Publicidad

Más contenido relacionado

Similar a โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)(20)

Publicidad

โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)

  1. 1.นายณัฐชา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา 5417600006 2.น.ส.จิตตะมาส โพธิ์ถวิล 5417600005 3.นายรณชัย ฉัตรทอง 5417600004
  2. ประโยชน์ที่จะได้รับ ?  ได้รับรู้ที่มาของ INMS  ได้รับความรู้เกี่ยว Net Ham ในเบื้องต้น  ทาให้ทราบถึงความสามารถของโปรแกรม
  3. โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (INMS) โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (INMS) INMS ย่อมาจาก Intelligent Network Management System เป็นโครงการที่จัดทาเพื่อพัฒนา ระบบบริหารจัดการเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สาหรับองค์กรขนาดกลางและขนาดเล็กทั่วไป
  4.  ระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะมีส่วนประกอบ 3 ส่วน NetHAM Network Health Analysis and Monitoring ต้นแบบระบบ ตรวจสอบสถานะการทางานของอุปกรณ์เครือข่ายและบริการ NtopViewer ต้นแบบระบบตรวจจับและวิเคราะห์ปริมาณการใช้งาน และพฤติกรรมการใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต BaCon Bandwidth Controller ต้นแบบระบบจัดการ bandwidth ที่ สามารถควบคุมการใช้ bandwidth ของผู้ใช้
  5. NetHAM (Network Health Analysis & Monitoring)  ความเป็นมา การบริหารจัดการเครือข่ายภายในองค์กร ปัญหาที่พบเสมอคือความผิดปกติ ภายในระบบที่เกิดขึ้นได้ทุกขณะ อีกทั้งการหาต้นเหตุของปัญหา ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย การนาระบบตรวจสอบการทางานเครือข่ายอัตโนมัติมาใช้ จึงสามารถ ทาให้รับรู้ ในทันทีที่เกิดปัญหา และสามารถทาการแก้ไขได้ทันที ส่งผลให้การทางานของ ระบบเครือข่ายภายในองค์กรเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ
  6. NetHAM จึงถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้เป็นระบบตรวจสอบและแสดงสถานภาพ เครือข่าย โดยเฉพาะสาหรับห้างร้าน องค์กรขนาดเล็ก หรือโรงเรียน ซึ่งอาจจะไม่มี งบประมาณมากพอที่จะซื้อซอฟท์แวร์บริหารเครือข่ายราคาแพงของผู้ผลิตอุปกรณ์ เครือข่ายยี่ห้อต่างๆ โดยเน้นให้ใช้งานสะดวก มีระบบการแสดงผลด้วยภาพที่เข้าใจง่าย ช่วยให้ผู้ดูแลระบบสามารถเห็นภาพรวมของระบบได้อย่างรวดเร็ว
  7. การพัฒนา NetHAM  ถูกพัฒนาขึ้นโดยการต่อยอดจาก open-source ที่มีการพัฒนาระบบเชื่อมต่อโมดูล ต่างๆเข้าด้วยกัน แกนหลักของระบบคือ Nagios เป็นซอฟแวร์ที่ใช้ในการตรวจสอบ สถานะการทางานและทรัพยากรบนอุปกรณ์เครือข่าย มีการนาไปใช้ในองค์กรจานวน มาก แต่จุดด้อยของโปรแกรม คือ การที่มี interface ที่ค่อนข้างเข้าใจยาก และ มี configuration ที่ซับซ้อน อีกทั้ง Nagios ไม่มีการเก็บบันทึกค่าเชิงสถิติของบริการที่ ตรวจวัดมาได้ จึงไม่สามารถเรียกดูข้อมูลย้อนหลังในส่วนนี้ได้ ทีมพัฒนาได้พัฒนา ความสามารถเพื่อเสริมจุดเด่น และแก้ข้อด้อยเพื่อให้ได้ GUI ที่มีความสามารถสูง โต้ตอบกับผู้ใช้ได้แบบทันท่วงที ทีมพัฒนาจึงเลือกที่จะพัฒนาระบบบน Adobe Flex และอาศัย AMFPHP เป็นตัวกลางในการสื่อสารระหว่าง client และ server ทาให้ผู้ดูแล ระบบสามารถเข้ามาตรวจสอบระบบได้จากทุกที่ เพียงแค่มี internet connection และ browser ที่รองรับการใช้งาน Flash
  8. ความสามารถของโปรแกรม ดูสถานะของระบบผ่าน web interface ได้จากทุกที่ ระบบแผนภาพ topology ช่วยให้เข้าใจง่าย เห็นภาพรวมได้ชัด เก็บข้อมูลเชิงสถิติของ service แสดงเป็นกราฟ ดูย้อนหลัง และ ซูมดูกราฟในช่วงเวลาได้ ตั้งเวลาตรวจสอบสถานะของ service ได้ กาหนดรูปแบบการตรวจวัดได้อย่างละเอียด สามารถพัฒนา plug-in และ module สาหรับ รองรับ service ใหม่ๆในอนาคตได้ แจ้งเตือนผู้ดูแลระบบผ่านทางอีเมล์ กรณีที่ตรวจพบความผิดปกติในระบบ
  9. OSที่รองรับ  Fedora 14 CentOS 5 Debian 6 Ubuntu 10.04 32 and 64-bit  (ส่วน WINDOW เป็นเวอร์ชั่น ทดลอง)
  10. ราตรีสวัสดิ์ครับ พี่น้องชาวไทย โปรดติดตามตอนต่อไป...................
Publicidad