SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
เรียบเรียงเนื้อหาโดย อ.ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บทที่ 3 กระบวนการผลิตเคลือบ (Glaze Manufacturing)
3.1 กระบวนการเตรียมน้าเคลือบ
3.1.1 การเตรียมเคลือบ
วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมเคลือบดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2 และได้เรียนรู้วิธีการป้องกันฝุ่น
และการเขียนฉลากบนวัตถุดิบที่มีพิษแล้ว ในบทนี้จะกล่าวถึงกระบวนการเตรียมเคลือบ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1) เตรียมวัตถุดิบโดยบดเป็นผงให้ละเอียดผ่านตะแกรงขนาดเบอร์ #200 ซึ่งวัตถุดิบส่วนใหญ่จะ
อยู่ในรูปผงละเอียดสีขาวเหมือนกันหมด ยกเว้นออกไซด์ที่ให้สีต่างๆ
2) ชั่งวัตถุดิบตามอัตราส่วนผสมที่ได้คานวนไว้แล้ว
3) นาวัตถุดิบที่ได้มาผสมน้าในอัตราส่วนวัตถุดิบแห้ง 1.5 กิโลกรัม ต่อ น้า 1 กิโลกรัม
4) กวนวัตถุดิบและน้าให้เข้ากันด้วยโกร่งบดผสมยา
5) เมื่อกวนให้วัตถุดิบและนาเข้ากันดีแล้วกรองผ่านตะแกรงขนาดเบอร์ #100 จานวน 2 ครั้ง
6) สามารถนาเคลือบที่ได้ไปใช้งานได้ทันที หรือเคลือบที่ต้องการความละเอียดมากๆ เช่น
เคลือบศิลาดล อาจจะต้องนาไปใส่ในหม้อบดเพื่อบดให้ละเอียดเป็นเวลานานๆ ให้เม็ดสี
ละเอียดเป็นเนื้อเดียวกันทั้งหมด
3.1.2 อุปกรณ์ในการเตรียมเคลือบ
อุปกรณ์ในการเตรียมเคลือบประกอบด้วย
1) เครื่องชั่ง (Balance) หรือเครื่องตวงวัด (Scale)
เครื่องชั่งที่ใช้ในโรงงานเล็กๆ ควรใช้เครื่องชั่งละเอียด 1 เครื่อง และเครื่องชั่งขนาด 10
กิโลกรัม อีก 1 เครื่อง เครื่องชั่งละเอียดสาหรับชั่งวัตถุดิบในปริมาณน้อย เช่น การชั่งเคลือบทดลองสูตรต่างๆ ส่วน
เครื่องชั่งขนาดใหญ่ 10 กิโลกรัม สาหรับชั่งวัตถุดิบเพื่อบดเป็นถังใหญ่ในปริมาณตั้งแต่ 2 กิโลกรัม ขึ้นไป ก่อนใช้
เครื่องชั่งต้องตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องชั่งก่อนเสนมอ ไม่ใช้เครื่องชั่งในห้องที่มีลมโกรก เพราะเครื่อง
จะสูญเสียความเที่ยงตรงในขณะชั่ง ควรเตรียมสูตรเคลือบที่คานวนเรียบร้อยแล้ว เตรียมดินสอสาหรับเขียน
เครื่องหมายถูกในรายการวัตถุดิบที่ชั่วแล้วเพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ขณะทาการชั่งวัตถุดิบ เมื่อมีผู้อื่นมาชวนคุยอาจ
เกิดข้อผิดพลาดได้
2) ถังใส่เคลือบมีฝาปิด หรือถุงพลาสติก
เป็นถังที่มีฝาปิดมิดชิด หรืออาจเป็นถุงพลาสติกที่สามารถใช้ยางรัดได้ เพื่อป้องกันการระเหย
ออกไปของน้า จะทาให้สามารถเก็บน้าเคลือบไว้ใช้งานได้นาน
14
3) ตะแกรงกรองน้าเคลือบ (Sieve)
ควรเป็นตะแกรงเบอร์ละเอียดขนาด #80-100 สามารถหาซื้อได้จากร้านเคมีหรือทาขึ้นเอง
โดยซื้อตะแกรงทองเหลืองจากร้านขายอุปกรณ์เหล็ก ควรมีตะแกรงอย่างน้อย 2 อัน เพื่อใช้กีบเคลือบสีขาว 1 อัน
กับเคลือบสีอีก 1 อัน ไม่ปะปนกันเพราะเม็ดสีอาจตกค้างอยู่ตามซอกของตะแกรง หากล้างออกไม่หมด ถือเป็น
สิ่งเจือปนสาหรับเคลือบสีขาว ทาให้เกิดตาหนิเป็นจุดสีต่างๆ ในเคลือบสีขาวถ้าหากใช้ตะแกรงร่วมกัน
4) หม้อบดเคลือบ (Pot-mill)
มีให้เลือกหลายขนาด ตามขนาดความจุหรือปริมาณของเคลือบในการบดแต่ละครั้ง ถ้า
เคลือบมีน้าหนักเกินกว่า 10 กิโลกรัม ไม่นิยมบดในหม้อบดขนาดเล็กเนื่องจากมีน้าหนักมากกว่ากาลังคนที่จะ
สามารถยกได้ ด้วยหม้อบดและฝาหนัก 15 กิโลกรัม ลูกบดหนัก 15 กิโลกรัม ปริมาณน้าและวัตถุดิบรวมกัน 10
กิโลกรัม ดังนั้นน้าหนักรวมของหม้อบดปอร์ซเลนที่ใส่ของเต็มที่แล้วมีน้าหนักเคลือบ 50 กิโลกรัม หากเราต้องการ
เคลือบที่มีปริมาณมากว่า 10 กิโลกรัมขึ้นไป ควรบดด้วยถังบด (Ball mill) ที่มีแกนหมุนติดกับขาตั้งเหล็กโดยไม่
ต้องยกถังบดขึ้นลง ใช้วิธีเทโดยหมุนปากถังเอียงลงด้านล่าง
วิธีใช้หม้อบดปอร์ซเลนขนาด 1-10 กิโลกรัม
1. ใส่ลูกบดในหม้อบดในปริมาณครึ่งหนึ่งของหม้อบดเป็นอย่างต่า 55-65% ของเนื้อที่ใน
หม้อบด เพื่อให้การบดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ใส่ผงวัตถุดิบที่ชั่งแล้วลงในหม้อบดปริมาณ 1/3 ของหม้อบด
3. เติมน้าในอัตราส่วนวัตถุดิบแห้ง 1.5 กิโลกรัม ต่อ น้า 1 กิโลกรัม หรือ 1,000 ซีซี
ตัวอย่างการคานวน
วัตถุดิบแห้ง 1,500 กรัม ใช้น้า 1,000 ซีซี
ถ้าใช้วัตถุดิบแห้ง 5,000 กรัม จะต้องใช้น้า = 1,000 x 5,000
1,500
 จะต้องใช้น้า เท่ากับ 3,350 ซีซี
4. ควรมีบริเวณช่องว่างหรืออากาศในหม้อบด 10-15% เหนือระดับน้า
5. ปิดฝาให้แน่น ยกขึ้นวางบนรางหมุน คอยสังเกตฟังเสียงลูกบดในระยะแรก 10 นาที ถ้า
ไม่ได้ยินเสียงลูกบดควรเติมน้าอีกเล็กน้อยอาจมีสาเหตุมาจากวัตถุดิบในสูตรเคลือบมีดิน
มากเกินไป จึงทาให้ดูดน้าเพิ่มขึ้นจากเคลือบธรรมดา เมื่อได้ยินเสียงลูกบดทางาน
15
ตามปกติดีแล้ว ปล่อยให้เครื่องบดทางานไป 4-6 ชั่วโมง จึงเทเคลือบออกกรองด้วย
ตะแกรงขนาด #80 หรือ #100
5) โกร่งบดเคลือบปอร์ซเลนและด้ามบด (Mortar & pestle)
ใช้สาหรับบดเคลือบในปริมาณน้อยไม่เกิน 100 กรัม หรือใช้บดสีเขียนใต้เคลือบและบน
เคลือบ โกร่งที่นิยมใช้มีทั้งโกร่งบดมือและโกร่งไฟฟ้าซึ่งทาจากดินขาวบริสุทธิ์ ในขณะที่บด โกร่งถูกบดให้สึกไปด้วย
ถ้าใช้ดินไม่บริสุทธิ์เคลือบสีขาวจะมีปัญหา โดยปกติในการบดเคลือบทดลองแต่ละสูตรใช้เวลาบดไม่ต่ากว่าสูตรละ
20 นาที โดยต้องบดอย่างต่อเนื่องจนวัตถุดิบเนียนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน การบดวัตถุดิบด้วยโกร่ง ต้องเติมน้า
ก่อนทุกเครื่องเพื่อไม่ให้วัตถุดิบฟุ้งกระจาย ควรใช้กระบอกหยดน้าชนิดบีบเพื่อควบคุมปริมาณน้าที่เติมได้ทีละ
น้อย ระวังอย่าใช้น้าในปริมาณมากเกินไป ถ้าใช้น้ามากเกินไปสูตรเคลือบนั้นจะใช้ไม่ได้ต้องรอเคลือบตกตะกอน
เสียก่อน
6) ปากกาเคมี เอาไว้เขียนอักษรย่อที่ใช้เรียกชื่อของสูตรเคลือบ
7) ยางรัด เอาไว้รัดถุงพลาสติกที่เก็บเคลือบ
7) เครื่องกวนเคลือบไฟฟ้า (Rapid Mixer)
ใช้ผสมเคลือบให้เข้ากันก่อนนาเคลือบมาใช้ ควรกวนสารเคมีในถังเคลือบให้ลอยตัวขึนจาก
ก้นถังให้หมดจนมีความข้นสม่้าเสมอ แม้แต่ขณะที่ชุบเคลือบอยู่ก็ต้องกวนถังเคลือบอยู่ตลอดเวลา เนื่องจาก
วัตถุดิบในเคลือบมีความถ่วงจ้าเพาะสูงกว่าน้ามากจึงตกตะกอนเร็ว ถ้าไม่มีเครื่องกวน ต้องกวนด้วยมือทาให้
เสียเวลามาก เครื่องกวนเคลือบนี้ใช้เวลากวนถังละ 10-15 นาที เคลือบก็พร้อมที่จะใช้งานได้
3.1.3 การทดสอบก่อนเคลือบ
1) การเผาตัวอย่าง
เคลือบถังใหม่ที่บดเสร็จแล้ว จะต้องมีการนามาทดสอบเผาตัวอย่างดูก่อน ห้ามนาไปใช้งาน
ทันที เพราะอาจจะทาให้เกิดความเสียหายได้ หากเผาออกมาแล้วสีไม่เหมือนเดิม การทดสอบทาได้โดยใช้แผ่น
ทดลอง (Test piece) ที่กดดินเป็นแห่นบางๆ เจาะรูเพื่อร้อยเชือกได้มุมใดมุมหนึ่ง ชุบแผ่นทดลองด้านเดียวในถัง
เคลือบใหม่ แล้วเขียนชื่อกากับไว้ด้านหลัง ด้วย ferric oxide แล้วนาไปเผาในอุณหภูมิที่ต้องการ หลังจากเผาแล้ว
นามาเปรียบเทียบสีเคลือบเดิมว่าถูกต้องหรือไม่ ไม่เหมือนเดิมให้ปรับปรุงแก้ไข หากได้เหมือนเดิมแล้วจึงเขียนชื่อ
เคลือบที่ถังและอุณหภูมิการเผาให้ชัดเจน ผูกแผ่นทดลองตัวอย่างสีเคลือบติดไว้กับถังเคลือบด้วย
2) การทดสอบความเข้มข้นของเคลือบ
เคลือบทุกถังก่อนใช้งานจะต้องกวนให้เคลือบลอยตัวขึ้นมาจากก้นถังก่อน แล้วจึงทดสอบโดย
การนาชิ้นทดสอบหรือเศษผลิตภัณฑ์ จุ่มลงในถังเคลือบ แช่ให้นิ่งๆ นับในใจ หนึ่ง-สอง-สาม วินาที ดึงชิ้นงานออก
16
จากถังเคลือบ ตรวจดูความหนาโดยการใช้ปลายดินสอหรือเข็มขูดผิวเคลือบออกให้ลึกถึงเนื้อดิน ถ้าชั้นของเคลือบ
มีความหนา 1-1.5 มิลลิเมตร แสดงว่าความเข็มข้นของเคลือบพอเหมาะ ปกติค่าความถ่วงจาเพาะของเคลือบจะอยู่
ในระดับ 1.50-1.55 โบรเม แต่ถ้าชั้นของเคลือบหนาเพียง 0.5 มิลลิเมตร แสดงว่าเคลือบบางเกินไปเผาแล้วอาจ
ไม่ได้สีเหมือนเดิม จะต้องทิ้งไว้เป็นเวลา 1 คืน รินน้าใสๆ ข้างบนทิ้งกวนเคลือบใหม่ แล้วทดสอบเช่นเดิมจนเคลือบ
ได้ความหนา 1-1.5 มิลลิเมตร จึงผ่านการทดสอบว่าใช้ได้
3) การแก้ไขเคลือบที่ตกตะกอนนอนก้นแข็ง
เคลือบบางชนิดตกตะกอนนอนก้น ได้แก่ เคลือบฟริต และเคลือบอื่นๆ ที่ไม่มีปริมาณดินขาว
ในสูตรเคลือบ เวลานาเคลือบมาใช้ต้องเสียเวลากวนเคลือบนานทาให้ไม่สะดวกในการใช้งาน สารที่ชาวยให้เคลือบ
ลอดตัวได้แก่ แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride) นิยมใช้กันมาในเคลือบอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษ
แคลเซียมคลอไรด์ เป็นวัตถุดิบคล้ายเกลือมีลักษณะเป็นเกร็ดแบนๆ สามารรวมตัวกับความชื้นในอากาศได้ง่าย
กลายเป็นน้าเหนียวๆ
วิธีใช้
เคลือบ 1 ถัง น้าหนักประมาณ 10 กิโลกรัม ใช้แคลเซียมคลอไรด์ประมาณ 1 ช้อนชา
ละลสยกับน้าร้อนครึ่งถ้วย กวนเคลือบให้ลอยตัวขึ้นจากก้นถ้งจนหมด แล้วจึงค่อยๆ รินน้ายาลงไป และกวน
ตลอดเวลาจนน้ายาหมดถ้วยจะรู้สึกได้ว่าเคลือบลอยตัว ไม่ตกตะกอนอีก ห้ามใช้เกร็ดแคลเซียมคลอไรด์มากเกินไป
อาจจะทาให้เคลือบหนืดข้นจนกลายเป็นวุ้นใช้งานไม่ได้
4) การแก้ไขเคลือบที่เป็นฝุ่นหลุดติดมือได้ง่าย
คุณสมบัติของเคลือบที่ดีต้องไม่เป็นฝุ่นหลุดติดมือได้ง่าย เมื่อแห้งเนื้อเคลือบต้องแน่นคล้ายสี
พลาสติกที่ใช้ทาบ้าน โดยปกติในสูตรเคลือบเกือบทุกสูตรมีส่วนผสมของดินขาวบริสุทธิ์อยู่ด้วย 10% ทาให้เคลือบ
ไม่ตกตะกอนง่ายและสีเคลือบไม่เปลี่ยนแปลง ดินขาวทาให้เนื้อเคลือบยึดตัวเกาะกันดีไม่หลุดร่วงเป็นฝุ่นเมื่อสัมผัส
วัตถุดิบที่ช่วยให้เคลือบสามารถยึดเกาะกันได้ดีเรียกว่า ไบเดอร์ (Binder) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1. ดิน
ดินขาว 10-20%
ดินดา 10-15%
ดินเบนโตไนต์ 3% นิยมใช้ในเคลือบสีเท่านั้น เนื่องจากมีแร่เหล็กเจือปน
2. กาวสังเคราะห์
17
กาว C.M.C. หรืออีกชื่อคือกาวโซเดียมคาร์บอกซีเมททิลเซลลูโลส (Sodium Carboxy
Methyl Ceallulose) เป็นกาวสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติไม่บูดเน่าเมื่อทิ้งไว้นานๆ
วิธีใช้
ควรละลายผงกาวกับน้าร้อนหรือต้มแล้วกวนให้มีความข้นเท่ากับน้าเชื่อม ไม่ควรใส่เป็น
ผงลงในหม้อบดเคลือบ ใช้กาวที่ละลายแล้วกวนใส่ถังเคลือบภายหลัง ไม่ควรใช้กาว C.M.C. เกิน 1% ในเคลือบ
โดยน้าหนักแห้ง ถ้าใช้เกินปริมาณจะสร้างปัญหาทาให้เคลือบหดตัวมากเกินไป อาจจะแตกร่อนเป็นเกร็ดขณะที่
แห้งหรือเกิดปัญหาเคลือบหดตัวรวมเป็นกระจุกภายหลังการเผา
3. กาวจากสารอินทรีย์
ได้แก่กาวกฐิน กาวอะราบิค แป้งเปียก น้าเชื่อม หรือกาวจากสาหร่าย กาวอินทรียสารมี
คุณสมบัติบูดเน่าได้ง่ายเมื่อทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง ทาให้เคลือบส่งกลิ่นเหม็นเหมือนมีมดขึ้น
วิธีใช้
กาวทุกชนิดต้องนามาละลายกับน้าร้อนหรือต้มให้น้าเดือด จนละลายเข้ากันดี กรองเอา
เศษวัสดุออกเอาน้ากาวที่ได้มาผสมในเคลือบตามต้องการ
ภายหลังการเผากาวสังเคราะห์และกาวอินทรีย์ สารจะถูกเผาให้หายไปในอุณหภูมิประมาณ 400
องศาเซลเซียส
3.1.4 การชุบเคลือบ
1) ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดก่อนนามาชุบเคลือบควรนาไปเป่าฝุ่นออกก่อน
2) นาไปชุบน้าสะอาด ชุบเร็วๆ แล้วเอาขึ้นจากน้าวางผึ่งลมทิ้งไว้ให้ผลิตภัณฑ์แห้งตัว 10-15 นาที
ก่อนนาไปชุบเคลือบเพื่อให้เนื้อดินมีความชิ้นพอเหมาะในการดูดเคลือบ ถ้าดินเผาดิบแห้งเกินไป หากนาไปชุบ
เคลือบทันที ดินจะดูดเคลือบเร็วเกินไปทาให้เกิดฟองอากาศจานวนมากที่ผิวเคลือบและมีตาหนิเป็นรูตามดหลังการ
เผา
3) ผลิตภัณฑ์ที่มีด้านนอกด้านใน ประเภทแจกันหรือเหยือก ควรเคลือบด้านในก่อนโดยการตัก
เคลือบกรอกใส่ภายในผลิตภัณฑ์ประมาณครึ่งหนึ่ง แล้วกรอกผลิตภัณฑ์ไปรอบๆ ตัว หลังจากนั้นต้องรินเคลือบจาก
ภายในออกให้หมด เมื่อเคลือบด้านในเรียบร้อยแล้ว ควรทิ้งไว้อย่างต่าครึ่งชั่วโมงจนกว่าผิวดินด้านนอกจะแห้งจึง
ชุบหรือพ่นด้านนอกของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชิ้นใหญ่ต้องใช้วิธีพ่น เนื่องจากมีขนาดกว่าถังเคลือบ
4) ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบเสร็จแล้ว ต้องเช็ดก้นผลิตภัณฑ์ให้สะอาด ผลิตภัณฑ์ที่มีฝาต้องทาอะลูมิ
นาผงผสมกาวน้า หรือกาว C.M.C. ที่ขอบฝาทั้งสองด้านและเผาฝาปิดพร้อมกับตัวผลิตภัณฑ์ เพื่อการหดตัวพร้อม
กัน
18
5) เคลือบที่พึ่งชุบเสร็จใหม่ๆ ยังเปียกอยู่ห้ามนาเข้าเตาเผาทันที ควรทิ้งให้เคลือบแห้งสนิทดีก่อน
ถ้าเคลือบยังเปียกอยู่และโดนความร้อนในทันทีเคลือบจะหลุดร่อนออกจากตัวผลิตภัณฑ์ เรียกว่า เคลือบกระโดด
(Jumping glaze) หลุดจากตัวผลิตภัณฑ์มากองอยู่รอบๆ แผ่นรองเตาเผา
3.1.5 การพ่นเคลือบ
เป็นวิธีที่นิยมกันในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งต้องมีอุปกรณ์พ่นเคลือบครบชุด 3 อย่าง คือ
1) ปั๊มลม (Compressor)
2) กาพ่นสี (Spray gun)
3) พัดลมดูดฝุ่นเคลือบในตู้พ่นเคลือบ (Extractor Fan in Spray Booth)
วิธีพ่นเคลือบ
1. ปรับความดันลมที่เครื่องปั๊มลมให้อยู่ระหว่างแรงดัน 20-40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้ว ถ้า
แรงดันลมมากเกินไปเคลือบที่พ่น จะเป็นละอองละเอียดฟุ้งกระจายไปทั่ว ละอองเคลือบที่ละเอียดเกินไปนี้ไม่ค่อย
เกาะติดผิวผลิตภัณฑ์ และแรงดันลมน้อยเกินไป เม็ดเคลือบจะหยาบและโตไม่สม่าเสมอ สีที่พ่นจะไม่เรียบควรใช้วิธี
ปรับลมที่รูปากกาพ่นสี การเลือกซื้อกาพ่นสีควรเลือกซื้อชนิดที่มีปุ่มปรับแรงดันลมได้ จะดีกว่าชนิดที่ปรับไม่ได้
ก่อนใช้ทุกครั้งปรับแรงลมให้พอดีและทดลองพ่นดูก่อนจนแน่นใจ
2. วางผลิตภัณฑ์ที่จะพ่นไว้บนโต๊ะหมุน โดยขีดจุดเริ่มต้นไว้ตรงหน้าบนโต๊ะแป้นหมุน
3. วิธีพ่น อย่าให้หัวพ่นอยู่ใกล้ติดตัวผลิตภัณฑ์มากเกินไป ทาให้เคลือบไหลควรพ่นหากจาก
ตัวผลิตภัณฑ์ประมาณ 20-25 เซนติเมตร ถ้าไกลเกินไปจะเสียเคลือบไปมาก และพ่นได้ช้า
4. ทิศทางที่พ่นผลิตภัณฑ์ ที่เป็นประเภทแจกัน โดยปกติจะพ่นวนไปรอบๆ จากขวาไปซ้าย
หรือจากซ้ายไปขวาเรื่อยๆ โดยหมุนแท่นหมุนผลิตภัณฑ์ไปช้าๆ พ่นวนไปจนครบสองรอบตามแนวนอน โดยสังเกต
จากจุดเริ่มต้นที่ทาเครื่องหมายไว้ แล้วจึงพ่นทับตามแนวตั้งจากบนลงข้างล่าง จากล่างขึ้นบนอีกสองรอบ จนชั้น
ของเคลือบหนา 1-1.5 มิลลิเมตร โดยตลอด ใช้ปลายเข็มสกิดดูดความหนาของเคลือบ
5. เมื่อพ่นเสร็จแล้วควรล้างกระบอกกาพ่นสีทันที เทเคลือบที่เหลือคืนใส่ถัง เอาน้าใส่ใน
กระบอกกาพ่นสีล้างให้สะอาด แล้วใส่น้าสะอาดเข้าไปของกาพ่น ฉีดพ่นน้าออกทางหัวฉีด ล้างหัวฉีดให้สะอาดจน
หมดน้ายาเคลือบ ก่อนถอดกาพ่นสีไปเก็บหลังการใช้งาน
19
3.2 กระบวนการเผาเคลือบ
ก่อนการเผาเคลือบผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่มักผ่านการเผาดิบมาแล้ว การเผาดิบ คือการเผาครั้งที่ 1 ซึ่งจะเผา
ในอุณหภูมิที่ต่าหรืออุณหภูมิสูงก็ได้โดยเริ่มเผาดินดิบยังไม่ได้ชุบน้าเคลือบ ผลิตภัณฑ์ก่อนนาเข้าเตาเผาต้องแห้ง
สนิท ถ้าผลิตภัณฑ์ยังมีวามชื้นต้องเร่งเผา คสรอบผลิตภัณฑ์ให้แห้งก่อนเผา ในการเผาดิบทั่วๆ ไปขนาดผลิตภัณฑ์
สูงไม่เกิน 30 เซนติเมตร หรือไม่ใช่งานประเภทประติมากรรมที่มีดินปั้นหนา ควรแยกเผาต่างหากให้เผาช้าลง
วรจรเผาดิบโดยทั่วไป (Biscuit Firing)
จากอุณหภูมิห้อง 24-230 องศาเซลเซียส เผาช้าๆ เปิดรูระบายไอน้าออกจากเตาเผาทุกรู ไม่ควรเผาเร็ว
เกิน 100 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง ถ้าเผาเร็วผลิตภัณฑ์จะแตก
230-573 องศาเซลเซียส ควรเผาช้าเอาไว้ตามเดิมไม่เกิน 150 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง
600-750 องศาเซลเซียส เป็นระยะปลอดภัยเร่งเผาได้ 200 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง
600-750 องศาเซลเซียส ปิดเตาเผาได้
หมายเหตุ ต้องเผาในบรรยากาศสมบูรณ์เต็มที่ ไม่ให้มีเขม่าตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการเผาใช้ระยะเวลา 6-7
ชั่วโมง ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเผาดิบแล้ว เนื้อดินแข็งเป็นหินแต่ยังดูดซึมน้าได้ดีสามารถนาไปชุบเคลือบได้โดยดินไม่
ละลายตัวกลยเป็นโคลน
วรจรเผาเคลือบ (Gloss Firing)
การเผาเคลือบอุณหภูมิต่า และอุณหภูมิปานกลางส่วนใหญ่จะเผาในบรรยากาศสันดาปสมบูรณ์ นอกจาก
เคลือบอุณหภูมิสูงซึ่งมี 2 ชนิด คือ เคลือบชนิดที่เผาในบรรยากาศสมบูรณ์ และเคลือบชนิดพิเศษที่ต้องการเผาใน
บรรยากาศสันดาปไม่สมบูรณ์
วงจรการเผาเคลือบโดยทั่วไป
ช่วงแรก 24-900 องศาเซลเซียส ใช้เวลาไม่ต่ากว่า 5 ชั่วโมง
ช่วงที่สอง 900-1,250 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4-6 ชั่วโมง
ช่วงที่สาม แช่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 10-15 นาที
ข้อผิดพลาดในการเผาเคลือบ ถ้าเผาต่ากว่าอุณหภูมิเคลือบไม่สุกตัว เรียกว่า Under firing แต่ถ้าเผาเกิน
อุณหภูมิเคลือบไหลตัวใสก หรือมีความมันวาวกว่าเดิมเรียกว่า Over firing ในการเผาเคลือบทุกครั้งนิยทใช้
(cone) ใส่ในเตาเผาเคลือบด้วย ถ้าไม่มีโคนให้ใช้ตัวอย่างทดสอบ (Test ring) ที่ทาเป็นวงแหวนชุบเคลือบ สามารถ
ใช้ลวดทนไฟเกี่ยวออกมาดูดได้ว่าเคลือบสุกตัวหรือยังเพื่อเป็นการตรวจเช็ครักษามาตรฐานการเผาและคุณภาพ
ของเคลือบให้คงที่ทุกครั้ง

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
Glazes Theory And Practice Bryant Hudson
Glazes Theory And Practice Bryant HudsonGlazes Theory And Practice Bryant Hudson
Glazes Theory And Practice Bryant HudsonBryant Hudson
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Glazes Theory And Practice Bryant Hudson
Glazes Theory And Practice Bryant HudsonGlazes Theory And Practice Bryant Hudson
Glazes Theory And Practice Bryant Hudson
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

Chapter 3 glaze manufacturing

  • 1. เรียบเรียงเนื้อหาโดย อ.ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา บทที่ 3 กระบวนการผลิตเคลือบ (Glaze Manufacturing) 3.1 กระบวนการเตรียมน้าเคลือบ 3.1.1 การเตรียมเคลือบ วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมเคลือบดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2 และได้เรียนรู้วิธีการป้องกันฝุ่น และการเขียนฉลากบนวัตถุดิบที่มีพิษแล้ว ในบทนี้จะกล่าวถึงกระบวนการเตรียมเคลือบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) เตรียมวัตถุดิบโดยบดเป็นผงให้ละเอียดผ่านตะแกรงขนาดเบอร์ #200 ซึ่งวัตถุดิบส่วนใหญ่จะ อยู่ในรูปผงละเอียดสีขาวเหมือนกันหมด ยกเว้นออกไซด์ที่ให้สีต่างๆ 2) ชั่งวัตถุดิบตามอัตราส่วนผสมที่ได้คานวนไว้แล้ว 3) นาวัตถุดิบที่ได้มาผสมน้าในอัตราส่วนวัตถุดิบแห้ง 1.5 กิโลกรัม ต่อ น้า 1 กิโลกรัม 4) กวนวัตถุดิบและน้าให้เข้ากันด้วยโกร่งบดผสมยา 5) เมื่อกวนให้วัตถุดิบและนาเข้ากันดีแล้วกรองผ่านตะแกรงขนาดเบอร์ #100 จานวน 2 ครั้ง 6) สามารถนาเคลือบที่ได้ไปใช้งานได้ทันที หรือเคลือบที่ต้องการความละเอียดมากๆ เช่น เคลือบศิลาดล อาจจะต้องนาไปใส่ในหม้อบดเพื่อบดให้ละเอียดเป็นเวลานานๆ ให้เม็ดสี ละเอียดเป็นเนื้อเดียวกันทั้งหมด 3.1.2 อุปกรณ์ในการเตรียมเคลือบ อุปกรณ์ในการเตรียมเคลือบประกอบด้วย 1) เครื่องชั่ง (Balance) หรือเครื่องตวงวัด (Scale) เครื่องชั่งที่ใช้ในโรงงานเล็กๆ ควรใช้เครื่องชั่งละเอียด 1 เครื่อง และเครื่องชั่งขนาด 10 กิโลกรัม อีก 1 เครื่อง เครื่องชั่งละเอียดสาหรับชั่งวัตถุดิบในปริมาณน้อย เช่น การชั่งเคลือบทดลองสูตรต่างๆ ส่วน เครื่องชั่งขนาดใหญ่ 10 กิโลกรัม สาหรับชั่งวัตถุดิบเพื่อบดเป็นถังใหญ่ในปริมาณตั้งแต่ 2 กิโลกรัม ขึ้นไป ก่อนใช้ เครื่องชั่งต้องตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องชั่งก่อนเสนมอ ไม่ใช้เครื่องชั่งในห้องที่มีลมโกรก เพราะเครื่อง จะสูญเสียความเที่ยงตรงในขณะชั่ง ควรเตรียมสูตรเคลือบที่คานวนเรียบร้อยแล้ว เตรียมดินสอสาหรับเขียน เครื่องหมายถูกในรายการวัตถุดิบที่ชั่วแล้วเพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ขณะทาการชั่งวัตถุดิบ เมื่อมีผู้อื่นมาชวนคุยอาจ เกิดข้อผิดพลาดได้ 2) ถังใส่เคลือบมีฝาปิด หรือถุงพลาสติก เป็นถังที่มีฝาปิดมิดชิด หรืออาจเป็นถุงพลาสติกที่สามารถใช้ยางรัดได้ เพื่อป้องกันการระเหย ออกไปของน้า จะทาให้สามารถเก็บน้าเคลือบไว้ใช้งานได้นาน
  • 2. 14 3) ตะแกรงกรองน้าเคลือบ (Sieve) ควรเป็นตะแกรงเบอร์ละเอียดขนาด #80-100 สามารถหาซื้อได้จากร้านเคมีหรือทาขึ้นเอง โดยซื้อตะแกรงทองเหลืองจากร้านขายอุปกรณ์เหล็ก ควรมีตะแกรงอย่างน้อย 2 อัน เพื่อใช้กีบเคลือบสีขาว 1 อัน กับเคลือบสีอีก 1 อัน ไม่ปะปนกันเพราะเม็ดสีอาจตกค้างอยู่ตามซอกของตะแกรง หากล้างออกไม่หมด ถือเป็น สิ่งเจือปนสาหรับเคลือบสีขาว ทาให้เกิดตาหนิเป็นจุดสีต่างๆ ในเคลือบสีขาวถ้าหากใช้ตะแกรงร่วมกัน 4) หม้อบดเคลือบ (Pot-mill) มีให้เลือกหลายขนาด ตามขนาดความจุหรือปริมาณของเคลือบในการบดแต่ละครั้ง ถ้า เคลือบมีน้าหนักเกินกว่า 10 กิโลกรัม ไม่นิยมบดในหม้อบดขนาดเล็กเนื่องจากมีน้าหนักมากกว่ากาลังคนที่จะ สามารถยกได้ ด้วยหม้อบดและฝาหนัก 15 กิโลกรัม ลูกบดหนัก 15 กิโลกรัม ปริมาณน้าและวัตถุดิบรวมกัน 10 กิโลกรัม ดังนั้นน้าหนักรวมของหม้อบดปอร์ซเลนที่ใส่ของเต็มที่แล้วมีน้าหนักเคลือบ 50 กิโลกรัม หากเราต้องการ เคลือบที่มีปริมาณมากว่า 10 กิโลกรัมขึ้นไป ควรบดด้วยถังบด (Ball mill) ที่มีแกนหมุนติดกับขาตั้งเหล็กโดยไม่ ต้องยกถังบดขึ้นลง ใช้วิธีเทโดยหมุนปากถังเอียงลงด้านล่าง วิธีใช้หม้อบดปอร์ซเลนขนาด 1-10 กิโลกรัม 1. ใส่ลูกบดในหม้อบดในปริมาณครึ่งหนึ่งของหม้อบดเป็นอย่างต่า 55-65% ของเนื้อที่ใน หม้อบด เพื่อให้การบดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ใส่ผงวัตถุดิบที่ชั่งแล้วลงในหม้อบดปริมาณ 1/3 ของหม้อบด 3. เติมน้าในอัตราส่วนวัตถุดิบแห้ง 1.5 กิโลกรัม ต่อ น้า 1 กิโลกรัม หรือ 1,000 ซีซี ตัวอย่างการคานวน วัตถุดิบแห้ง 1,500 กรัม ใช้น้า 1,000 ซีซี ถ้าใช้วัตถุดิบแห้ง 5,000 กรัม จะต้องใช้น้า = 1,000 x 5,000 1,500  จะต้องใช้น้า เท่ากับ 3,350 ซีซี 4. ควรมีบริเวณช่องว่างหรืออากาศในหม้อบด 10-15% เหนือระดับน้า 5. ปิดฝาให้แน่น ยกขึ้นวางบนรางหมุน คอยสังเกตฟังเสียงลูกบดในระยะแรก 10 นาที ถ้า ไม่ได้ยินเสียงลูกบดควรเติมน้าอีกเล็กน้อยอาจมีสาเหตุมาจากวัตถุดิบในสูตรเคลือบมีดิน มากเกินไป จึงทาให้ดูดน้าเพิ่มขึ้นจากเคลือบธรรมดา เมื่อได้ยินเสียงลูกบดทางาน
  • 3. 15 ตามปกติดีแล้ว ปล่อยให้เครื่องบดทางานไป 4-6 ชั่วโมง จึงเทเคลือบออกกรองด้วย ตะแกรงขนาด #80 หรือ #100 5) โกร่งบดเคลือบปอร์ซเลนและด้ามบด (Mortar & pestle) ใช้สาหรับบดเคลือบในปริมาณน้อยไม่เกิน 100 กรัม หรือใช้บดสีเขียนใต้เคลือบและบน เคลือบ โกร่งที่นิยมใช้มีทั้งโกร่งบดมือและโกร่งไฟฟ้าซึ่งทาจากดินขาวบริสุทธิ์ ในขณะที่บด โกร่งถูกบดให้สึกไปด้วย ถ้าใช้ดินไม่บริสุทธิ์เคลือบสีขาวจะมีปัญหา โดยปกติในการบดเคลือบทดลองแต่ละสูตรใช้เวลาบดไม่ต่ากว่าสูตรละ 20 นาที โดยต้องบดอย่างต่อเนื่องจนวัตถุดิบเนียนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน การบดวัตถุดิบด้วยโกร่ง ต้องเติมน้า ก่อนทุกเครื่องเพื่อไม่ให้วัตถุดิบฟุ้งกระจาย ควรใช้กระบอกหยดน้าชนิดบีบเพื่อควบคุมปริมาณน้าที่เติมได้ทีละ น้อย ระวังอย่าใช้น้าในปริมาณมากเกินไป ถ้าใช้น้ามากเกินไปสูตรเคลือบนั้นจะใช้ไม่ได้ต้องรอเคลือบตกตะกอน เสียก่อน 6) ปากกาเคมี เอาไว้เขียนอักษรย่อที่ใช้เรียกชื่อของสูตรเคลือบ 7) ยางรัด เอาไว้รัดถุงพลาสติกที่เก็บเคลือบ 7) เครื่องกวนเคลือบไฟฟ้า (Rapid Mixer) ใช้ผสมเคลือบให้เข้ากันก่อนนาเคลือบมาใช้ ควรกวนสารเคมีในถังเคลือบให้ลอยตัวขึนจาก ก้นถังให้หมดจนมีความข้นสม่้าเสมอ แม้แต่ขณะที่ชุบเคลือบอยู่ก็ต้องกวนถังเคลือบอยู่ตลอดเวลา เนื่องจาก วัตถุดิบในเคลือบมีความถ่วงจ้าเพาะสูงกว่าน้ามากจึงตกตะกอนเร็ว ถ้าไม่มีเครื่องกวน ต้องกวนด้วยมือทาให้ เสียเวลามาก เครื่องกวนเคลือบนี้ใช้เวลากวนถังละ 10-15 นาที เคลือบก็พร้อมที่จะใช้งานได้ 3.1.3 การทดสอบก่อนเคลือบ 1) การเผาตัวอย่าง เคลือบถังใหม่ที่บดเสร็จแล้ว จะต้องมีการนามาทดสอบเผาตัวอย่างดูก่อน ห้ามนาไปใช้งาน ทันที เพราะอาจจะทาให้เกิดความเสียหายได้ หากเผาออกมาแล้วสีไม่เหมือนเดิม การทดสอบทาได้โดยใช้แผ่น ทดลอง (Test piece) ที่กดดินเป็นแห่นบางๆ เจาะรูเพื่อร้อยเชือกได้มุมใดมุมหนึ่ง ชุบแผ่นทดลองด้านเดียวในถัง เคลือบใหม่ แล้วเขียนชื่อกากับไว้ด้านหลัง ด้วย ferric oxide แล้วนาไปเผาในอุณหภูมิที่ต้องการ หลังจากเผาแล้ว นามาเปรียบเทียบสีเคลือบเดิมว่าถูกต้องหรือไม่ ไม่เหมือนเดิมให้ปรับปรุงแก้ไข หากได้เหมือนเดิมแล้วจึงเขียนชื่อ เคลือบที่ถังและอุณหภูมิการเผาให้ชัดเจน ผูกแผ่นทดลองตัวอย่างสีเคลือบติดไว้กับถังเคลือบด้วย 2) การทดสอบความเข้มข้นของเคลือบ เคลือบทุกถังก่อนใช้งานจะต้องกวนให้เคลือบลอยตัวขึ้นมาจากก้นถังก่อน แล้วจึงทดสอบโดย การนาชิ้นทดสอบหรือเศษผลิตภัณฑ์ จุ่มลงในถังเคลือบ แช่ให้นิ่งๆ นับในใจ หนึ่ง-สอง-สาม วินาที ดึงชิ้นงานออก
  • 4. 16 จากถังเคลือบ ตรวจดูความหนาโดยการใช้ปลายดินสอหรือเข็มขูดผิวเคลือบออกให้ลึกถึงเนื้อดิน ถ้าชั้นของเคลือบ มีความหนา 1-1.5 มิลลิเมตร แสดงว่าความเข็มข้นของเคลือบพอเหมาะ ปกติค่าความถ่วงจาเพาะของเคลือบจะอยู่ ในระดับ 1.50-1.55 โบรเม แต่ถ้าชั้นของเคลือบหนาเพียง 0.5 มิลลิเมตร แสดงว่าเคลือบบางเกินไปเผาแล้วอาจ ไม่ได้สีเหมือนเดิม จะต้องทิ้งไว้เป็นเวลา 1 คืน รินน้าใสๆ ข้างบนทิ้งกวนเคลือบใหม่ แล้วทดสอบเช่นเดิมจนเคลือบ ได้ความหนา 1-1.5 มิลลิเมตร จึงผ่านการทดสอบว่าใช้ได้ 3) การแก้ไขเคลือบที่ตกตะกอนนอนก้นแข็ง เคลือบบางชนิดตกตะกอนนอนก้น ได้แก่ เคลือบฟริต และเคลือบอื่นๆ ที่ไม่มีปริมาณดินขาว ในสูตรเคลือบ เวลานาเคลือบมาใช้ต้องเสียเวลากวนเคลือบนานทาให้ไม่สะดวกในการใช้งาน สารที่ชาวยให้เคลือบ ลอดตัวได้แก่ แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride) นิยมใช้กันมาในเคลือบอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษ แคลเซียมคลอไรด์ เป็นวัตถุดิบคล้ายเกลือมีลักษณะเป็นเกร็ดแบนๆ สามารรวมตัวกับความชื้นในอากาศได้ง่าย กลายเป็นน้าเหนียวๆ วิธีใช้ เคลือบ 1 ถัง น้าหนักประมาณ 10 กิโลกรัม ใช้แคลเซียมคลอไรด์ประมาณ 1 ช้อนชา ละลสยกับน้าร้อนครึ่งถ้วย กวนเคลือบให้ลอยตัวขึ้นจากก้นถ้งจนหมด แล้วจึงค่อยๆ รินน้ายาลงไป และกวน ตลอดเวลาจนน้ายาหมดถ้วยจะรู้สึกได้ว่าเคลือบลอยตัว ไม่ตกตะกอนอีก ห้ามใช้เกร็ดแคลเซียมคลอไรด์มากเกินไป อาจจะทาให้เคลือบหนืดข้นจนกลายเป็นวุ้นใช้งานไม่ได้ 4) การแก้ไขเคลือบที่เป็นฝุ่นหลุดติดมือได้ง่าย คุณสมบัติของเคลือบที่ดีต้องไม่เป็นฝุ่นหลุดติดมือได้ง่าย เมื่อแห้งเนื้อเคลือบต้องแน่นคล้ายสี พลาสติกที่ใช้ทาบ้าน โดยปกติในสูตรเคลือบเกือบทุกสูตรมีส่วนผสมของดินขาวบริสุทธิ์อยู่ด้วย 10% ทาให้เคลือบ ไม่ตกตะกอนง่ายและสีเคลือบไม่เปลี่ยนแปลง ดินขาวทาให้เนื้อเคลือบยึดตัวเกาะกันดีไม่หลุดร่วงเป็นฝุ่นเมื่อสัมผัส วัตถุดิบที่ช่วยให้เคลือบสามารถยึดเกาะกันได้ดีเรียกว่า ไบเดอร์ (Binder) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 1. ดิน ดินขาว 10-20% ดินดา 10-15% ดินเบนโตไนต์ 3% นิยมใช้ในเคลือบสีเท่านั้น เนื่องจากมีแร่เหล็กเจือปน 2. กาวสังเคราะห์
  • 5. 17 กาว C.M.C. หรืออีกชื่อคือกาวโซเดียมคาร์บอกซีเมททิลเซลลูโลส (Sodium Carboxy Methyl Ceallulose) เป็นกาวสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติไม่บูดเน่าเมื่อทิ้งไว้นานๆ วิธีใช้ ควรละลายผงกาวกับน้าร้อนหรือต้มแล้วกวนให้มีความข้นเท่ากับน้าเชื่อม ไม่ควรใส่เป็น ผงลงในหม้อบดเคลือบ ใช้กาวที่ละลายแล้วกวนใส่ถังเคลือบภายหลัง ไม่ควรใช้กาว C.M.C. เกิน 1% ในเคลือบ โดยน้าหนักแห้ง ถ้าใช้เกินปริมาณจะสร้างปัญหาทาให้เคลือบหดตัวมากเกินไป อาจจะแตกร่อนเป็นเกร็ดขณะที่ แห้งหรือเกิดปัญหาเคลือบหดตัวรวมเป็นกระจุกภายหลังการเผา 3. กาวจากสารอินทรีย์ ได้แก่กาวกฐิน กาวอะราบิค แป้งเปียก น้าเชื่อม หรือกาวจากสาหร่าย กาวอินทรียสารมี คุณสมบัติบูดเน่าได้ง่ายเมื่อทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง ทาให้เคลือบส่งกลิ่นเหม็นเหมือนมีมดขึ้น วิธีใช้ กาวทุกชนิดต้องนามาละลายกับน้าร้อนหรือต้มให้น้าเดือด จนละลายเข้ากันดี กรองเอา เศษวัสดุออกเอาน้ากาวที่ได้มาผสมในเคลือบตามต้องการ ภายหลังการเผากาวสังเคราะห์และกาวอินทรีย์ สารจะถูกเผาให้หายไปในอุณหภูมิประมาณ 400 องศาเซลเซียส 3.1.4 การชุบเคลือบ 1) ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดก่อนนามาชุบเคลือบควรนาไปเป่าฝุ่นออกก่อน 2) นาไปชุบน้าสะอาด ชุบเร็วๆ แล้วเอาขึ้นจากน้าวางผึ่งลมทิ้งไว้ให้ผลิตภัณฑ์แห้งตัว 10-15 นาที ก่อนนาไปชุบเคลือบเพื่อให้เนื้อดินมีความชิ้นพอเหมาะในการดูดเคลือบ ถ้าดินเผาดิบแห้งเกินไป หากนาไปชุบ เคลือบทันที ดินจะดูดเคลือบเร็วเกินไปทาให้เกิดฟองอากาศจานวนมากที่ผิวเคลือบและมีตาหนิเป็นรูตามดหลังการ เผา 3) ผลิตภัณฑ์ที่มีด้านนอกด้านใน ประเภทแจกันหรือเหยือก ควรเคลือบด้านในก่อนโดยการตัก เคลือบกรอกใส่ภายในผลิตภัณฑ์ประมาณครึ่งหนึ่ง แล้วกรอกผลิตภัณฑ์ไปรอบๆ ตัว หลังจากนั้นต้องรินเคลือบจาก ภายในออกให้หมด เมื่อเคลือบด้านในเรียบร้อยแล้ว ควรทิ้งไว้อย่างต่าครึ่งชั่วโมงจนกว่าผิวดินด้านนอกจะแห้งจึง ชุบหรือพ่นด้านนอกของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชิ้นใหญ่ต้องใช้วิธีพ่น เนื่องจากมีขนาดกว่าถังเคลือบ 4) ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบเสร็จแล้ว ต้องเช็ดก้นผลิตภัณฑ์ให้สะอาด ผลิตภัณฑ์ที่มีฝาต้องทาอะลูมิ นาผงผสมกาวน้า หรือกาว C.M.C. ที่ขอบฝาทั้งสองด้านและเผาฝาปิดพร้อมกับตัวผลิตภัณฑ์ เพื่อการหดตัวพร้อม กัน
  • 6. 18 5) เคลือบที่พึ่งชุบเสร็จใหม่ๆ ยังเปียกอยู่ห้ามนาเข้าเตาเผาทันที ควรทิ้งให้เคลือบแห้งสนิทดีก่อน ถ้าเคลือบยังเปียกอยู่และโดนความร้อนในทันทีเคลือบจะหลุดร่อนออกจากตัวผลิตภัณฑ์ เรียกว่า เคลือบกระโดด (Jumping glaze) หลุดจากตัวผลิตภัณฑ์มากองอยู่รอบๆ แผ่นรองเตาเผา 3.1.5 การพ่นเคลือบ เป็นวิธีที่นิยมกันในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งต้องมีอุปกรณ์พ่นเคลือบครบชุด 3 อย่าง คือ 1) ปั๊มลม (Compressor) 2) กาพ่นสี (Spray gun) 3) พัดลมดูดฝุ่นเคลือบในตู้พ่นเคลือบ (Extractor Fan in Spray Booth) วิธีพ่นเคลือบ 1. ปรับความดันลมที่เครื่องปั๊มลมให้อยู่ระหว่างแรงดัน 20-40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้ว ถ้า แรงดันลมมากเกินไปเคลือบที่พ่น จะเป็นละอองละเอียดฟุ้งกระจายไปทั่ว ละอองเคลือบที่ละเอียดเกินไปนี้ไม่ค่อย เกาะติดผิวผลิตภัณฑ์ และแรงดันลมน้อยเกินไป เม็ดเคลือบจะหยาบและโตไม่สม่าเสมอ สีที่พ่นจะไม่เรียบควรใช้วิธี ปรับลมที่รูปากกาพ่นสี การเลือกซื้อกาพ่นสีควรเลือกซื้อชนิดที่มีปุ่มปรับแรงดันลมได้ จะดีกว่าชนิดที่ปรับไม่ได้ ก่อนใช้ทุกครั้งปรับแรงลมให้พอดีและทดลองพ่นดูก่อนจนแน่นใจ 2. วางผลิตภัณฑ์ที่จะพ่นไว้บนโต๊ะหมุน โดยขีดจุดเริ่มต้นไว้ตรงหน้าบนโต๊ะแป้นหมุน 3. วิธีพ่น อย่าให้หัวพ่นอยู่ใกล้ติดตัวผลิตภัณฑ์มากเกินไป ทาให้เคลือบไหลควรพ่นหากจาก ตัวผลิตภัณฑ์ประมาณ 20-25 เซนติเมตร ถ้าไกลเกินไปจะเสียเคลือบไปมาก และพ่นได้ช้า 4. ทิศทางที่พ่นผลิตภัณฑ์ ที่เป็นประเภทแจกัน โดยปกติจะพ่นวนไปรอบๆ จากขวาไปซ้าย หรือจากซ้ายไปขวาเรื่อยๆ โดยหมุนแท่นหมุนผลิตภัณฑ์ไปช้าๆ พ่นวนไปจนครบสองรอบตามแนวนอน โดยสังเกต จากจุดเริ่มต้นที่ทาเครื่องหมายไว้ แล้วจึงพ่นทับตามแนวตั้งจากบนลงข้างล่าง จากล่างขึ้นบนอีกสองรอบ จนชั้น ของเคลือบหนา 1-1.5 มิลลิเมตร โดยตลอด ใช้ปลายเข็มสกิดดูดความหนาของเคลือบ 5. เมื่อพ่นเสร็จแล้วควรล้างกระบอกกาพ่นสีทันที เทเคลือบที่เหลือคืนใส่ถัง เอาน้าใส่ใน กระบอกกาพ่นสีล้างให้สะอาด แล้วใส่น้าสะอาดเข้าไปของกาพ่น ฉีดพ่นน้าออกทางหัวฉีด ล้างหัวฉีดให้สะอาดจน หมดน้ายาเคลือบ ก่อนถอดกาพ่นสีไปเก็บหลังการใช้งาน
  • 7. 19 3.2 กระบวนการเผาเคลือบ ก่อนการเผาเคลือบผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่มักผ่านการเผาดิบมาแล้ว การเผาดิบ คือการเผาครั้งที่ 1 ซึ่งจะเผา ในอุณหภูมิที่ต่าหรืออุณหภูมิสูงก็ได้โดยเริ่มเผาดินดิบยังไม่ได้ชุบน้าเคลือบ ผลิตภัณฑ์ก่อนนาเข้าเตาเผาต้องแห้ง สนิท ถ้าผลิตภัณฑ์ยังมีวามชื้นต้องเร่งเผา คสรอบผลิตภัณฑ์ให้แห้งก่อนเผา ในการเผาดิบทั่วๆ ไปขนาดผลิตภัณฑ์ สูงไม่เกิน 30 เซนติเมตร หรือไม่ใช่งานประเภทประติมากรรมที่มีดินปั้นหนา ควรแยกเผาต่างหากให้เผาช้าลง วรจรเผาดิบโดยทั่วไป (Biscuit Firing) จากอุณหภูมิห้อง 24-230 องศาเซลเซียส เผาช้าๆ เปิดรูระบายไอน้าออกจากเตาเผาทุกรู ไม่ควรเผาเร็ว เกิน 100 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง ถ้าเผาเร็วผลิตภัณฑ์จะแตก 230-573 องศาเซลเซียส ควรเผาช้าเอาไว้ตามเดิมไม่เกิน 150 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง 600-750 องศาเซลเซียส เป็นระยะปลอดภัยเร่งเผาได้ 200 องศาเซลเซียส ต่อ 1 ชั่วโมง 600-750 องศาเซลเซียส ปิดเตาเผาได้ หมายเหตุ ต้องเผาในบรรยากาศสมบูรณ์เต็มที่ ไม่ให้มีเขม่าตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการเผาใช้ระยะเวลา 6-7 ชั่วโมง ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเผาดิบแล้ว เนื้อดินแข็งเป็นหินแต่ยังดูดซึมน้าได้ดีสามารถนาไปชุบเคลือบได้โดยดินไม่ ละลายตัวกลยเป็นโคลน วรจรเผาเคลือบ (Gloss Firing) การเผาเคลือบอุณหภูมิต่า และอุณหภูมิปานกลางส่วนใหญ่จะเผาในบรรยากาศสันดาปสมบูรณ์ นอกจาก เคลือบอุณหภูมิสูงซึ่งมี 2 ชนิด คือ เคลือบชนิดที่เผาในบรรยากาศสมบูรณ์ และเคลือบชนิดพิเศษที่ต้องการเผาใน บรรยากาศสันดาปไม่สมบูรณ์ วงจรการเผาเคลือบโดยทั่วไป ช่วงแรก 24-900 องศาเซลเซียส ใช้เวลาไม่ต่ากว่า 5 ชั่วโมง ช่วงที่สอง 900-1,250 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4-6 ชั่วโมง ช่วงที่สาม แช่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 10-15 นาที ข้อผิดพลาดในการเผาเคลือบ ถ้าเผาต่ากว่าอุณหภูมิเคลือบไม่สุกตัว เรียกว่า Under firing แต่ถ้าเผาเกิน อุณหภูมิเคลือบไหลตัวใสก หรือมีความมันวาวกว่าเดิมเรียกว่า Over firing ในการเผาเคลือบทุกครั้งนิยทใช้ (cone) ใส่ในเตาเผาเคลือบด้วย ถ้าไม่มีโคนให้ใช้ตัวอย่างทดสอบ (Test ring) ที่ทาเป็นวงแหวนชุบเคลือบ สามารถ ใช้ลวดทนไฟเกี่ยวออกมาดูดได้ว่าเคลือบสุกตัวหรือยังเพื่อเป็นการตรวจเช็ครักษามาตรฐานการเผาและคุณภาพ ของเคลือบให้คงที่ทุกครั้ง