SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ประเทศมาเลเชีย
ประเทศ มาเลเซีย เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแบ่งออกเป็น  2  ส่วน โดยมีทะเลจีนใต้กั้น ส่วนแรกคือ  คาบสมุทรมลายู หรือ มาเลเซียตะวันตก มีพรมแดนทางทิศเหนือติดประเทศไทย  และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ ส่วนที่สองคือ ตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว หรือ มาเลเซียตะวันออก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดอินโดนีเซีย  และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน   ประเทศมาเลเซีย
ชื่อ คำว่ามาเลเซียเคยถูใช้เรียกหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาก่อน ชื่อของประเทศมาเลเซียถูกตั้งขึ้นเมือ พ . ศ .  2506  โดยมีความหมายรวมเอา สหพันธรัฐมาลายา   สิงค์โปร์   ซาบาห์   ซาราวัก   และบรูไนเข้าด้วยกัน คำว่า มาเลเซียนี้เดิมเคยถูกใช้เป็นชื่อเรียกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นหมู่เกาะมาก่อน ซึ่งปรากฏหลังฐานจากแผนที่ที่ตีพิมพ์ในชิคาโก เมื่อปีพ . ศ .  2457  ในการตั้งชื่อประเทศมาเลเซียนั้นมีการนำเสนอชื่ออื่นๆ มากมายก่อนที่จะได้ผลสรุปให้ใช้ชื่อมาเลเซีย
ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซีย ตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย 11  รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน  ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส มาเลเซีย ตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว  ( กาลิมันตัน )  ประกอบด้วย  2  รัฐ  คือ ซาบาห์ และซาราวัก นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก  3  เขต  คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์  ( เมืองหลวง )  เมืองปุตราจายา  ( เมืองราชการ )  และเกาะลาบวน ที่ตั้ง
การเมือง ในปัจจุบันประกอบด้วยรัฐ  13  รัฐและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีรูปแบบในการปกครองคล้ายอังกฤษกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประมุขแห่งรัฐมีตำแหน่งเป็นพระราชาธิบดี
รัฐ ยะโฮร์ ( ยะโฮร์บาห์รู ) สลังงอร์   ( ชาห์อาลัม ) เประ   ( อีโปห์ ) มะละกา   ( มะละกา ) ปะลิส   ( กังการ์ ) ปีนัง   ( จอร์จทาวน์ ) ปะหัง   ( กวนตัน ) เกดะห์  ( ไทรบุรี )  ( อลอร์สตาร์ ) เนกรีเซมบีลัน   ( สเรมบัน ) มาเลเซียตะวันตก   ( คาบสมุทรมลายู ) ตรังกานู   ( กัวลาตรังกานู ) กลันตัน   ( โกตาบารู )
มาเลเซียตะวันออก   ( เกาะบอร์เนียวตอนเหนือ ) ซาบาห์   ( โกตากินะบะลู ) ซาราวัก   ( กูจิง )
ดินแดนสหพันธ์ มาเลเซียตะวันตก กัวลาลัมเปอร์   ( กัวลาลัมเปอร์ ) ปุตราจายา   ( ปุตราจายา ) มาเลเซียตะวันออก ลาบวน   ( วิกตอเรีย )
มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม  ทำให้มีที่ราบ  2  ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุกมาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิอากาศ ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม
เกษตรกรรม ผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำทั้ง  2  ด้านการทำเหมืองแร่ แร่ที่สำคัญ ได้แก่ แร่ดีบุกส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของ โลกแร่เหล็ก น้ำมัน และแก๊สธรรมชาติการทำป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ส่งไม้ออกเป็นอันดับ  2  ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย อุตสาหกรรม ได้ชื่อว่าเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของเอเชีย  ( NICs) เศรษฐกิจ
ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติในอดีตเคยเกิดสงคราม กลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติ ประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายูร้อยละ  50.4  เป็นชาวภูมิบุตร   คือบุตรแห่งแผ่นดิน  รวมไปถึงชนดั้งเดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่ง ได้แก่กลุ่มชนเผ่าในรัฐซาราวัก และรัฐซาบาห์มีอยู่ร้อยละ  11  ซึ่งตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้น ชาวมลายูนั้นคือมุสลิมและอยู่ในกรอบวัฒนธรรมมลายู แต่ชาวภูมิบุตรที่ไม่ใช่ชาวมลายูนั้น มีจำนวนกว่าครึ่งของประชากรในรัฐซาราวัก  ( ได้แก่ชาวอิบันร้อยละ  30)  และร้อยละ  60  ของประชากรรัฐซาบาห์  ( ได้แก่ชาวกาดาซัน - ดูซุน   ร้อยละ  18  และชาวบาเจา   ร้อยละ  17) นอกจากนี้ยังมีชนพื้นเมืองดั้งเดิมของคาบสมุทรมลายูอีกกลุ่มหนึ่ง คือ โอรัง อัสลี ประชากร
ประชากรกลุ่มใหญ่ที่ไม่ใช่ชาวภูมิบุตรหรือชนดั้งเดิมเป็นพวกที่เข้ามาใหม่ โดยเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน   มีอยู่ร้อยละ  23.7  ซึ่งมีประจายอยู่ทั่วประเทศ  มีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย   อีกร้อยละ  7.1  ของส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬ แต่ยังมีชาวอินเดียกลุ่มอื่น อย่างเกรละ ,  ปัญจาบ ,  คุชรัต   และปาร์ซี   นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย   โดยอาศัยอยู่ในรัฐทางตอนเหนือ ของประเทศ มีคนเชื้อสายชวา   และมินังกะเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่าง รัฐยะโฮร์ ชุมชนลูกครึ่งคริสตัง   ( โปรตุเกส - มลายู )  ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก   และชุมชนลูกครึ่งอื่นๆอย่าง ฮอลันดา และอังกฤษส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกา   ส่วนลูกครึ่งเปอรานากัน   หรือชาวจีนช่องแคบ  ( จีน - มลายู )  ส่วนมากอาศัยอยู่ในรัฐมะละกา   และมีชุมชนอยู่ในรัฐปีนัง
มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเชีย ชึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพล ของศาสนาอิสลามได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม   55%  นับถือศาสนาพุทธ   25%  นับถือศาสนาคริสต์   13%  นับถือศาสนาฮินดู   7%  และลัทธิศาสนาพื้นเมือง  4%  แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทาง ภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ  และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย  " ภูมิบุตร " วัฒนธรรม
มาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนามาในสมัยอาณาจักรศรี วิชัย  แต่ต่อมาศาสนาอิสลามได้เข้ามาแพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่พุทธศตวรรษ ที่ ๒๐ เป็นต้นมาทำให้พุทธศาสนาหมดความสำคัญไป   ในปัจจุบัน  การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ที่รับเชื้อสายมาจาก ชาวจีน ลังกา พม่า และไทย และมีวัดและสำนักสงฆ์ตั้งอยู่ในบางแห่ง เช่น ที่เมืองกัวลาลัมเปอร์และเมืองปีนัง มีวัดไทยตั้งอยู่และมีพระสงฆ์ไทย ไปจำพรรษาอยู่ที่นั่น วัดไทยที่กัวลาลัมเปอร์สร้างขึ้นเมื่อ พ . ศ .  ๒๕๐๓ ด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลมาเลเซีย เรียกชื่อว่า วัดเชตวัน  สร้างเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยสวยงามมาก วัดไทยที่ปีนัง ชื่อ วัดไชยมังคลาราม เป็นวัดไทยที่เก่าแก่ ยังไม่ทราบปีที่สร้างแน่นอน วัดนนี้มีปูชนียสถานสำคัญ เช่น พระพุทธไสยาสน์ และวิหารพระพุทธเจดีย์ ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในเกาะปีนัง .   พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย
เมืองหลวงชื่อ กัวลาลัมเปอร์   ลักษณะการปกครอง ประชาธิปไตย มีกษัตริย์เป็นประมุข   จำนวนประชากร ประมาณ  22.6  ล้านคน   เชื้อชาติ พลเมืองส่วนใหญ่มีเชื้อชาติมลายู นอกนั้นเป็นชาวจีน  ชาวอินเดีย ชาวเขาเผ่าต่างๆ เลือดผสมมลายูกับโปรตุเกส มลายูกับฮอลันดา มลายูกับอังกฤษ   ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม   ภาษาที่ใช้ ภาษาอังกฤษ   ข้อมูลของ ...   ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย .   “ มาเลเซีย . ”   2  ธันวาคม  2553.  < www.vacationzone.co.th/index_malaysian.asp.>  2  ธันวาคม  2553. สารานุกรมเสรี .  “ ประเทศมาเลเซีย . ” 19  พฤศจิกายน  2553 .  < http://th.wikipedia.org/wiki. >  2  ธันวาคม  2553. บรรณานุกรม
จำทำโดย นายธีรวุฒิ  ดวงบุรมย์ ชั้น ม . 5 / 3  เลขที่ 7 จบการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนKetsuro Yuki
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

Similar to ประเทศมาเลเซีย

ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10naeun_hunhan
 
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียa
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10Korofew410
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 

Similar to ประเทศมาเลเซีย (9)

Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ประเทศมาเลเซีย

  • 2. ประเทศ มาเลเซีย เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยมีทะเลจีนใต้กั้น ส่วนแรกคือ คาบสมุทรมลายู หรือ มาเลเซียตะวันตก มีพรมแดนทางทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ ส่วนที่สองคือ ตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว หรือ มาเลเซียตะวันออก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน ประเทศมาเลเซีย
  • 3. ชื่อ คำว่ามาเลเซียเคยถูใช้เรียกหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาก่อน ชื่อของประเทศมาเลเซียถูกตั้งขึ้นเมือ พ . ศ . 2506 โดยมีความหมายรวมเอา สหพันธรัฐมาลายา สิงค์โปร์ ซาบาห์ ซาราวัก และบรูไนเข้าด้วยกัน คำว่า มาเลเซียนี้เดิมเคยถูกใช้เป็นชื่อเรียกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นหมู่เกาะมาก่อน ซึ่งปรากฏหลังฐานจากแผนที่ที่ตีพิมพ์ในชิคาโก เมื่อปีพ . ศ . 2457 ในการตั้งชื่อประเทศมาเลเซียนั้นมีการนำเสนอชื่ออื่นๆ มากมายก่อนที่จะได้ผลสรุปให้ใช้ชื่อมาเลเซีย
  • 4. ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซีย ตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส มาเลเซีย ตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ( กาลิมันตัน ) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ( เมืองหลวง ) เมืองปุตราจายา ( เมืองราชการ ) และเกาะลาบวน ที่ตั้ง
  • 5. การเมือง ในปัจจุบันประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีรูปแบบในการปกครองคล้ายอังกฤษกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประมุขแห่งรัฐมีตำแหน่งเป็นพระราชาธิบดี
  • 6. รัฐ ยะโฮร์ ( ยะโฮร์บาห์รู ) สลังงอร์ ( ชาห์อาลัม ) เประ ( อีโปห์ ) มะละกา ( มะละกา ) ปะลิส ( กังการ์ ) ปีนัง ( จอร์จทาวน์ ) ปะหัง ( กวนตัน ) เกดะห์ ( ไทรบุรี ) ( อลอร์สตาร์ ) เนกรีเซมบีลัน ( สเรมบัน ) มาเลเซียตะวันตก ( คาบสมุทรมลายู ) ตรังกานู ( กัวลาตรังกานู ) กลันตัน ( โกตาบารู )
  • 7. มาเลเซียตะวันออก ( เกาะบอร์เนียวตอนเหนือ ) ซาบาห์ ( โกตากินะบะลู ) ซาราวัก ( กูจิง )
  • 8. ดินแดนสหพันธ์ มาเลเซียตะวันตก กัวลาลัมเปอร์ ( กัวลาลัมเปอร์ ) ปุตราจายา ( ปุตราจายา ) มาเลเซียตะวันออก ลาบวน ( วิกตอเรีย )
  • 9. มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุกมาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิประเทศ
  • 11. เกษตรกรรม ผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำทั้ง 2 ด้านการทำเหมืองแร่ แร่ที่สำคัญ ได้แก่ แร่ดีบุกส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของ โลกแร่เหล็ก น้ำมัน และแก๊สธรรมชาติการทำป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ส่งไม้ออกเป็นอันดับ 2 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย อุตสาหกรรม ได้ชื่อว่าเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของเอเชีย ( NICs) เศรษฐกิจ
  • 12. ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติในอดีตเคยเกิดสงคราม กลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติ ประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายูร้อยละ 50.4 เป็นชาวภูมิบุตร คือบุตรแห่งแผ่นดิน รวมไปถึงชนดั้งเดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่ง ได้แก่กลุ่มชนเผ่าในรัฐซาราวัก และรัฐซาบาห์มีอยู่ร้อยละ 11 ซึ่งตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้น ชาวมลายูนั้นคือมุสลิมและอยู่ในกรอบวัฒนธรรมมลายู แต่ชาวภูมิบุตรที่ไม่ใช่ชาวมลายูนั้น มีจำนวนกว่าครึ่งของประชากรในรัฐซาราวัก ( ได้แก่ชาวอิบันร้อยละ 30) และร้อยละ 60 ของประชากรรัฐซาบาห์ ( ได้แก่ชาวกาดาซัน - ดูซุน ร้อยละ 18 และชาวบาเจา ร้อยละ 17) นอกจากนี้ยังมีชนพื้นเมืองดั้งเดิมของคาบสมุทรมลายูอีกกลุ่มหนึ่ง คือ โอรัง อัสลี ประชากร
  • 13. ประชากรกลุ่มใหญ่ที่ไม่ใช่ชาวภูมิบุตรหรือชนดั้งเดิมเป็นพวกที่เข้ามาใหม่ โดยเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน มีอยู่ร้อยละ 23.7 ซึ่งมีประจายอยู่ทั่วประเทศ มีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย อีกร้อยละ 7.1 ของส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬ แต่ยังมีชาวอินเดียกลุ่มอื่น อย่างเกรละ , ปัญจาบ , คุชรัต และปาร์ซี นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย โดยอาศัยอยู่ในรัฐทางตอนเหนือ ของประเทศ มีคนเชื้อสายชวา และมินังกะเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่าง รัฐยะโฮร์ ชุมชนลูกครึ่งคริสตัง ( โปรตุเกส - มลายู ) ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และชุมชนลูกครึ่งอื่นๆอย่าง ฮอลันดา และอังกฤษส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกา ส่วนลูกครึ่งเปอรานากัน หรือชาวจีนช่องแคบ ( จีน - มลายู ) ส่วนมากอาศัยอยู่ในรัฐมะละกา และมีชุมชนอยู่ในรัฐปีนัง
  • 14. มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเชีย ชึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพล ของศาสนาอิสลามได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม 55% นับถือศาสนาพุทธ 25% นับถือศาสนาคริสต์ 13% นับถือศาสนาฮินดู 7% และลัทธิศาสนาพื้นเมือง 4% แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทาง ภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย &quot; ภูมิบุตร &quot; วัฒนธรรม
  • 15. มาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนามาในสมัยอาณาจักรศรี วิชัย แต่ต่อมาศาสนาอิสลามได้เข้ามาแพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่พุทธศตวรรษ ที่ ๒๐ เป็นต้นมาทำให้พุทธศาสนาหมดความสำคัญไป ในปัจจุบัน การนับถือพระพุทธศาสนาในมาเลเซียมีอยู่เฉพาะในบรรดาผู้ที่รับเชื้อสายมาจาก ชาวจีน ลังกา พม่า และไทย และมีวัดและสำนักสงฆ์ตั้งอยู่ในบางแห่ง เช่น ที่เมืองกัวลาลัมเปอร์และเมืองปีนัง มีวัดไทยตั้งอยู่และมีพระสงฆ์ไทย ไปจำพรรษาอยู่ที่นั่น วัดไทยที่กัวลาลัมเปอร์สร้างขึ้นเมื่อ พ . ศ . ๒๕๐๓ ด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลมาเลเซีย เรียกชื่อว่า วัดเชตวัน สร้างเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยสวยงามมาก วัดไทยที่ปีนัง ชื่อ วัดไชยมังคลาราม เป็นวัดไทยที่เก่าแก่ ยังไม่ทราบปีที่สร้างแน่นอน วัดนนี้มีปูชนียสถานสำคัญ เช่น พระพุทธไสยาสน์ และวิหารพระพุทธเจดีย์ ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในเกาะปีนัง . พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย
  • 16. เมืองหลวงชื่อ กัวลาลัมเปอร์ ลักษณะการปกครอง ประชาธิปไตย มีกษัตริย์เป็นประมุข จำนวนประชากร ประมาณ 22.6 ล้านคน เชื้อชาติ พลเมืองส่วนใหญ่มีเชื้อชาติมลายู นอกนั้นเป็นชาวจีน ชาวอินเดีย ชาวเขาเผ่าต่างๆ เลือดผสมมลายูกับโปรตุเกส มลายูกับฮอลันดา มลายูกับอังกฤษ ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาที่ใช้ ภาษาอังกฤษ ข้อมูลของ ... ประเทศมาเลเซีย
  • 17. ประเทศมาเลเซีย . “ มาเลเซีย . ” 2 ธันวาคม 2553. < www.vacationzone.co.th/index_malaysian.asp.> 2 ธันวาคม 2553. สารานุกรมเสรี . “ ประเทศมาเลเซีย . ” 19 พฤศจิกายน 2553 . < http://th.wikipedia.org/wiki. > 2 ธันวาคม 2553. บรรณานุกรม
  • 18. จำทำโดย นายธีรวุฒิ ดวงบุรมย์ ชั้น ม . 5 / 3 เลขที่ 7 จบการนำเสนอ