกา
จัดการทรัพยากร
• สังคมใดที่สามารถดูแลรักษาทรัพยากรต้นทุนของตนไว้ได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย
การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างเป็น
ระบบ จะเป็นสังคมที่มั่งคั่งและเข้มแข็งด้วยพื้นฐานของทรัพยากรต้นทุนที่มีอยู่
• จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม
Land use
Ordering
Infrastructure Public Facilities
•Local Heritage
Preservation
•Land use
Ordering
•Urban Design
Urban Utilities
นํ้า....ทรัพยากรธรรมชาติอันมีคุณสมบุติเป็นสะสารที่เกิดจากการกลั่นตัวของกลุ่มเมฆ
เปลี่ยนอุณหภูมิในบรรยากาศให้กลายสภาพกลับมาในรูปของหยดนํ้าและนํ้าฝน
•แหล่งนํ้าธรรมชาติแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศ
240496 Selected Topic
Planning for Eco Community Preservation
Lecture 4 : Principle of Eco-Planning
for Sustainable Eco Community
18 january 2012 Eggarin Anuk.
GREENING OUR COMMUNITYGREENING OUR COMMUNITY
• Avoid the Point source
•Reduce Air Pollution
•Use less car
•Providing
green walkway
•Providing green
Mass transit
•Stop jerry Built / un sustain
•Stop abusing the regulation
•Stop boring the Environment
•Stop spoiling the energy
NATIONAL AGENDA
• นโยบายชาติด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน
•การอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ
•การจัดระเบียบการใช้ที่ดินอย่างรู้คุณค่าและเหมาะสม
•นโยบายการพัฒนาเมืองที่สมดุล
•ทรัพยากรต้นทุนที่ต้องคง
อยู่
•การจัดลําดับศักดิ์ทรัพยากรดิน
• Land Resource Hierarchy Classification
Land Resource Ratio Classification
to Create an appropriate land repartition with equity and fairness
2
แต่ละท้องถิ่นจะมีทรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพยากรต้นทุนที่แตกต่าง
กันออกไปท้องถิ่นจึงต้องรู้จักทรัพยากรของตนให้ชัดเจน และจัดทํา
แผนการใช้ทรัพยากรอย่างรอบคอบ ด้วยหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
•การจัดลําดับศักดิ์ทรัพยากร
• Land Resource Hierarchy Classification
Land Resource Ratio Classification
to Create an appropriate land repartition with equity and fairness
ท้องถิ่นจะสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติต้นทุนของ
ตนอย่างน่าเสียดายเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ
ต้องใช้เวลาในการก่อรูปและเจริญพันธุ์มานับหลาย
ช่วงอายุคน แต่การทําลายหรือการใช้ประโยชน์
ใช้เวลาเพียงน้อยนิด ทรัพยากรต้นทุนก็สามารถ
จบอายุการให้ประโยชน์ลงได้ ณ ชั่วเวลานั้นๆ
จัดทําแผนการใช้ทรัพยากรจึงมีความสําคัญอย่าง
ยิ่งยวด และจะเป็นหลักปะกันในความคงอยู่อย่าง
ยั่งยืนต่อไป
ผลที่จะตามมาเมื่อพื้นที่ป่าถูกบุก
รุกถูกทําลาย ขาดการอนุรักษ์
•การทําลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ
ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์
• Land Resource Hierarchy Classification
Un Balance of Land Resource Ratio …Impact
Create a huge disaster and damage the real value resource
3
ท้องถิ่นจะสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติต้นทุนของ
ตนอย่างน่าเสียดายเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ
ต้องใช้เวลาในการก่อรูปและเจริญพันธุ์มานับหลาย
ช่วงอายุคน แต่การทําลายหรือการใช้ประโยชน์
ใช้เวลาเพียงน้อยนิด ทรัพยากรต้นทุนก็สามารถ
จบอายุการให้ประโยชน์ลงได้ ณ ชั่วเวลานั้นๆ
จัดทําแผนการใช้ทรัพยากรจึงมีความสําคัญอย่าง
ยิ่งยวด และจะเป็นหลักปะกันในความคงอยู่อย่าง
ยั่งยืนต่อไป
ผลที่จะตามมาเมื่อพื้นที่ป่าถูกบุก
รุกถูกทําลาย ขาดการอนุรักษ์ การบุกรุกเผาป่าทําลายทรัพยากรป่าไม้
ทําลายพื้นที่ป่ายึดดิน นํ้าป่าหลากกัดเซาะตลิ่ง
ป่าเสียหายระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงขาดสมดุล
• บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล
• เมืองเป็ นเสมือนพื้นที่ที่ไม่มีวันหยุดนิ่ง มี
การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากการ
ขยายตัวของเมือง การเพิ่มของประชากร
และความต้องการด้านการใช้พื้นที่ จึงมี
ความจําเป็นที่จะต้องมีกฎระเบียบเพื่อกํากับดูแล
ให้เกิดการจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ปราศจากการสูญเสียโดย
ไม่จําเป็ น และสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของ
ประชาชนเป็นสําคัญ
• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองใน
ประเทศไทย
• พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484
• ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
• พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
• พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
• พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
• พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์ 2530
• พระราชบัญญัติการขุดดินและการถมดิน พ.ศ.
2543
• พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543
• พระราชบัญญัติการจัดรูปที่ดิน พ.ศ. 2547
_4
• ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ในเมืองEnvironment
Land use Ordering
Infrastructure Public
Facilities
Local Heritage Preservation
•Land use Ordering
•แก้ไขปัญหาความหนาแน่นด้านจราจร
•การวางระบบเครือข่ายคมนาคมที่มี
ประสิทธิภาพช่วยให้เมืองประหยัดพลังงาน
และงบประมาณ
ผังเมืองเฉพาะ
การจัดระเบียบเฉพาะพื้นที่
leading to the Green City
เป้ าหมาย และนโยบายชาติที่ต้องชัดเจน
มุ่งหน้าสู่ความเป็นเมืองสีเขียว
• การพัฒนาเมืองด้วยหลักการพัฒนาสีเขียว
ประหยัดพลังงาน สะอาดบริสุทธิ์ ไม่ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม ไม่สิ้นเปลืองพลังงาน
• พื้นที่เมืองบริวารรอบ Bordeaux
เน้นการอนุรักษ์ระบบนิเวศธรรมชาติ
เพื่อคุณภาพชีวิต ทะเลสาบเพื่อเป็ น
พื้นที่หน่วงนํ้า พื้นที่ป่าสมบูรณ์เพื่อ
เป็ นพื้นที่คายออกซิเจนให้กับเมือง
และอนุรักษ์พื้นที่สีเขียววัฒนธรรม
•ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้น
ที่ว่าง
LRR Land Resource Ratio
• ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด
• เสริมพื้นที่สีเขียว 50%
ของพื้นที่แปลงที่
• ส่งเสริมการเดินทางที่สะอาด
ปลอดมลพิษ
•ทุกแปลงที่พักอาศัย ต้องมีพื้นที่
สีเขียวหน่วงนํ้า เท่ากับค่า
G.A.C.
•สร้างแนวคลองส่ง
นํ้าเชื่อมแม่นํ้า
•ขยายทะเลสาบรับนํ้าเพื่อป้ องกัน
นํ้าท่วมและหน่วงนํ้า
• พัฒนาเมือง..บนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน ..อนุรักษ์
ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ
•อนุรักษ์แหล่งนํ้าธรรมชาติ รักษา
ระบบนิเวศทางนํ้า
•ขยายร่องนํ้าเพื่อการระบายนํ้า และ
เพิ่มพื้นที่รับนํ้า
•อนุรักษ์พื้นที่เกษตร รักษาวิถี
วัฒนธรรมชุมชน
• อนุรักษ์แผ่นดินเพื่อรักษาวิถี
วัฒนธรรมแห่งตน
สร้างเมืองของเราให้น่าอยู่...ด้วยบริบทของเราเอง
•การสร้างสมดุลของเมืองน่าอยู่
• อนุรักษ์พื้นที่ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์
เสริมสภาพพื้นที่สีเขียวให้เท่าเทียมกับพื้นที่ก่อสร้าง
เมือง เพื่อสมดุลด้านสิ่งแวดล้อม สร้างพื้นที่รับนํ้า
และอนุรักษ์แหล่งนํ้าเพื่อการบริโภคและการเกษตร
อนุรักษ์พื้นที่แหล่งอาหารและพื้นที่ระบบนิเวศเขต
เมืองเพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่ดี
•case Study : Inchon Port &Logistic
City
National Agenda for Development
Plan
SOD- Statement of Direction
•โซนพื้นที่พักอาศัยสมัยใหม่ ในลักษณะอาคารชุดที่ได้มาตรฐานเพื่อคุณภาพความ
เป็นอยู่ที่ทันสมัย พร้อมสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพสมเป็นเมืองอัจฉะริยะที่ทันสมัย
•case Study : Inchon Port &Logistic
City
National Agenda for Development
Plan
SOD- Statement of Direction
การมีส่วนร่วมในระดับนานาชาติ เปิดโอกาส
ให้มีการประกวดแบบระดับนานาชาติ
•การเปิ ดโอกาสให้บริษัทออกแบบต่างชาติเข้าร่วม
ประกวดแบบและเสนอแนวคิดในการออกแบบแบบเปิดกว้าง
•case Study : Inchon Port &Logistic
City
National Agenda for Development
Plan
SOD- Statement of Direction
Daejeon เมืองพี่เลี้ยง รองรับการขยาย
ตัวของส่วนราชการจากเมืองหลวงและ
เป็นเมืองพี่เลี้ยงให้แก่เมืองใหม่ Inchon
•Inchon เมืองใหม่บริวาร เมืองใหม่
อัจฉะริยะสมบูรณ์แบบ Compact Smart
City เชื่อมโยงกับเมืองพี่เลี้ยง Daejeon
เมืองใหม่บริวารเพื่อรองรับการขยายตัว
ของส่วนราชการที่ย้ายมาจากกรุงโซล เปิด
พื้นที่ส่วนราชการใหม่ที่มีประสิทธิภาพ
สร้างพื้นที่ทําการและการลงทุนใหม่
พื้นที่พักอาศัยใหม่ที่มีคุณภาพ
พื้นที่ธุรกิจบริการและพื้นที่พักผ่อน
เมืองต้นแบบที่มีคุณภาพ
การประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง ตามความต้องการของประชาชน
•การประเมินคุณค่าองค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม
• R = ต้องการ
LR = ต้องการน้อย
VR = ต้องการมาก
HR = ต้องการมากที่สุด
พื้นที่ธุรกิจ การเดินทางสาธารณะ พื้นที่สีเขียว พื้นที่แหล่งอาหาร สวนสาธารณะ ทางเลือกการเดินทาง
พื้นที่พักอาศัย
พื้นที่ธุรกิจ
พื้นที่สํานักงาน
พื้นที่การศึกษา
พื้นที่ศาสนสถาน
• องค์ประกอบหลักและรองในพื้นที่แต่ละพื้นที่ มีระดับ
ความสําคัญแตกต่างกันออกไป หากองค์ประกอบหนึ่ง
องค์ประกอบใดมีเกณฑ์ตํ่ากว่ามาตรฐานจําเป็นต้องเสริม
มาตรการอื่นเพิ่มเติม เพื่อปรับระดับให้ได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด
ตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ
• การประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง
มลภาวะด้านฝุ่นละออง มลภาวะด้านความหนาแน่น มลภาวะด้านคุณภาพเสียง
ระดับรุนแรง ระดับหนาแน่นมาก ระดับรบกวนมาก
•แนวทางการแก้ไข ด้านระบบนิเวศ
เพิ่มไม้พุ่มกรองฝุ่น แทรกพื้นที่สีเขียว เสริมไม้พุ่มใบหนา
ลดความหนาแน่น เพื่อกรองเสียงระดับพื้น
•แนวทางการแก้ไข ด้านการออกแบบ
การออกแบบโดยเพิ่มภูมิทัศน์
ไม้ทรงหนาใบละเอียด ลดความหนาแน่น
ด้วยสระนํ้า
วางแนวไม้พุ่มดูดซับเสียง
ปลูกสลับแนวแถวหนา
แนวทางแก้ไขด้านการปรับสภาพพื้นที่
การปรับสภาพพื้นที่ ปรับพื้นที่ด้วยสระจําลอง ปรับพื้นที่ทําเนินกันเสียง
ปลูกไม้พุ่มและไม้ใหญ่ กั้นความหนาแน่นในพื้นที่ ปลูกไม้พุ่มกรองเสียง

More Related Content

What's hot

หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีFURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติaonzaza123
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกพัน พัน
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 

What's hot (7)

หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรี
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมืองThammawat INTACHAKRA
 
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Viewers also liked (20)

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
Ppt charuaypon 130
Ppt charuaypon 130Ppt charuaypon 130
Ppt charuaypon 130
 
TPA Catalogue 2013
TPA Catalogue 2013TPA Catalogue 2013
TPA Catalogue 2013
 
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
 

Similar to PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง

โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติPim Untika
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติพัน พัน
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติวรรณา ไชยศรี
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resourcesPakarattaWongsri
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Similar to PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง (20)

โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
04
0404
04
 
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resources
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง

  • 1. Back to the Natural Resource นโยบายการพัฒนาอนาคตเมือง แผนชาติที่ต้องชัดเจน คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาเมืองบนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนําพาเมืองสู่เมืองสีเขียว เมืองน่าอยู่ เมืองที่ยั่งยืนพร้อมทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าที่ ดํารงอยู่ รศ..ดร. เอกรินทร์ อนุกูล ยุทธธน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 2. Strong Statement of Direction …Back to the Natural Resource นโยบายการพัฒนาอนาคตเมือง แผนชาติที่ต้องชัดเจน แผนปฏิบัติการที่ต้องชัดเจน คืนสู่ ทรัพยากรธรรมชาติพัฒนาเมืองบนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนําพาเมืองสู่เมืองสีเขียว เมืองน่าอยู่ เมืองที่ยั่งยืนพร้อมทรัพยากรธรรมชาติ •แผนการใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด อนุรักษ์- ฟื้นฟูรักษา-พัฒนาอย่างยั่งยืน •จัดลําดับศักดิ์พื้นที่อย่างเหมาะสม วางระเบียบการใช้พื้นที่อย่างยั่งยืน •ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย สร้างเมืองสะอาด •วางระบบการเดินทางในเมืองที่สะอาด ประหยัด รวดเร็ว และปลอดภัย •อนุรักษ์พื้นที่วิถีวัฒนธรรมให้สมดุล กับสัดส่วนการพัฒนาเมือง
  • 3. • การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง การพิทักษ์ทรัพยากรต้นทุนของชาติ และท้องถิ่น •การอนุรักษ์พื้นที่ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม และ แหล่งธรรมชาติของพื้นที่ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ และมรดกสืบต่อไป recognition of cultural Heritageการเคารพซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของ ท้องถิ่น •จําแนกและลําดับศักดิ์การใช้ประโยชน์พื้นที่ให้ เหมาะสมและตอบรับกับลักษณะการใช้งานอย่าง เป็นระบบ Zoning Ordering Hierarchy of land value Land Sharing Good Governance จัดเตรียมระบบโครงสร้างพื้นฐานอย่างมี ประสิทธิภาพถนน เส้นทางคมนาคมหลัก รอง ระบบระบายนํ้า สาธารณูปโภคพื้นฐานต่างๆ ฯลฯ Green Infrastructure- Urban green Mobility- Green Logistic พื้นที่ว่างและพื้นที่สีเขียวคุณภาพเพื่อคุณภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีของเมือง Green Environment- Eco Green City Sustainable City. •Environment •Urban Public Facilities •Land use Ordering •Heritage preservation
  • 4. • นํ้า...นํ้า....แผ่นดิน.....ถิ่นที่ตั้ง......และผังเมือง บริบทที่ประชาชนคนรุ่นใหม่ ต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา •แผ่นดิน ผืนนํ้า ทรัพยากรต้นทุน •ทรัพยากรต้นทุน มรดก ทางธรรมชาติ •ผังเมือง ผังชาติ มาตรการกา จัดการทรัพยากร • สังคมใดที่สามารถดูแลรักษาทรัพยากรต้นทุนของตนไว้ได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างเป็น ระบบ จะเป็นสังคมที่มั่งคั่งและเข้มแข็งด้วยพื้นฐานของทรัพยากรต้นทุนที่มีอยู่
  • 7. 240496 Selected Topic Planning for Eco Community Preservation Lecture 4 : Principle of Eco-Planning for Sustainable Eco Community 18 january 2012 Eggarin Anuk. GREENING OUR COMMUNITYGREENING OUR COMMUNITY • Avoid the Point source •Reduce Air Pollution •Use less car •Providing green walkway •Providing green Mass transit •Stop jerry Built / un sustain •Stop abusing the regulation •Stop boring the Environment •Stop spoiling the energy NATIONAL AGENDA • นโยบายชาติด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน •การอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ •การจัดระเบียบการใช้ที่ดินอย่างรู้คุณค่าและเหมาะสม •นโยบายการพัฒนาเมืองที่สมดุล •ทรัพยากรต้นทุนที่ต้องคง อยู่
  • 8. •การจัดลําดับศักดิ์ทรัพยากรดิน • Land Resource Hierarchy Classification Land Resource Ratio Classification to Create an appropriate land repartition with equity and fairness 2 แต่ละท้องถิ่นจะมีทรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพยากรต้นทุนที่แตกต่าง กันออกไปท้องถิ่นจึงต้องรู้จักทรัพยากรของตนให้ชัดเจน และจัดทํา แผนการใช้ทรัพยากรอย่างรอบคอบ ด้วยหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
  • 9. •การจัดลําดับศักดิ์ทรัพยากร • Land Resource Hierarchy Classification Land Resource Ratio Classification to Create an appropriate land repartition with equity and fairness ท้องถิ่นจะสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติต้นทุนของ ตนอย่างน่าเสียดายเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ ต้องใช้เวลาในการก่อรูปและเจริญพันธุ์มานับหลาย ช่วงอายุคน แต่การทําลายหรือการใช้ประโยชน์ ใช้เวลาเพียงน้อยนิด ทรัพยากรต้นทุนก็สามารถ จบอายุการให้ประโยชน์ลงได้ ณ ชั่วเวลานั้นๆ จัดทําแผนการใช้ทรัพยากรจึงมีความสําคัญอย่าง ยิ่งยวด และจะเป็นหลักปะกันในความคงอยู่อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลที่จะตามมาเมื่อพื้นที่ป่าถูกบุก รุกถูกทําลาย ขาดการอนุรักษ์
  • 10. •การทําลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์ • Land Resource Hierarchy Classification Un Balance of Land Resource Ratio …Impact Create a huge disaster and damage the real value resource 3 ท้องถิ่นจะสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติต้นทุนของ ตนอย่างน่าเสียดายเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ ต้องใช้เวลาในการก่อรูปและเจริญพันธุ์มานับหลาย ช่วงอายุคน แต่การทําลายหรือการใช้ประโยชน์ ใช้เวลาเพียงน้อยนิด ทรัพยากรต้นทุนก็สามารถ จบอายุการให้ประโยชน์ลงได้ ณ ชั่วเวลานั้นๆ จัดทําแผนการใช้ทรัพยากรจึงมีความสําคัญอย่าง ยิ่งยวด และจะเป็นหลักปะกันในความคงอยู่อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลที่จะตามมาเมื่อพื้นที่ป่าถูกบุก รุกถูกทําลาย ขาดการอนุรักษ์ การบุกรุกเผาป่าทําลายทรัพยากรป่าไม้ ทําลายพื้นที่ป่ายึดดิน นํ้าป่าหลากกัดเซาะตลิ่ง ป่าเสียหายระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงขาดสมดุล
  • 11. • บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล • เมืองเป็ นเสมือนพื้นที่ที่ไม่มีวันหยุดนิ่ง มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากการ ขยายตัวของเมือง การเพิ่มของประชากร และความต้องการด้านการใช้พื้นที่ จึงมี ความจําเป็นที่จะต้องมีกฎระเบียบเพื่อกํากับดูแล ให้เกิดการจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ปราศจากการสูญเสียโดย ไม่จําเป็ น และสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของ ประชาชนเป็นสําคัญ • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองใน ประเทศไทย • พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 • ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 • พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 • พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 • พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ 2530 • พระราชบัญญัติการขุดดินและการถมดิน พ.ศ. 2543 • พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 • พระราชบัญญัติการจัดรูปที่ดิน พ.ศ. 2547 _4
  • 12. • ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในเมืองEnvironment Land use Ordering Infrastructure Public Facilities Local Heritage Preservation •Land use Ordering •แก้ไขปัญหาความหนาแน่นด้านจราจร •การวางระบบเครือข่ายคมนาคมที่มี ประสิทธิภาพช่วยให้เมืองประหยัดพลังงาน และงบประมาณ ผังเมืองเฉพาะ การจัดระเบียบเฉพาะพื้นที่
  • 13. leading to the Green City เป้ าหมาย และนโยบายชาติที่ต้องชัดเจน มุ่งหน้าสู่ความเป็นเมืองสีเขียว • การพัฒนาเมืองด้วยหลักการพัฒนาสีเขียว ประหยัดพลังงาน สะอาดบริสุทธิ์ ไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ไม่สิ้นเปลืองพลังงาน
  • 14. • พื้นที่เมืองบริวารรอบ Bordeaux เน้นการอนุรักษ์ระบบนิเวศธรรมชาติ เพื่อคุณภาพชีวิต ทะเลสาบเพื่อเป็ น พื้นที่หน่วงนํ้า พื้นที่ป่าสมบูรณ์เพื่อ เป็ นพื้นที่คายออกซิเจนให้กับเมือง และอนุรักษ์พื้นที่สีเขียววัฒนธรรม •ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้น ที่ว่าง LRR Land Resource Ratio
  • 15. • ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด • เสริมพื้นที่สีเขียว 50% ของพื้นที่แปลงที่ • ส่งเสริมการเดินทางที่สะอาด ปลอดมลพิษ •ทุกแปลงที่พักอาศัย ต้องมีพื้นที่ สีเขียวหน่วงนํ้า เท่ากับค่า G.A.C. •สร้างแนวคลองส่ง นํ้าเชื่อมแม่นํ้า •ขยายทะเลสาบรับนํ้าเพื่อป้ องกัน นํ้าท่วมและหน่วงนํ้า
  • 16. • พัฒนาเมือง..บนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน ..อนุรักษ์ ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ •อนุรักษ์แหล่งนํ้าธรรมชาติ รักษา ระบบนิเวศทางนํ้า •ขยายร่องนํ้าเพื่อการระบายนํ้า และ เพิ่มพื้นที่รับนํ้า •อนุรักษ์พื้นที่เกษตร รักษาวิถี วัฒนธรรมชุมชน • อนุรักษ์แผ่นดินเพื่อรักษาวิถี วัฒนธรรมแห่งตน
  • 17. สร้างเมืองของเราให้น่าอยู่...ด้วยบริบทของเราเอง •การสร้างสมดุลของเมืองน่าอยู่ • อนุรักษ์พื้นที่ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์ เสริมสภาพพื้นที่สีเขียวให้เท่าเทียมกับพื้นที่ก่อสร้าง เมือง เพื่อสมดุลด้านสิ่งแวดล้อม สร้างพื้นที่รับนํ้า และอนุรักษ์แหล่งนํ้าเพื่อการบริโภคและการเกษตร อนุรักษ์พื้นที่แหล่งอาหารและพื้นที่ระบบนิเวศเขต เมืองเพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่ดี
  • 18. •case Study : Inchon Port &Logistic City National Agenda for Development Plan SOD- Statement of Direction •โซนพื้นที่พักอาศัยสมัยใหม่ ในลักษณะอาคารชุดที่ได้มาตรฐานเพื่อคุณภาพความ เป็นอยู่ที่ทันสมัย พร้อมสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพสมเป็นเมืองอัจฉะริยะที่ทันสมัย
  • 19. •case Study : Inchon Port &Logistic City National Agenda for Development Plan SOD- Statement of Direction การมีส่วนร่วมในระดับนานาชาติ เปิดโอกาส ให้มีการประกวดแบบระดับนานาชาติ •การเปิ ดโอกาสให้บริษัทออกแบบต่างชาติเข้าร่วม ประกวดแบบและเสนอแนวคิดในการออกแบบแบบเปิดกว้าง
  • 20. •case Study : Inchon Port &Logistic City National Agenda for Development Plan SOD- Statement of Direction Daejeon เมืองพี่เลี้ยง รองรับการขยาย ตัวของส่วนราชการจากเมืองหลวงและ เป็นเมืองพี่เลี้ยงให้แก่เมืองใหม่ Inchon •Inchon เมืองใหม่บริวาร เมืองใหม่ อัจฉะริยะสมบูรณ์แบบ Compact Smart City เชื่อมโยงกับเมืองพี่เลี้ยง Daejeon เมืองใหม่บริวารเพื่อรองรับการขยายตัว ของส่วนราชการที่ย้ายมาจากกรุงโซล เปิด พื้นที่ส่วนราชการใหม่ที่มีประสิทธิภาพ สร้างพื้นที่ทําการและการลงทุนใหม่ พื้นที่พักอาศัยใหม่ที่มีคุณภาพ พื้นที่ธุรกิจบริการและพื้นที่พักผ่อน เมืองต้นแบบที่มีคุณภาพ
  • 21. การประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง ตามความต้องการของประชาชน •การประเมินคุณค่าองค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม • R = ต้องการ LR = ต้องการน้อย VR = ต้องการมาก HR = ต้องการมากที่สุด พื้นที่ธุรกิจ การเดินทางสาธารณะ พื้นที่สีเขียว พื้นที่แหล่งอาหาร สวนสาธารณะ ทางเลือกการเดินทาง พื้นที่พักอาศัย พื้นที่ธุรกิจ พื้นที่สํานักงาน พื้นที่การศึกษา พื้นที่ศาสนสถาน • องค์ประกอบหลักและรองในพื้นที่แต่ละพื้นที่ มีระดับ ความสําคัญแตกต่างกันออกไป หากองค์ประกอบหนึ่ง องค์ประกอบใดมีเกณฑ์ตํ่ากว่ามาตรฐานจําเป็นต้องเสริม มาตรการอื่นเพิ่มเติม เพื่อปรับระดับให้ได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด ตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ
  • 22. • การประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง มลภาวะด้านฝุ่นละออง มลภาวะด้านความหนาแน่น มลภาวะด้านคุณภาพเสียง ระดับรุนแรง ระดับหนาแน่นมาก ระดับรบกวนมาก •แนวทางการแก้ไข ด้านระบบนิเวศ เพิ่มไม้พุ่มกรองฝุ่น แทรกพื้นที่สีเขียว เสริมไม้พุ่มใบหนา ลดความหนาแน่น เพื่อกรองเสียงระดับพื้น •แนวทางการแก้ไข ด้านการออกแบบ การออกแบบโดยเพิ่มภูมิทัศน์ ไม้ทรงหนาใบละเอียด ลดความหนาแน่น ด้วยสระนํ้า วางแนวไม้พุ่มดูดซับเสียง ปลูกสลับแนวแถวหนา แนวทางแก้ไขด้านการปรับสภาพพื้นที่ การปรับสภาพพื้นที่ ปรับพื้นที่ด้วยสระจําลอง ปรับพื้นที่ทําเนินกันเสียง ปลูกไม้พุ่มและไม้ใหญ่ กั้นความหนาแน่นในพื้นที่ ปลูกไม้พุ่มกรองเสียง