SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1


การศึกษาแนวทางการส่ งเสริมการท่องเที่ยวเพือการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี
                                          ่
        A Study of Tourist Promotion Guideline for Art and Cultural Learning in
                             Cradles of Civilization of Ratchaburi Province

                ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. นริ นทร์ สังข์รักษา e-mail : narin2100@yahoo.com
                  ้
                    ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทคัดย่อ
          การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรี ยบเทียบระดับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา
                 ั          ั
ศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี 2) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
เพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี และ 3) ศึกษาแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยว
เชิ งวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัด ราชบุ รี การวิจ ัย ครั้ งนี้ ใช้ระเบี ยบวิธีก ารวิจ ัยแบบผสมผสานวิ ธี
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 วิธีการวิจยเชิงปริ มาณ กลุ่มที่ 1 กลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย
                                                     ั
จานวน 400 คนสุ่มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ กลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่างผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว จานวน 86 คน
สุ่มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ เครื่ องมือที่ใช้เป็ นแบบสอบถาม 2 ชุด ขั้นตอนที่ 2 การวิจยเชิงคุณภาพ โดยการ
                                                                                     ั
สัมภาษณ์ระดับลึก จานวน 17 คน และสนทนากลุ่ม จานวน 12 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง รวบรวม
ข้อมูลที่ได้และวิเคราะห์ขอมูลเชิงปริ มาณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จรู ป สถิติที่ใช้ ร้อยค่า ค่าเฉลี่ย
                              ้
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบที และทดสอบเอฟ และวิเคราะห์ขอมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เนื้ อหา
                                                                    ้
(Content Analysis)
         ผลการวิจ ัยพบว่า 1) แรงจูงใจในการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( X
=3.69,S.D.=.949) การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรเพศกับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ของนัก ท่องเที่ ยวไม่แตกต่ างกัน ส่ ว นการวิเคราะห์ค วามแปรปรวนแบบทางเดียวของแรงจูงใจในการ
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว จาแนกตามอายุ การศึกษา และอาชีพ แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ ั
ระดับ .05 (p-value =.000,.000 , .000) ตามลาดับ 2) ความคิดเห็นต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน
ภาพรวม อยูในระดับมาก ( X =3.59,S.D.=.946) การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรเพศกับความคิดเห็น
              ่
ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 (p-value= .008) ส่วนการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของความคิดเห็นในการ
จัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว จาแนกตามอายุ ระยะเวลาในการทางาน
และการศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 (p-value =.023,.000 , .000) ตามลาดับ 3) แนว
                                            ั
ทางการส่ ง เสริ มการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒ นธรรมประกอบด้ว ย 2 องค์ป ระกอบ คื อ 1) แหล่ ง ท่ องเที่ ย ว
ประกอบด้วยการวิเคราะห์ส่วนขาดในปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูเ้ กี่ ยวข้อง การพัฒนาแบบค่ อยเป็ น
ค่อยไปตามหลักปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียง การมีผนาที่ เข้มแข็ง เสี ยสละและจิตอุทิศ การมีส่ว นร่ ว มของ
                                                       ู้
ชุมชน ในลัก ษณะของ “บวร” ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรี ยน และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวให้โดดเด่ น 2)
2


หน่ ว ยงานภาครั ฐประกอบด้วย การสนับสนุ น จากภาครัฐ ทั้งความรู้ สิ่ งอานวยความสะดวก การพัฒนา
ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว บุคลากร การประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

Abstract
         This research was aimed to study 1) the motive force level in Thai tourists regarding
art and cultural learning in cradles of civilization of Ratchaburi Province 2) the opinion of
tourist related groups toward this tourism and 3) the guideline of tourist promotion. The
research process was based on the integration of quantitative and qualitative methodologies
and divided into two steps as follows:
         Starting from the first step of quantitative method, four hundred of Thai tourists and
eighty-six of other related persons were systematically chosen as our respondents and these
were interviewed with structural questionnaire set no.1 and no.2 respectively. After that in the
second step would be conducted with the qualitative method, the seventeen and twelve key
informants were purposively selected to in-depth interview and invited to joint in the one
setting of focus group discussion respectively. The quantitative data was statistically analyzed
with Statistical Computer Program Package and presented in percentage, mean, standard
deviation, outcomes of t-test and F-test method. For the qualitative data it would be then
analyzed with the technique of content analysis.
         From the results, the motive force of Thai tourists and the opinion of other persons
were measured and shown its overall results at much level ( X =3.69, S.D. =.949 and X =3.59,
S.D. =.946 respectively). When tested with F-test method, the tourists had their age,
education and occupation associate with the motive force level significantly at P ≤.05. The
guideline of tourist promotion was comprised of two components as follows:
         The tourist sites: There should have the analysis in its shortages and problems
including to any recommendations from stake holders. The sites should be gradually
developed and this was based on Philosophy of Self-Sufficient Economy. The leaders should
have to have their strong leadership, sacrifice and public mind. The community involvement
should be formulated from the co-working together of three main parts namely Home,
Temple and School (HTS).
         The government sector: To build up the capacities of tourist sites, the government
offices should support and promote them until to have enough knowledge, human resources,
public relation and advertising, movement of continuous activities and other facilities.


บทนา
        การท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมที่เจริ ญเติบโตและมีความสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศไทย รั ฐบาลจึงมีนโยบายส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว โดยการท่องเที่ย วเริ่ มเข้ามามีบทบาท
สาคัญ ในการพัฒ นาประเทศอย่า งจริ งจังเป็ นครั้ งแรก เมื่อ มีก ารบรรจุ แ ผนพัฒ นาการท่ องเที่ ย วไว้ใ น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 เรื่ อยมา จนถึงปัจจุบน (นริ นทร์ สังข์รักษา, 2552 : 1)
                                                                     ั
        จัง หวัด ราชบุ รี อยู่ห่ า งจากกรุ งเทพฯ เพี ย ง 100 กิ โ ลเมตร เป็ นจัง หวัด ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด ้ว ย
ทรั พยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความได้เปรี ย บทางด้านทาเลที่ ต้ ัง ประกอบกับโครงสร้ าง
พื้นฐานของจังหวัดมีการพัฒนาการเกษตรในทุกด้าน อีกทั้งมีแม่น้ าแม่กลอง ทาให้สภาพดินและแหล่งน้ ามี
ความอุด มสมบูร ณ์ สามารถปลูกพืชและสัตว์เศรษฐกิจ ได้หลายชนิ ด (ศาลากลางจังหวัด ราชบุ รี .2555)
3


เศรษฐกิจหลักของจังหวัดราชบุรีจึงมีสภาพทั้งเกษตรกรรม พาณิ ชยกรรม อุตสาหกรรม และเป็ นศูนย์กลาง
การบริ การของส่ วนราชการต่างๆ จังหวัดราชบุรีย งเป็ นเมืองโบราณที่ได้มีก ารค้น พบในช่วงเริ่ มต้นของ
                                                        ั
การศึกษาด้านโบราณคดี โบราณสถานและโบราณวัตถุ เหล่านี้ถือเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม แสดงให้เห็นถึง
รากฐานของการเป็ นสังคมไทย เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีที่ช้ ีให้เห็นถึงประวัติความ
เป็ นมาอันยาวนานของชาติ ทั้งยังเป็ นประจักษ์พยานสาคัญที่แสดงว่า ชาติไทยมีอารยธรรมที่เจริ ญรุ่ งเรื องมา
นานนับศตวรรษ (เที่ยวชมราชบุรี, ม.ป.ป.) จังหวัดราชบุรีมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญและมีชื่อเสี ยงหลาย
แห่ง เช่น พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เขาแก่นจันทร์ พระปรางวัดมหาธาตุวรวิหาร เมืองโบราณคูบว จิปาถะ      ั
ภัณฑ์สถานบ้านคูบว วัดหนองหอย ถ้าเขาบิน พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วดขนอน วัดเขาช่องพราน วัดคงคาราม
                       ั                                               ั
ถ้าจอมพล ตลาดน้ าดาเนิ นสะดวก ธารน้ าร้อนบ่อคลึง เขากระโจม อุทยานหุ่ นขี้ผ้ ึงสยาม ตลาดเจ็ดเสมียน
119 ปี และศูนย์วฒนธรรมไทยทรงดา ฯลฯ (ราชบุรี, มป.ป. 26-63 ; ผูว่าฯ ชวนกิน ชวนซื้อ ชวนเที่ยว ชวน
                     ั                                                   ้
พักราชบุรี, ม.ป.ป. : 11-163)
          จึ งเห็ น ได้ว่า จัง หวัด ราชบุ รี มีศก ยภาพในเรื่ องของการท่ องเที่ ย ว โดยเฉพาะการท่ องเที่ ยวเชิ ง
                                                ั
วัฒนธรรมของจังหวัด ราชบุรี ที่สาคัญ ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมที่ มีชื่อเสี ยง ได้แก่ 1) เมือง
โบราณคูบว รวมถึงจิปาถะภัณฑ์สถานบ้านคูบว 2) หนังใหญ่วดขนอน 3) จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม ของ
              ั                                       ั           ั
จังหวัดราชบุรี ดังนั้นผูวิจยจึงต้องการวิจยแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการ
                            ้ ั                   ั
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยังยืน ตลอดจนสร้างแรงจูงใจของนักศึกษาหรื อนักท่องเที่ยวมา
                                                    ่
ท่องเที่ ยวเพื่อการศึก ษา อัน เป็ นการท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ ในการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมอู่อารยธรรม
จังหวัดราชบุรี

วัตถุประสงค์การวิจย  ั
        1. เพื่อ ศึ ก ษาเปรี ยบเที ย บระดับ แรงจู ง ใจของนัก ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อการศึ ก ษาศิ ลปวัฒนธรรมใน
อู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี
        2. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมใน
อู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี
        3. เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี

แนวคิด ทฤษฎีเกียวกับการท่องเที่ยวและบริการ
                 ่
       ผูวิจยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว
         ้ ั
เชิงวัฒนธรรม แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ บริ บทและข้อมูลทัวไปของจังหวัดราชบุรี ประกอบด้วย
                                                                   ่
แนวคิดของนักวิชาการ ดังนี้
       -แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ตามแนวคิดของ อุดม เชยกีวงศ์ และคณะ(2548), ศรัญยา วรากุลวิทย์,
(2546) , วรรณา วงษ์วานิช, (2539) , บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) , การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2541)
4


       -แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตามแนวคิดของบุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) ,Gee, Choy
and Makens (1984),ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2542), การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2541)
       -แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดของบุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548)
      -แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ ตามแนวคิดของจันทร์ ชุ่มเมืองปี ก (2546) , สิ ทธิโชค วรานุ สนติกุล (2546)
                                                                                          ั
,บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา (2548)

ระเบียบวิธีการวิจย    ั
           การวิจยครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีก ารวิจ ัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) เก็บรวบรวม
                  ั
ข้อมูลเชิ งปริ มาณ และเชิ งคุ ณ ภาพ ประกอบด้ว ย 2 ขั้น ตอน คื อ ขั้น ตอนที่ 1 วิธีก ารวิจ ัยเชิ งปริ มาณ
ประชากรที่ใช้ในการวิจย ครั้งนี้ กลุ่มที่ 1 เป็ นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาท่องเที่ ยวในจังหวัดราชบุรี ในปี
                              ั
2553 จานวน 1,115,221 คน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 คน วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ (Systematic
Random Sampling) และแต่ ละแหล่งท่องเที่ย วทั้ง 3 แห่ ง ใช้การสุ่ มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)
กลุ่มที่ 2 เป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ ยว 3 แห่ ง จานวน 110 คน กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 86 คน ใช้การสุ่ มตัว อย่างแบบเป็ นระบบ (Systematic Random Sampling) เครื่ องมือที่ ใช้เป็ น
แบบสอบถาม 2 ชุด ชุดที่ 1 นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีค่าเชื่อมัน (r) = .9134 ชุดที่
                                                                                           ่
สอง ผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว มีค่าเชื่อมัน (r) = .8786 ขั้นตอนที่ 2 การวิจยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์
                                               ่                                ั
ระดับลึก จ านวน 17 คน และสนทนากลุ่ม จ านวน 12 คน ใช้วิธีก ารคัด เลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) รวบรวมข้อมูลที่ได้และวิเคราะห์ข ้อมูลเชิ งปริ มาณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จ รู ป และ
วิเคราะห์ขอมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
              ้

ผลการวิจย
        ั
       1. แรงจูงใจของนักท่ องเที่ยวเพือการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี
                                      ่
5


ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิง
           วัฒนธรรมโดยรวม
                                                                                    (n=400 คน)

                                                                                        ระดับ        ลาดับ
             แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม                              S.D.
                                                                       X
                                                                                       แรงจูงใจ        ที่
    1.ด้านสิ่งดึงดูดใจในการท่องเที่ยว                                 3.88 .919          มาก           1
    2. ด้านสิ่งอานวยความสะดวก                                         3.83 .883          มาก           2
    3. ด้านการบริ การ                                                 3.76 .925          มาก           3
    4. ด้านการเดินทาง                                                 3.60 .902          มาก           5
    5. ด้านการประชาสัมพันธ์                                           3.41 1.057       ปานกลาง         6
    6. ด้านจุดมุ่งหมายในการท่องเที่ยว                                 3.67 1.010         มาก           4
                            รวม                                       3.69 .949          มาก

          จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวมทั้ง 6 ด้าน
อยู่ใ นระดับ มาก ( X =3.69,S.D.=.949) ยกเว้น ด้า นการประชาสั ม พัน ธ์ อ ยู่ใ นระดับ ปานกลาง ( X
=3.41,S.D.=1.057) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านสิ่งดึงดูดใจในการท่องเที่ยวมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด
( X =3.88,S.D.=.919) รองลงมาเป็ นด้านสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าคะแนนเฉลี่ย( X =3.83,S.D.=.883) และ
ด้านที่ต่าที่สุดอยูในระดับปานกลาง คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ ( X =3.41,S.D.=1.057)
                   ่

        2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลียของคะแนนแรงจูงใจในการท่ องเที่ยวของกลุ่มตัวอย่าง
                                                      ่
ที่มลกษณะส่ วนบุคคลได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ
     ีั
          การเปรี ยบเที ย บค่ า เฉลี่ ย ระหว่ า งตัว แปรกับ แรงจู ง ใจในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมของ
นักท่องเที่ยว จาแนกตามเพศ มีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวไม่แตกต่างกัน
         การวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวนแบบทางเดี ย วของคะแนนความพึ ง พอใจในการท่ อ งเที่ ยวเชิ ง
ศิลปวัฒนธรรม ของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามช่วงอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ มีความพึงพอใจใน
การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ของนักท่องเที่ยว แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 สรุ ปได้ดงตาราง
                                                                        ั                             ั
ที่ 2
6




ตารางที่ 2 สรุ ปการเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิง
            วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว จาแนกตามลักษณะส่วนบุคคล

   ที่              ลักษณะส่วนบุคคล                   การเปรี ยบเทียบ       วิเคราะห์ความแปรปรวน
                                                   t-test        p-value       F-test     p-value
    1                    เพศ                       -.910           .363
    2                    อายุ                                                 5.594*       .000
    3                  การศึกษา                                               9.821*       .000
    4                   อาชีพ                                                 3.599*       .000
         *ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

         3. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการจัดการท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดราชบุรี
ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับความคิดเห็นในการท่องเที่ยว
          เชิงวัฒนธรรมโดยรวม
                                                                                          (n=81 คน)

                                                                                  ระดับความ ลาดับ
         ความคิดเห็นต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม                  S.D.
                                                                    X
                                                                                    คิดเห็น   ที่
    1. การจัดการด้านกายภาพหรื อภูมิทศน์
                                    ั                              3.81 .876         มาก      1
    2. การจัดการด้านแหล่งท่องเที่ยว                                3.50 1.032        มาก      4
    3. การจัดการด้านความสะดวกหรื อการบริ การพื้นฐาน                3.54 .935         มาก      3
    4. การจัดการด้านความปลอดภัย                                    3.60 .950         มาก      2
    5. การมีส่วนร่ วมของชุมชน                                      3.48 .950       ปานกลาง    5
                            รวม                                    3.59 .946         มาก

          จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวม
ทั้ง 5 ด้านอยูในระดับมาก ( X =3.59,S.D.=.946) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การจัดการด้านกายภาพหรื อ
              ่
ภูมิทศน์ มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ( X =3.81,S.D.=.876) รองลงมาเป็ นการจัดการด้านความปลอดภัย มีค่า
      ั
คะแนนเฉลี่ย( X =3.60,S.D.=.950) และด้านที่ต่าที่สุดอยูในระดับปานกลาง คือ การมีส่วนร่ วมของชุมน ( X
                                                       ่
=3.48,S.D.=.950)
7


        4. การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลียของคะแนนแรงจูงใจในการท่ องเที่ยวของกลุ่มตัวอย่าง
                                                      ่
ที่มลกษณะส่ วนบุคคลได้ แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาในการทางาน และระดับการศึกษา
     ีั
          การเปรี ยบเที ย บค่ า เฉลี่ ย ระหว่ า งตัว แปรกับ แรงจู ง ใจในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมของ
นักท่องเที่ยว จาแนกตามเพศ มีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05
                                                                           ั
         การวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวนแบบทางเดี ย วของคะแนนความพึ ง พอใจในการท่ อ งเที่ ยวเชิ ง
ศิลปวัฒนธรรม ของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามช่วงอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ มีความพึงพอใจใน
การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ของนักท่องเที่ยว แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 สรุ ปได้ดงตาราง
                                                                        ั                             ั
ที่ 4

ตารางที่ 4 สรุ ปการเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของความคิดเห็นต่อการจัดการ
          ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จาแนกตามลักษณะส่ วน
          บุคคล
   ที่              ลักษณะส่วนบุคคล                     การเปรี ยบเทียบ      วิเคราะห์ความแปรปรวน
                                                     t-test        p-value      F-test     p-value
   1                       เพศ                      -2.708*          .008
   2                       อายุ                                                 2.792*      .023
   3              ระยะเวลาในการทางาน                                            9.958*      .000
   4                     การศึกษา                                               6.152*      .000
       *ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

         5. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
            จากการสัมภาษณ์ระดับลึก ผูให้ขอมูลหลัก ได้แก่ เจ้าอาวาสวัดทั้ง 3 แห่ ง นายกองค์การบริ หาร
                                          ้ ้
ส่ ว นต าบล ก านัน และผูใหญ่ บ้าน แห่ งละ 4 คน และหน่ ว ยงานภาครั ฐ คื อ ท่ อ งเที่ ยวและกี ฬาจังหวัด
                         ้
วัฒ นธรรมจังหวัด รวม 17 คน และการสนทนากลุ่ ม (Focus Group Discussion) กับ ผูเ้ กี่ ยวข้องกับ
การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรม จานวน 12 คน ผลการวิจย ดังนี้  ั
          5.1 สภาพการณ์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดราชบุรี
              จากการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ระดับลึก และการสนทนากลุ่ม กับผูเ้ กี่ยวข้อง
กับการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และหน่วยงานท้องถิ่น รวมถึงภาครัฐ ในประเด็นสภาพการณ์ ปั ญหาของทั้ง
3 แห่ง พบว่า สภาพของการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรีไ ด้มีการพัฒนาที่กาวหน้าเป็ น ้
ลาดับจากที่สถานที่ท่องเที่ยวไม่ค่อยรู้จก จนเริ่ มมีชื่อเสี ยงมากขึ้นเนื่ องจากจังหวัดราชบุรีมีอตลักษณ์ทาง
                                        ั                                                      ั
วัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งชาติพนธุ์ จึงต้องสืบสานอนุรักษ์ไว้ให้คนรุ่ นหลัง นอกจากนี้ ยงกล่าวเสริ มอีกว่า
                                 ั                                                       ั
8


วัฒนธรรมที่มีความหลากหลายชาติพนธุ์ ดังว่า “ถ้ ามองด้ านพืนถิ่น ชาติพันธุ์คนราชบุรีเป็ นคนรั กษาเรื่ อง
                                     ั                       ้
ความเป็ นอยู่ในอัตลักษณ์ ของเขา อยากให้ เยาวชนรุ่ นหลังคงไว้ ซึ่งเชื ้อสาย ภาษาที่ เป็ นเอกลักษณ์ คงไว้ ซึ่ง
ความงามความดี สืบสานกันไว้ ” ซึ่ งจังหวัดราชบุ รีมีทุนทางวัฒนธรรมมากมาย ถึง 8 ชาติ พนธุ์นับเป็ น
                                                                                               ั
อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของจังหวัดราชุรี โดยที่จงหวัดราชบุรีมีจุดเด่นในเรื่ องของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                                            ั
กับการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของชุมชนได้ ดังที่วฒนธรรมจังหวัดราชบุรี
                                                                                    ั
กล่าวว่า

              “ถ้ าพูดถึงคุณค่ าศิ ลปวัฒนธรรมราชบุรี จะมองถึงศิ ลปวัฒนธรรมที่ มีทุนเดิมมากมาย เป็ นต้ นว่ า ชาติ พันธุ์
      ต่ างๆ เพราะเป็ นเมืองต้ นราชวงศ์ ที่ 1 เป็ นหลักฐานบ่ งบอกความเป็ นอยู่ในจังหวัด ซึ่ งประเทศไทยมีหลากหลาย
      ทางศาสนา ทางราชบุรี ก็จะมี ทั้ ง พุทธ คริ สต์ อิ สลาม ที่ เ ข้ า มาอยู่ ตรงนี ้ และเป็ นคนที่ รัก พื ้น ถิ่ น กันอยู่ เช่ น
      ชาวไทยพื ้นถิ่นจะอยู่แถวโพธาราม มีประเพณี อนุรักษ์ ไว้ และเวลามี ช่วงวัฒนธรรมเราก็จะจั ดงานวัฒนธรรม
      อนุรักษ์ เกี่ ยวกับชาติพันธ์ และอาหารพื ้นถิ่น... จริ งๆแล้ วเรามีทุนทางวัฒนธรรมอยู่แล้ ว เราไม่ จาเป็ นต้ องสร้ าง
      ให้ เป็ นสมัยใหม่ เช่ น สวนผึ ้ง จะมีโครงการที่ วัฒนธรรมทาอยู่แล้ ว ชื่ อว่ าโครงการบ้ านรั กษ์ ไทย ตรงนั้นจะมี
      ชาวกระเหรี่ ยงอยู่ เราก็จ ะส่ งเสริ มให้ พื้นที่ เหล่ านั้นเป็ นหมู่บ้านชาวกระเหรี่ ยงและอยากให้ มีอาชี พเกี่ ยวกั บ
      การถักทอ ทอผ้ า การค้ าขาย ปลูกผักเกี่ ยวกับพื ชการเกษตร ให้ ได้ มาจาหน่ ายในหมู่บ้าน เพราะทุกวันนี ้ตรงนั้น
      น่ าจะเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวอย่ างดีเลย”

         ส่ ว นสภาพการณ์ ก ารท่ องเที่ ยวในจังหวัด ราชบุ รี ทางสานักงานการท่ องเที่ ยวและกี ฬาในฐานะ
ผูรับผิด ชอบโดยตรงของจังหวัด ราชบุ รี ซึ่ ง หัว หน้า กลุ่มงานการท่ องเที่ ย ว กล่า วถึ ง ภาพรวมของการ
  ้
ท่องเที่ยวในจังหวัดราชบุรี ดังว่า

               “ราชบุรีเคยเป็ นอู่ อารยธรรมมาก่ อน ทางโบราณคดี ของเก่ า ที่ ค้น พบได้ เ คยเจริ ญมาก่ อนในสมัย
      ทวาราวดี ทางส านั ก งานเองพยายามพรี เซ็ น ต์ ร าชบุ รี ในฐานะเมื อ งเก่ า ก็จ ะน าศิ ล ปะเผยแพร่ ต่ อ สายตา
      นักท่ องเที่ ยว ...เติ บโตค่ อนข้ างเร็ ว เด่ นๆอยู่ 3 อย่ างค่ ะ อย่ างแรกคื อ ความหลากหลายของชาติ พันธุ์ ความ
      หลากหลายทางวัฒนธรรม และ ความหลากหลายของศิ ลปะ คื อ เรานาเสนอราชบุรีเมื องของศิ ลปะ มี หลาย
      แขนง แหล่ งท่ องเที่ ยวภูเขา นาตกป่ าไม้ ”
                                      ้

       สภาพการณ์ของชุมชนสร้อยฟ้ า อันเป็ นที่ ต้ งของวัดขนอนหนังใหญ่ มีศิลปวัฒนธรรมที่เก่าแก่สืบ
                                                 ั
ทอดต่อกันมา มีอายุมากกว่า 100 ปี ขึ้นไป มีความหลากหลาย โดยเฉพาะหนังใหญ่มีความโดดเด่น มีเพียง 3
แห่งในประเทศไทย ดังที่นายกองค์การบริ หารส่วนตาบลสร้อยฟ้ า กล่าวว่า
               “ปั จจุบนในของสร้ อยฟ้ า มีแหล่ งศิ ลปวั ฒนธรรม เช่ นหนังใหญ่ วัดขนอน มี วัดที่ เก่ าแก่ ก็ ค่ อนข้ างจะ
                        ั
     อายุ 100 กว่ าปี ขึนไป 4 วัด วัดม่ วง วัดเกาะ วัดขนอน วัดสร้ อยฟ้ า ที่ จะร่ ายเรื่ อยกัน แหล่ งวัฒนธรรมก็จะมี วัด
                          ้
     ขนอน วัดเกาะอาคาร โรงเรี ยนเก่ าแก่ ตงแต่ สมัยรั ชกาลที่ 5 โรงเรี ยนได้ ยบไปเหลือแต่ อาคาร วัดม่ วงจะมี...จะมี
                                               ั้                                 ุ
     วัฒนธรรมศิ ลปะความหลากหลาย โดยเฉพาะหนังใหญ่ เนี ้ย มีแห่ งเดียวในราชบุรี มีอยู่ 3 ที่ วัดสว่ างอารมณ์ และ
     อี กที่ หนึ่ งมีแบบ ตัว 2 ตัว นอกจากนี ้หนังใหญ่ ได้ ยูเนสโก รางวัลแห่ งเกี ยรติ ยศในเรื่ องศิ ลปวัฒนธรรม ในตัว
9


     ความเป็ นมาของหนังใหญ่ หรื อศิ ลปวัฒนธรรมแบบนี ้ มันเป็ นของโบราณนะ เล่ าสู่ กันฟั ง สื บทอดจากผู้สูงอายุ
     ที่ แล้ วมา ตกทอดมาเรื่ อยๆ เขาเรี ยกว่ าเป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ ทางปั ญญา และวัฒนธรรม ซึ่ งการเล่ ากันมาเนี่ ยถือว่ าเป็ น
     คุณค่ าของหมู่บ้านและชุมชน การแสดงหนังใหญ่ แต่ ก่ อนทั่วไปหาดูได้ ไม่ ยาก ไม่ มีสะพาน ไม่ มีถนนอะไร
     ใหญ่ โต อี กอย่ างการติดต่ อสื่ อสาร มันต้ องไปทางเรื อ” ซึ่งสรุ ปได้ดงตารางที่ 5
                                                                           ั

ตารางที่ 5 สรุ ปประเด็นสาคัญของสภาพการณ์และข้อมูลพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยว

      ประเด็น              วัดโขลงสุ วรรณคีรี                         วัดขนอนหนังใหญ่                     วัดคงคาราม
                           คูบัว
1.สภาพการณ์                มีการพัฒนาทุกด้าน           ทั้ง
                                                     มีการพัฒนารวดเร็ วเติบโต                      มีการพัฒนาความร่ วมมือ
ปัจจุบน
      ั                    แหล่งท่องเที่ยว        สิ่ ง
                                                     เข้มแข็งมีอาคารสถานที่                        ของผูนาท้องถิ่น แต่ยง
                                                                                                           ้             ั
                           อานวยความสะดวก ห้องน้ า   ใหม่ นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น                   พัฒนาไปได้ชา เน้นการ
                                                                                                                 ้
                           นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น    สู งสุ ด                                      พึ่งตนเอง
2.ชาติพนธุ์
         ั                 ไท-ยวน                    มอญ                                           มอญ
3.จุดเด่น                  มีโบราณสถาน ผ้าจก ประเพณี หนังใหญ่ พิพิธภัณฑ์                           จิตรกรรมฝาผนัง
                           วัฒนธรรมไท-ยวน ประเพณี    อัตลักษณ์ศิลปะ 5 แขนง                         พิพิธภัณฑ์ กุฏิ 9 ห้อง
                           ดั้งเดิม Wireless ในวัดโขลงฯ
                                                     การแสดงมีชีวิตชุมชน                           อัตลักษณ์ชาวมอญ
                                                     ชาวมอญ ความร่ วมมือของ                        การพึ่งตนเอง ความ
                                                     ท้องถิ่น                                      ร่ วมมือของท้องถิ่น
4.จุดอ่อนและปัญหา      การประชาสัมพันธ์ไม่ต่อเนื่อง เลยจุดล้มเหลงไปแล้ว                            ภาครัฐยังไม่เคย
                       ความขัดแย้ง ความไม่เข้าใจ     คนรุ่ นใหม่ให้ความสนใจ                        สนับสนุนเท่าที่ควร
                       ผลประโยชน์                    น้อย ขาดการสนับสนุน                           ขาดผูประสานงาน
                                                                                                         ้
                       การปักหมุดของกรมธนารักษ์ จากรัฐอย่างต่อเนื่อง
5.การจัดการการ         มีการจัดการการท่องเที่ยวที่ดี มีการจัดการการท่องเที่ยวที่                   มีการจัดการการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และบนฐานของความไม่ลงรอย ดีมาก                                               ในระดับต่า
                       กัน
6.ความต้องการพัฒนา การพัฒนารอบเมืองโบราณ             การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่                    การพัฒนาถนนข้าวแช่
                       และท่องเที่ยวแบบเกาะกลุ่ม     หลากหลาย/ แพ อุทยาน                           แพ อุทยานมัจฉา
                       ตลาดชุมชน                     มัจฉาการท่องเที่ยวทางน้ า                     การท่องเที่ยวทางน้ า
7. การสนับสนุน         ภาครั ฐ สนั บ สนุ น จั ด งาน ภาครั ฐ สนับ สนุ น จัดงาน                      ยังไม่มีการสนับสนุ นจาก
                       สงกรานต์ แสงสี เสี ยง         ส ง ก ร า น ต์ ม ห ก ร ร ม                    รั ฐ แต่ อ ย่ า งใด ไม่ มี ใ น
                       โรงไฟฟ้ าสร้างพระใหญ่         หนังใหญ่                                      แผนการท่องเที่ยว
8.ลาดับศักยภาพและ
ความพร้อมในการ                    ลาดับที่ 2                  ลาดับที่ 1                                    ลาดับที่ 3
พัฒนา
10


           5.2 แนวทางการส่ งเสริมการท่ อ งเที่ย วเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัด
ราชบุรี
                แนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมของเมืองโบราณและจิปาถะ
ภัณฑ์สถานบ้านคูบว ภายในวัดโขลงสุ วรรณคีรี มีการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแบบค่อยเป็ น
                        ั
ค่ อยไป ไม่ก่ อ หนี้ มีภูมิคุ ้มกัน อยู่อย่า งวิถีเ รี ยบง่ าย ชุ มชนมีรายได้ สามารถส่ งเสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ มชน
การขายอัตลักษณ์ ความเป็ นคูบัว มีคลังความรู้ ชุมชน ส่ วนบทบาทการสนับสนุ นขององค์ก รภาครัฐและ
เอกชน มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน เช่นโรงไฟฟ้ าราชบุรี มีการจัดการการท่องเที่ยวแบบสมัยสมัย
ได้แก่ 4 M คือ คน เงิ น วัสดุ และวิธีการ มีสิ่งอานวยความสะดวกเน้นการประชาสัมพัน ธ์ กิจกรรมการ
ท่องเที่ยวการอนุรักษ์สืบทอด ไท-ยวน วันสงกรานต์ นางงอม แสง สี เสี ยง มีกิจกรรมครบวงจร ส่ วนปั จจัย
ความสาเร็ จ คือ ผูนา การมีส่วนร่ วม การจัดการ การประชาสัมพันธ์ ใช้หลัก “บวร”สามัคคี ส่ วนปั จจัยความ
                    ้
ล้มเหลว คือ ผลประโยชน์ ความขัดแย้ง ขาดการมีส่วนร่ วม ทิฐิ อิจฉา
          ส่วนจุดเด่นของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมคูบว ซึ่งหัวหน้ากลุ่มงานการท่องเที่ยว สานักงานการ
                                                               ั
ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี มีมุมมองว่า “ส่ วนวัดโขลงสุวรรณคีรี เป็ นเมืองโบราณ เป็ นชุมชนที่ อพยพ
จากไทยยวน ผสมศิลปะกัน ...แต่ ยังไม่ เป็ นที่ ร้ ู จักมากนั ก จาเป็ นต้ องประชาสัมพันธ์ เพิ่ มเติม ”นอกจากนี้
“ทางสานัก งานฯ มีงบประมาณสร้ างห้ องน้า การขยายแสง สี เสี ยง เราพยายามทาต่ อเนื่ องให้ เป็ นงาน
ประเพณี ทุกปี ค่ ะ”
          ส่ ว นแนวทางในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม ประการหนึ่ งคื อ ร้ า นค้า และผู้เ กี่ ย วข้อ งกับ
การท่องเที่ยวควรแต่งกายด้วยชุดไท-ยวน อันบ่งบอกถึงอัตลักษณ์วฒนธรรมไท-ยวน เพื่อให้นกท่องเที่ยวได้
                                                                         ั                         ั
ชื่นชมวัฒนธรรมเวลามาท่องเที่ยวในคูบว ดังที่เจ้าอาวาสวัดโขลงสุวรรณคีรี กล่าวว่า “อย่ างงีไง ในแนวคิ ด
                                             ั                                                   ้
ของฉันที่ว่าร้ านค้ าอะนะ เวลาคนเข้ ามาขายในวัด ถ้ านักท่ องเที่ ยวทาเป็ นระบบคนที่ เข้ ามาเยอะๆอย่ างเนี่ ย
เป็ นพัน สองพันอย่างเงีย ต่ อไปคนที่เข้ ามาขายของในนี่นะ ต้ องแต่ งชุดประจาคูบัวตรงนีนะ แม้ ว่าจะเป็ นลูก
                          ้                                                                ้
เด็กเล็กแดง ตรงนี ”   ้
         ส่วนวัดขนอนหนังใหญ่มการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน มีการพึ่งตนเอง ชุมชนมี
                                     ี
รายได้ ค่อยเป็ นคอยไป ความรู้และคุณธรรม มีหลักสูตรท้องถิ่น คลังความรู้ชุมชน บทบาทการสนับสนุ น
ขององค์กรภาครัฐและเอกชนได้รับการสนับสนุ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ มีการจัด การการท่องเที่ยวมีสิ่ง
อานวยความสะดวก ความปลอดภัย การเป็ นแบบอย่างให้กบแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ มีกิจกรรมการท่องเที่ยว
                                                                   ั
คือการไหว้พระประธาน การทาการตลาด การสร้างความแตกต่าง การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาคน
การจัดการทางน้ า มหกรรมหนังใหญ่ วันสงกรานต์ การแสดงหนังใหญ่ทุกวันเสาร์ ปั จจัยความสาเร็ จ คือ
ใช้หลักบวร การมีส่วนร่ วม การทุ่มเทจริ งจัง ศรัทธาในตัวบุคคล ความรู้ ส่วนปัจจัยความล้มเหลว ไม่พบแต่
สามารถพัฒนาเป็ นลาดับขั้น ที่เจริ ญรุ่ งเรื องไม่ลงไปถึงจุดต่าสุด
11


       ส่วนจุดเด่นทางหัวหน้ากลุ่มงานการท่องเที่ยว สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี มอง
หนังใหญ่วดขนอน ว่า “จุดเด่ นของวัดขนอน คื อ เป็ นศิลปะการแสดงชั้นสูงที่ หาดูได้ ยากแล้ ว เป็ นแค่ กลุ่ม
           ั
คนเล็กๆที่สามารถอนุรักษ์ ไว้ ได้ ...เป็ นสิ่งดีที่ทาให้ เกิดการรั กในถิ่นกาหนด เทศกาลประเพณี เป็ นสีสัน.”
       การท่ องเที่ ย วเชิ งวัฒ นธรรมไม่ค่ อยประสบความสาเร็ จ เนื่ องจากการไม่เข้าใจของคนทางาน
วัฒนธรรม ไม่ลงไปลึกถึงรากเหง้าที่แท้จริ ง และภาครัฐต้องให้การสนับสนุ นอย่างแท้จริ ง ดังว่า

            “การท่ อ งเที่ ยวเชิ งวั ฒนธรรมส่ วนใหญ่ มันไม่ ค่อ ยประสบความส าเร็ จ ส่ วนใหญ่ ล้ มเหลวเลยที เ ดี ย ว
    เนื่ องจากการไม่ เข้ าใจของคนทางานวัฒนธรรมซะมากกว่ า แล้ วก็เราร่ วมกันอนุรักษ์ สักแต่ ว่าทาแค่ แค่ ให้ ร้ ู ว่ าทา
    แต่ ไ ม่ ไ ด้ ห ยั่งลึ ก ลงไปในรากเหง้ า โดยแท้ จ ริ ง อั น นี ้ คื อ การอนุ รั ก ษ์ เ พี ย งแต่ เ ปลื อ งนอก มัน เลยท าให้ งาน
    วัฒนธรรมไม่ ยงยืน พอลงไปทาชุดหนึ่ งปั๊ บ พอสาเร็ จแล้ วก็เลิก และมันเดินต่ อไปไม่ ได้ ถ้ าไม่ ทาไปเรื่ อยๆ อันนี ้
                         ั่
    คื อ ข้ ออ่ อน ของคนไทยที่ ท าให้ เห็นว่ า ได้ ดีแล้ วก็หยุดละ การทาให้ มันเดิ นไปได้ มันต้ องมี ก ารสนับสนุนไป
    เรื่ อยๆ เพราะว่ า การท่ องเที่ ยวงานวัฒนธรรมมันไม่ ใช่ งานที่ ยั่งยื น มันควรที่ จะทาในเรื่ องของการอนุรักษ์ ไป
    เรื่ อยๆ มันจะทาให้ ตรงนี ้อยู่ได้ แล้ วก็ภาครั ฐต้ องให้ การสนับสนุนอย่ างแท้ จริ ง ถ้ าภาครั ฐสนับสนุนอย่ างแท้ จริ ง
    การจัดการวัฒนธรรมจริ งๆแล้ วมันใช้ งบประมาณไม่ มาก ถ้ ามีการดูแลเด่ น สถานที่ นั้นมันเด่ นเรื่ องอะไร เราทา
    ตรงนั้น ตรงนั้นต้ องมีเรื่ องอไร อย่ างเช่ น วัดขนอนเนี ้ย มีเรื่ องหนังใหญ่ สถานที่ ในวัดต้ องดี โรงแสดงหนังใหญ่
    ต้ องดี มันต้ องมีงานออกมาให้ ”

          ขณะที่วดคงคาราม มีการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน มีการพึ่งตนเอง การใช้พลัง
                     ั
ชุมชน การเกษตรผสมผสาน คลังความรู้ชุมชน ส่ วนบทบาทการสนับสนุ นขององค์กรภาครัฐและเอกชน
ยังให้การสนับสนุนน้อยมาก การจัดการการท่องเที่ยวมีการจัดการสมัยใหม่ การจัดการความรู้ โครงสร้าง
บริ ก าร การบริ หารพื้น ที่ สิ่ งอานวยความสะดวก การเปิ ดโลกทัศน์ การจัด ทาโครงการ การพัฒนาคน
กิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น ถนนข้าวแช่ ฟื้ นฟูวฒนธรรมมอญ วันสงกรานต์ ส่ วนปั จจัยความสาเร็ จ ใช้หลัก
                                                 ั
จิตอาสา บวร ปัจจัยความล้มเหลว คือ การมีส่วนร่ วม และผูนา  ้
           จิ ต รกรรมฝาผนัง วัด คงคาราม ในชุ ม ชนคลองตาคตมี ค วามหลากหลายในเชื้ อ ชาติ ม อญมี
ศิลปวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็ นจิตรกรรมฝาหนังที่มีความสวยงามและเก่าแก่ กุฏิไทย 9 ห้องและพิพิธภัณฑ์
พื้นบ้าน ล้วนบ่งบอกอัตลักษณ์ชาวมอญได้ ดังที่อดีตปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลองตาคต ซึ่งเป็ นชาว
มอญ กล่าวว่า “จุดเด่ นที่สาคัญของวัดคงตาราราม คื อ จิ ตรกรรมฝาผนังที่ เก่ าแก่ มีความสวยงาม และความ
เป็ นชุมชนมอญ”
          ส่ ว นในประเด็ น การท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม อดี ต ปลัด องค์ก ารบริ หารส่ ว นต าบลคลองตาคต
ซึ่งเป็ นคนในพื้นที่ เคยเป็ นปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลสร้อยฟ้ า อดีตปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลอง
ตาคต และปัจจุบนเป็ นปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลองข่อย กล่าวถึงสภาพการณ์ของการท่องเที่ยวเชิง
                   ั
วัฒนธรรมในอดีตมีความลุ่มๆ ดอนๆ คนไม่ค่อยให้ความสาคัญเท่าที่ควร ดังว่า
12


            “ผมสะท้ อนสองที่ ครั บที่ อยู่วัดขนอนมา 5 ปี แล้ วก็ที่วัดคงคาราม คื อในสมัยก่ อนเนี่ ยแหล่ งท่ องเที่ ยว เช่ น
    วัดขนอน วัดคงคารามยังไม่ ได้ รับความสาคัญนะครั บ ก็นักท่ องเที่ ยวจะมาน้ อยเป็ นที่ ร้ ู จั กในกลุ่มเฉพาะ ตอน
    หลังเมื่อทางวัดขนอนได้ รับรางวัลยูเนสโกก็ได้ รับการยอมรั บเพราะฉะนั้นตรงนั้นคื อสื่ อที่ กระจายไปมันทาให้
    กลุ่มนักท่ องเที่ วเข้ ามามาก ที่ นี้ในส่ วนที่ อีกอย่ างที่ ผมสั งเกตคื อ ตอนนี ้เรื่ องการท่ องเที่ ยวกระแสมันเปลี่ยนไปคน
    ที่ มีความรู้ คนที่ มีฐานะส่ วนมาก นะผมจัดคนที่ มีความรู้ มี อายุ พวกกลุ่มๆชั้นกลางหรื อชั้นบนนิ ดหนึ่ งจะมาหั น
    มาสนใจการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมแล้ วเพื่ อความโลมใจ นั่นคื อกลุ่มผู้ใหญ่ เข้ ามาก็จะพาบุตรหลานเข้ ามาด้ วย”


              จึ งเห็ น ได้ว่า แนวทางการส่ งเสริ มการท่ องเที่ ยวเพื่อการศึก ษาศิล ปวัฒ นธรรม ประกอบด้ว ย
2 องค์ประกอบ คือ 1) หน่ วยงานภาครัฐ ได้แก่ หน่ วยงานในชุมชน เช่น องค์การบริ หารส่ วนตาบล และ
องค์กรชุมชน เป็ นต้น หน่วยงานภาครัฐภายนอก ได้แก่ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สานักงาน
วัฒนธรรมจังหวัด องค์ก ารบริ หารส่ ว นจังหวัด หอการค้าจังหวัด รวมถึงททท.ภาค เป็ นต้น 2) แหล่ ง
ท่องเที่ยว เป็ นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน สาหรับแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา
ศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้ว ยการวิเ คราะห์ส่วนขาดในประเด็ น ปั ญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะของ
ผูเ้ กี่ ยวข้อ ง การพัฒ นาแบบค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไปตามหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ยง 3 ห่ ว ง ได้แก่ ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล และภูมิคุมกัน และ 2 เงื่อนไข คือเงื่อนไขคุณธรรม และเงื่อนไขความรู้ การมี
                                        ้
ผูนาที่เข้มแข็ง เสียสละและจิตอุทิศ การมีส่วนร่ วมของชุมชน ในลักษณะของ “บวร” ได้แก่ บ้านวัด โรงเรี ยน
    ้
การจัดกิจ กรรม การท่องเที่ยวที่ต่อเนื่ อง การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่ อต่ างๆ การจัดสิ่ งอานวยความสะดวก
ให้กบนักท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่นและสามารถจูงใจให้นกท่องเที่ยว สิ่ งสาคัญในการ
         ั                                                                         ั
สนับสนุ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ทั้งความรู้ สิ่ งอานวยความสะดวก การพัฒนาศัก ยภาพแหล่งท่องเที่ ย ว
การประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สรุ ปได้ดงตารางที่ 6ั
13


ตารางที่ 6 สรุ ปการวิเคราะห์แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยว 3 แห่ง

ที่      องค์ประกอบ        วัดโขลงสุ วรรณคีรี              วัดขนอนหนังใหญ่                      วัดคงคาราม
1 การจัดการตามแนวทาง       เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจ      การพึ่งตนเอง ชุมชนมี               การพึ่งตนเอง
    เศรษฐกิจพอเพียง        พอเพียงแบบค่อยเป็ นค่อย     รายได้ ค่อยเป็ นคอยไป              การใช้พลังชุมชน
                           ไป ไม่ก่อหนี้มีภูมิคุมกัน
                                                ้      หลักสู ตรท้องถิ่น                  การเกษตรผสมผสาน
                           วิถีเรี ยบง่าย ชุมชนมี      ความรู ้และคุณธรรม                 คลังความรู ้ชุมชน
                           รายได้ การขายอัตลักษณ์      คลังความรู ้ชุมชน
                           คูบว คลังความรู ้ชุมชน
                                ั
2 บทบาทการสนับสนุน         ภาครัฐและเอกชน              ภาครัฐและเอกชน                     ภาครัฐและเอกชน ยัง
  ขององค์กร                สนับสนุนมาก                 สนับสนุนมาก                        ไม่สนับสนุน
                           โรงไฟฟ้ าราชบุรี
3 การจัดการการท่องเที่ยว   มีการจัดการสมัยใหม่         การจัดการแหล่งท่องเที่ยว           มีการจัดการสมัยใหม่
                           ได้แก่ 4 M คือ คน เงิน      สิ่ งอานวยความสะดวก                การจัดการความรู ้
                           วัสดุ และวิธีการ            ความปลอดภัย การเป็ น               โครงสร้างบริ การ
                           การจัดการแหล่ง              แบบอย่าง                           การบริ หารพื้นที่
                           ท่องเที่ยว สิ่ งอานวยความ   การไหว้พระประธาน                   สิ่ งอานวยความสะดวก
                           สะดวก                       การทาการตลาด                       การเปิ ดโลกทัศน์
                           เน้นการประชาสัมพันธ์        การสร้างความแตกต่าง                การจัดทาโครงการ
                                                       การประชาสัมพันธ์                   การพัฒนาคน
                                                       การพัฒนาคน
4 กิจกรรมการท่องเที่ยว     การอนุรักษ์สืบทอด           การจัดการทางน้ า มหกรรม            ถนนข้าวแช่
                           ไท-ยวน                      หนังใหญ่                           ฟื้ นฟูวฒนธรรมมอญ
                                                                                                  ั
                           วันสงกรานต์                 วันสงกรานต์                        วันสงกรานต์
                           นางงอม                      การแสดงหนังใหญ่ทุกวัน
                           แสงสี เสี ยง                เสาร์
                           กิจกรรมครบวงจร
5 ปัจจัยความสาเร็จ         ผูนา การมีส่วนร่ วม
                             ้                         บวร การมีส่วนร่ วม                 จิตอาสา
                           การจัดการ                   การทุ่มเทจริ งจัง ศรัทธาใน         บวร
                           การประชาสัมพันธ์            ตัวบุคคล ความรู ้
                           “บวร”สามัคคี
6 ปัจจัยความล้มเหลว        ผลประโยชน์                  สามารถพัฒนาเป็ นลาดับ              การมีส่วนร่ วม
                           ความขัดแย้ง                 ขั้น ที่เจริ ญรุ่ งเรื องไม่ลงไป   ผูนา
                                                                                            ้
                           ขาดการมีส่วนร่ วม           ถึงจุดต่าสุ ด
                           ทิฐิ อิจฉา
14


ข้ อเสนอแนะจากการวิจย      ั
          จากผลการวิจย ผูวิจยมีขอเสนอแนะ 2 ระดับ คือ ข้อเสนอแนะระดับนโยบายและข้อเสนอแนะใน
                        ั ้ ั ้
การนาผลการวิจยไปใช้ รวมถึงข้อเสนอแนะการวิจยครั้งต่อไป ดังต่อไปนี้
                   ั                                    ั
          1. ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย
                1. จากผลการวิจ ัยที่ พบว่า การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมยังไม่มี สิ่ง ดึ ง ดูด ใจที่ โ ดดเด่ น ให้
นักท่องเที่ยวสนใจมากพอ ดังนั้นหน่ วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้องระดับ จังหวัด ควรจัดทาแผนยุทธศาสตร์
                                                      ้
เพื่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สร้างเอกลักษณ์/ความรู้/คุณค่า ให้เห็นวัฒนธรรมเฉพาะท้องถิ่นที่
เป็ นเอกลักษณ์เพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรม/ตัวตนของคนในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี
                2. จากผลการวิจยที่พบว่า การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยู่ในระดับต่าสุ ด
                                  ั
ดังนั้นหน่วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้องระดับจังหวัด ควรเร่ งรัดและสนับสนุน ส่งเสริ มการประชาสัมพันธ์เชิง
                         ้
รุ ก รวมถึงหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดควรสนับสนุ นด้านงบประมาณในการจัดกิจกรรม/การรณรงค์
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามปี ปฏิทินอย่างจริ งจังและต่อเนื่อง
                3. จากผลการวิจยที่พบว่า การท่องเที่ยวในจังหวัดราชบุรี มีปัญหาด้านการมีส่วนร่ วมในแหล่ง
                                    ั
ท่องเที่ยว ดังนั้นหน่วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้อง ระดับจังหวัด ควรเร่ งรัดและสนับสนุ น ส่ งเสริ มการมีส่วน
                                            ้
ร่ ว มอย่างจริ งจัง ตามหลัก “บวร” คื อ บ้าน วัด โรงเรี ยน และชุมชน การปรับภูมิทัศน์ รวมถึงเพิ่มความ
ปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวตามสภาพภูมิสงคม           ั
          2. ข้ อเสนอแนะจากการนาผลการวิจยไปใช้      ั
                จากข้อค้นพบการวิจยครั้งนี้ ควรพิจารณาประเด็นต่างๆ เพื่อให้เกิดผลสาเร็ จในการท่องเที่ยว
                                                ั
ดังนี้
                1. จากผลการวิจยที่พบว่า การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ยังขาดการจัดการที่ดี ทั้ง
                                        ั
ด้านร้านอาหารและเครื่ องดื่ม ร้านขายของที่ระลึก หรื อสินค้าพื้นถิ่น และไฟฟ้ าแสงสว่าง รวมถึงมัคคุเทศก์
ท้องถิ่นที่บริ การนักท่องเที่ยวที่อยูในระดับต่าสุด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและท้องถิ่น ควรมีการประชุม
                                              ่
วิเคราะห์ส่วนขาดในปัญหาการท่องเที่ยว และจัดทาแผนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                2. จากผลการวิจยที่พบว่า ข้อมูลการเดินทาง เช่น ป้ ายบอกทาง สิ่ งอานวยความสะดวก เพื่อ
                                          ั
การท่องเที่ยว ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น แผ่นพับ/เอกสารแนะนา รวมถึงอินเตอร์ เน็ต ยังขาด
การพัฒ นาและไม่เพีย งพอ ดังนั้น หน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้องและท้องถิ่น ควรจัด ทาแผนเพื่อของบประมาณ
การสนับสนุนการดาเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                3. จากผลการวิจยที่พบว่า การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยู่ในระดับต่าสุ ด
                                      ั
ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและท้องถิ่น รวมกับสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น ควรเร่ งรัดการประชาสัมพันธ์
เชิงรุ ก โดยเฉพาะการเสนอข่าวสารผ่านทางสื่ อ ป้ ายโฆษณาการท่องเที่ยว รวมถึงการประชาสัมพันธ์ผ่าน
ทางสื่อสารมวลชน ทางเว็บไซต์ หรื ออินเตอร์เน็ต และส่งข่าวกิจกรรมการท่องเที่ยวให้กบการท่องเที่ยวแห่ ง
                                                                                              ั
ประเทศไทย สาขาจังหวัดเพชรบุรี
15


                   4. จากผลการวิจยที่พบว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ยังขาดการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์
                                    ั
และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่นเป็ นที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยว ทั้งที่มีศิลปวัฒนธรรมอยู่แล้ว ดังนั้น
ผูเ้ กี่ยวข้องและท้องถิ่นควรมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้หรื อเวทีประชาคม การศึกษาดูงานแหล่งท่องเที่ยว
ที่ประสบความสาเร็ จ เพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมของท้องถิ่น ในหลัก “บวร” ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรี ยน และ
ชุมชน จากความขัดแย้งและไม่เข้าใจกัน รวมถึงการรับฟั งความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
                   5. จากการวิจยที่พบว่า การเรี ยนรู้ศิลปวัฒนธรรมที่นักท่องเที่ยวกลุ่มนักเรี ยน/นักศึกษาและ
                                ั
ผูสูงอายุได้เห็นคุณค่าและให้ความสาคัญ ดังนั้นหน่วยงาน และผูเ้ กี่ยวข้อง ควรประสานกับสถาบันการศึกษา
    ้
จัดอบรมผูนาชม มัคคุเทศก์ทองถิ่น ผูมีจิตสาธารณะ เพื่อให้ความรู้นาชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างมี
              ้                   ้       ้
คุณภาพ รวมถึงการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี
                   6. จากข้อค้นพบที่ว่า ชุมชนมีการปฏิบติตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีวิถีชุมชนที่
                                                          ั
เรี ยบง่าย มีผนาที่เข้มแข็ง ดังนั้นหน่ วยงาน ผูเ้ กี่ยวข้องและชุ มชน ควรนาสิ่ งดีๆ เช่น ทุนทางสังคม ทุนทาง
                ู้
วัฒนธรรม ความเป็ นชาติพนธุในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี มาเสริ มสร้างจุดเด่นให้เกิดการเรี ยนรู้ การศึกษา
                               ั ์
ศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการส่งเสริ มการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้ประสบความสาเร็ จ

บรรณานุกรม
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.(2547). ยุทธศาสตร์ การท่ องเที่ ยว พ.ศ. 2547-2551. กรุ งเทพฯ : สานัก
                 นโยบายและแผน.
                 . (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ. พ.ศ. 2555-2259. กรุ งเทพฯ : คณะกรรมการ
                  นโยบาย การท่องเที่ยวแห่งชาติ.
จันทร์ ชุ่มเมืองปี ก. (2546). แรงจูงใจและการจูงใจสร้ างปาฏิหาริ ย์.. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอกหญ้า
                  กรุ๊ ป.
จังหวัดราชบุรี.(ม.ป.ป.) ราชบุรี. ราชบุรี : องค์การบริ หารส่วนจังหวัดราชบุรี.
                 . (ม.ป.ป.). ผู้ว่าฯ ชวนกิน ชวนซือ ชวนเที่ยว ชวนพักราชบุรี. ราชบุรี : ม.ป.ท.
                                                 ้
.               . (ม.ป.ป.) เที่ยวชมราชบุรี. ราชบุรี : ม.ป.ป.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนการท่ องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
                   เกษตรศาสตร์ .
นริ นทร์ สังข์รักษา.(2549) รายงานการวิจยโครงการการจัดทาแผนเครื อข่ายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
                                            ั
                 ย่อมรายสาขา จาแนกตามพื้นที่กลุ่มภาคตะวันตก กรณี ศึกษาสุกรคุณภาพจังหวัดราชบุรีและ
                 นครปฐม. เสนอต่อ สานักงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
                  .(2552).รายงานการวิจย เครื อข่ายการผลิตสิ นค้าเกษตรและของจังหวัด นครปฐมเพื่อการ
                                          ั
                 ท่องเที่ยว. กรุ งเทพฯ : สถาบันวิจยเพื่อการท่องเที่ยวไทย สานักงานกองทุนสนับสนุ นการ
                                                    ั
                 วิจย.
                     ั
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดร

More Related Content

What's hot

การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
Cultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanCultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanNattadech Choomplang
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติPoramate Minsiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pornphatsorn Chaichanayai
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราnungruthai2513
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยNuttz Kasemmussu
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวPare Liss
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 

What's hot (13)

การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
Cultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanCultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japan
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

Similar to การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดร

รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวTharapat
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓jutby
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenriikiki96
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiativesrattapol
 

Similar to การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดร (20)

รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยว
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaen
 
20
2020
20
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 

More from สถาบันราชบุรีศึกษา

นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHAนำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHAสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2สถาบันราชบุรีศึกษา
 
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 สถาบันราชบุรีศึกษา
 
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556สถาบันราชบุรีศึกษา
 

More from สถาบันราชบุรีศึกษา (20)

โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบกโครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
 
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบกกรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
 
Homeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake newsHomeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake news
 
Homeroom ep 8 ssdri management review
Homeroom ep 8 ssdri management reviewHomeroom ep 8 ssdri management review
Homeroom ep 8 ssdri management review
 
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHAนำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
 
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
 
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
 
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
 
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
 
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmasแนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
 
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
 
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
 
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
 
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
 
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
 
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
 
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
 
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
 

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดร

  • 1. 1 การศึกษาแนวทางการส่ งเสริมการท่องเที่ยวเพือการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี ่ A Study of Tourist Promotion Guideline for Art and Cultural Learning in Cradles of Civilization of Ratchaburi Province ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. นริ นทร์ สังข์รักษา e-mail : narin2100@yahoo.com ้ ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร บทคัดย่อ การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรี ยบเทียบระดับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา ั ั ศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี 2) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี และ 3) ศึกษาแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยว เชิ งวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัด ราชบุ รี การวิจ ัย ครั้ งนี้ ใช้ระเบี ยบวิธีก ารวิจ ัยแบบผสมผสานวิ ธี ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 วิธีการวิจยเชิงปริ มาณ กลุ่มที่ 1 กลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย ั จานวน 400 คนสุ่มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ กลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่างผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว จานวน 86 คน สุ่มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ เครื่ องมือที่ใช้เป็ นแบบสอบถาม 2 ชุด ขั้นตอนที่ 2 การวิจยเชิงคุณภาพ โดยการ ั สัมภาษณ์ระดับลึก จานวน 17 คน และสนทนากลุ่ม จานวน 12 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง รวบรวม ข้อมูลที่ได้และวิเคราะห์ขอมูลเชิงปริ มาณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จรู ป สถิติที่ใช้ ร้อยค่า ค่าเฉลี่ย ้ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบที และทดสอบเอฟ และวิเคราะห์ขอมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เนื้ อหา ้ (Content Analysis) ผลการวิจ ัยพบว่า 1) แรงจูงใจในการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( X =3.69,S.D.=.949) การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรเพศกับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของนัก ท่องเที่ ยวไม่แตกต่ างกัน ส่ ว นการวิเคราะห์ค วามแปรปรวนแบบทางเดียวของแรงจูงใจในการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว จาแนกตามอายุ การศึกษา และอาชีพ แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ ั ระดับ .05 (p-value =.000,.000 , .000) ตามลาดับ 2) ความคิดเห็นต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน ภาพรวม อยูในระดับมาก ( X =3.59,S.D.=.946) การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรเพศกับความคิดเห็น ่ ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 (p-value= .008) ส่วนการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของความคิดเห็นในการ จัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว จาแนกตามอายุ ระยะเวลาในการทางาน และการศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 (p-value =.023,.000 , .000) ตามลาดับ 3) แนว ั ทางการส่ ง เสริ มการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒ นธรรมประกอบด้ว ย 2 องค์ป ระกอบ คื อ 1) แหล่ ง ท่ องเที่ ย ว ประกอบด้วยการวิเคราะห์ส่วนขาดในปั ญหาและข้อเสนอแนะของผูเ้ กี่ ยวข้อง การพัฒนาแบบค่ อยเป็ น ค่อยไปตามหลักปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียง การมีผนาที่ เข้มแข็ง เสี ยสละและจิตอุทิศ การมีส่ว นร่ ว มของ ู้ ชุมชน ในลัก ษณะของ “บวร” ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรี ยน และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวให้โดดเด่ น 2)
  • 2. 2 หน่ ว ยงานภาครั ฐประกอบด้วย การสนับสนุ น จากภาครัฐ ทั้งความรู้ สิ่ งอานวยความสะดวก การพัฒนา ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว บุคลากร การประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง Abstract This research was aimed to study 1) the motive force level in Thai tourists regarding art and cultural learning in cradles of civilization of Ratchaburi Province 2) the opinion of tourist related groups toward this tourism and 3) the guideline of tourist promotion. The research process was based on the integration of quantitative and qualitative methodologies and divided into two steps as follows: Starting from the first step of quantitative method, four hundred of Thai tourists and eighty-six of other related persons were systematically chosen as our respondents and these were interviewed with structural questionnaire set no.1 and no.2 respectively. After that in the second step would be conducted with the qualitative method, the seventeen and twelve key informants were purposively selected to in-depth interview and invited to joint in the one setting of focus group discussion respectively. The quantitative data was statistically analyzed with Statistical Computer Program Package and presented in percentage, mean, standard deviation, outcomes of t-test and F-test method. For the qualitative data it would be then analyzed with the technique of content analysis. From the results, the motive force of Thai tourists and the opinion of other persons were measured and shown its overall results at much level ( X =3.69, S.D. =.949 and X =3.59, S.D. =.946 respectively). When tested with F-test method, the tourists had their age, education and occupation associate with the motive force level significantly at P ≤.05. The guideline of tourist promotion was comprised of two components as follows: The tourist sites: There should have the analysis in its shortages and problems including to any recommendations from stake holders. The sites should be gradually developed and this was based on Philosophy of Self-Sufficient Economy. The leaders should have to have their strong leadership, sacrifice and public mind. The community involvement should be formulated from the co-working together of three main parts namely Home, Temple and School (HTS). The government sector: To build up the capacities of tourist sites, the government offices should support and promote them until to have enough knowledge, human resources, public relation and advertising, movement of continuous activities and other facilities. บทนา การท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมที่เจริ ญเติบโตและมีความสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศไทย รั ฐบาลจึงมีนโยบายส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว โดยการท่องเที่ย วเริ่ มเข้ามามีบทบาท สาคัญ ในการพัฒ นาประเทศอย่า งจริ งจังเป็ นครั้ งแรก เมื่อ มีก ารบรรจุ แ ผนพัฒ นาการท่ องเที่ ย วไว้ใ น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 เรื่ อยมา จนถึงปัจจุบน (นริ นทร์ สังข์รักษา, 2552 : 1) ั จัง หวัด ราชบุ รี อยู่ห่ า งจากกรุ งเทพฯ เพี ย ง 100 กิ โ ลเมตร เป็ นจัง หวัด ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด ้ว ย ทรั พยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความได้เปรี ย บทางด้านทาเลที่ ต้ ัง ประกอบกับโครงสร้ าง พื้นฐานของจังหวัดมีการพัฒนาการเกษตรในทุกด้าน อีกทั้งมีแม่น้ าแม่กลอง ทาให้สภาพดินและแหล่งน้ ามี ความอุด มสมบูร ณ์ สามารถปลูกพืชและสัตว์เศรษฐกิจ ได้หลายชนิ ด (ศาลากลางจังหวัด ราชบุ รี .2555)
  • 3. 3 เศรษฐกิจหลักของจังหวัดราชบุรีจึงมีสภาพทั้งเกษตรกรรม พาณิ ชยกรรม อุตสาหกรรม และเป็ นศูนย์กลาง การบริ การของส่ วนราชการต่างๆ จังหวัดราชบุรีย งเป็ นเมืองโบราณที่ได้มีก ารค้น พบในช่วงเริ่ มต้นของ ั การศึกษาด้านโบราณคดี โบราณสถานและโบราณวัตถุ เหล่านี้ถือเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม แสดงให้เห็นถึง รากฐานของการเป็ นสังคมไทย เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีที่ช้ ีให้เห็นถึงประวัติความ เป็ นมาอันยาวนานของชาติ ทั้งยังเป็ นประจักษ์พยานสาคัญที่แสดงว่า ชาติไทยมีอารยธรรมที่เจริ ญรุ่ งเรื องมา นานนับศตวรรษ (เที่ยวชมราชบุรี, ม.ป.ป.) จังหวัดราชบุรีมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญและมีชื่อเสี ยงหลาย แห่ง เช่น พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เขาแก่นจันทร์ พระปรางวัดมหาธาตุวรวิหาร เมืองโบราณคูบว จิปาถะ ั ภัณฑ์สถานบ้านคูบว วัดหนองหอย ถ้าเขาบิน พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วดขนอน วัดเขาช่องพราน วัดคงคาราม ั ั ถ้าจอมพล ตลาดน้ าดาเนิ นสะดวก ธารน้ าร้อนบ่อคลึง เขากระโจม อุทยานหุ่ นขี้ผ้ ึงสยาม ตลาดเจ็ดเสมียน 119 ปี และศูนย์วฒนธรรมไทยทรงดา ฯลฯ (ราชบุรี, มป.ป. 26-63 ; ผูว่าฯ ชวนกิน ชวนซื้อ ชวนเที่ยว ชวน ั ้ พักราชบุรี, ม.ป.ป. : 11-163) จึ งเห็ น ได้ว่า จัง หวัด ราชบุ รี มีศก ยภาพในเรื่ องของการท่ องเที่ ย ว โดยเฉพาะการท่ องเที่ ยวเชิ ง ั วัฒนธรรมของจังหวัด ราชบุรี ที่สาคัญ ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมที่ มีชื่อเสี ยง ได้แก่ 1) เมือง โบราณคูบว รวมถึงจิปาถะภัณฑ์สถานบ้านคูบว 2) หนังใหญ่วดขนอน 3) จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม ของ ั ั ั จังหวัดราชบุรี ดังนั้นผูวิจยจึงต้องการวิจยแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการ ้ ั ั พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยังยืน ตลอดจนสร้างแรงจูงใจของนักศึกษาหรื อนักท่องเที่ยวมา ่ ท่องเที่ ยวเพื่อการศึก ษา อัน เป็ นการท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ ในการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี วัตถุประสงค์การวิจย ั 1. เพื่อ ศึ ก ษาเปรี ยบเที ย บระดับ แรงจู ง ใจของนัก ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อการศึ ก ษาศิ ลปวัฒนธรรมใน อู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี 2. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมใน อู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี 3. เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี แนวคิด ทฤษฎีเกียวกับการท่องเที่ยวและบริการ ่ ผูวิจยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ้ ั เชิงวัฒนธรรม แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ บริ บทและข้อมูลทัวไปของจังหวัดราชบุรี ประกอบด้วย ่ แนวคิดของนักวิชาการ ดังนี้ -แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ตามแนวคิดของ อุดม เชยกีวงศ์ และคณะ(2548), ศรัญยา วรากุลวิทย์, (2546) , วรรณา วงษ์วานิช, (2539) , บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) , การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2541)
  • 4. 4 -แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตามแนวคิดของบุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) ,Gee, Choy and Makens (1984),ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2542), การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2541) -แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดของบุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) -แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ ตามแนวคิดของจันทร์ ชุ่มเมืองปี ก (2546) , สิ ทธิโชค วรานุ สนติกุล (2546) ั ,บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา (2548) ระเบียบวิธีการวิจย ั การวิจยครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีก ารวิจ ัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) เก็บรวบรวม ั ข้อมูลเชิ งปริ มาณ และเชิ งคุ ณ ภาพ ประกอบด้ว ย 2 ขั้น ตอน คื อ ขั้น ตอนที่ 1 วิธีก ารวิจ ัยเชิ งปริ มาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจย ครั้งนี้ กลุ่มที่ 1 เป็ นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาท่องเที่ ยวในจังหวัดราชบุรี ในปี ั 2553 จานวน 1,115,221 คน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 คน วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ (Systematic Random Sampling) และแต่ ละแหล่งท่องเที่ย วทั้ง 3 แห่ ง ใช้การสุ่ มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) กลุ่มที่ 2 เป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ ยว 3 แห่ ง จานวน 110 คน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 86 คน ใช้การสุ่ มตัว อย่างแบบเป็ นระบบ (Systematic Random Sampling) เครื่ องมือที่ ใช้เป็ น แบบสอบถาม 2 ชุด ชุดที่ 1 นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีค่าเชื่อมัน (r) = .9134 ชุดที่ ่ สอง ผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว มีค่าเชื่อมัน (r) = .8786 ขั้นตอนที่ 2 การวิจยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ ่ ั ระดับลึก จ านวน 17 คน และสนทนากลุ่ม จ านวน 12 คน ใช้วิธีก ารคัด เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รวบรวมข้อมูลที่ได้และวิเคราะห์ข ้อมูลเชิ งปริ มาณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จ รู ป และ วิเคราะห์ขอมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ้ ผลการวิจย ั 1. แรงจูงใจของนักท่ องเที่ยวเพือการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัดราชบุรี ่
  • 5. 5 ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมโดยรวม (n=400 คน) ระดับ ลาดับ แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม S.D. X แรงจูงใจ ที่ 1.ด้านสิ่งดึงดูดใจในการท่องเที่ยว 3.88 .919 มาก 1 2. ด้านสิ่งอานวยความสะดวก 3.83 .883 มาก 2 3. ด้านการบริ การ 3.76 .925 มาก 3 4. ด้านการเดินทาง 3.60 .902 มาก 5 5. ด้านการประชาสัมพันธ์ 3.41 1.057 ปานกลาง 6 6. ด้านจุดมุ่งหมายในการท่องเที่ยว 3.67 1.010 มาก 4 รวม 3.69 .949 มาก จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ใ นระดับ มาก ( X =3.69,S.D.=.949) ยกเว้น ด้า นการประชาสั ม พัน ธ์ อ ยู่ใ นระดับ ปานกลาง ( X =3.41,S.D.=1.057) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านสิ่งดึงดูดใจในการท่องเที่ยวมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ( X =3.88,S.D.=.919) รองลงมาเป็ นด้านสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าคะแนนเฉลี่ย( X =3.83,S.D.=.883) และ ด้านที่ต่าที่สุดอยูในระดับปานกลาง คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ ( X =3.41,S.D.=1.057) ่ 2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลียของคะแนนแรงจูงใจในการท่ องเที่ยวของกลุ่มตัวอย่าง ่ ที่มลกษณะส่ วนบุคคลได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ีั การเปรี ยบเที ย บค่ า เฉลี่ ย ระหว่ า งตัว แปรกับ แรงจู ง ใจในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมของ นักท่องเที่ยว จาแนกตามเพศ มีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวไม่แตกต่างกัน การวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวนแบบทางเดี ย วของคะแนนความพึ ง พอใจในการท่ อ งเที่ ยวเชิ ง ศิลปวัฒนธรรม ของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามช่วงอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ มีความพึงพอใจใน การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ของนักท่องเที่ยว แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 สรุ ปได้ดงตาราง ั ั ที่ 2
  • 6. 6 ตารางที่ 2 สรุ ปการเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว จาแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ที่ ลักษณะส่วนบุคคล การเปรี ยบเทียบ วิเคราะห์ความแปรปรวน t-test p-value F-test p-value 1 เพศ -.910 .363 2 อายุ 5.594* .000 3 การศึกษา 9.821* .000 4 อาชีพ 3.599* .000 *ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการจัดการท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดราชบุรี ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับความคิดเห็นในการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมโดยรวม (n=81 คน) ระดับความ ลาดับ ความคิดเห็นต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม S.D. X คิดเห็น ที่ 1. การจัดการด้านกายภาพหรื อภูมิทศน์ ั 3.81 .876 มาก 1 2. การจัดการด้านแหล่งท่องเที่ยว 3.50 1.032 มาก 4 3. การจัดการด้านความสะดวกหรื อการบริ การพื้นฐาน 3.54 .935 มาก 3 4. การจัดการด้านความปลอดภัย 3.60 .950 มาก 2 5. การมีส่วนร่ วมของชุมชน 3.48 .950 ปานกลาง 5 รวม 3.59 .946 มาก จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวม ทั้ง 5 ด้านอยูในระดับมาก ( X =3.59,S.D.=.946) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การจัดการด้านกายภาพหรื อ ่ ภูมิทศน์ มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ( X =3.81,S.D.=.876) รองลงมาเป็ นการจัดการด้านความปลอดภัย มีค่า ั คะแนนเฉลี่ย( X =3.60,S.D.=.950) และด้านที่ต่าที่สุดอยูในระดับปานกลาง คือ การมีส่วนร่ วมของชุมน ( X ่ =3.48,S.D.=.950)
  • 7. 7 4. การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลียของคะแนนแรงจูงใจในการท่ องเที่ยวของกลุ่มตัวอย่าง ่ ที่มลกษณะส่ วนบุคคลได้ แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาในการทางาน และระดับการศึกษา ีั การเปรี ยบเที ย บค่ า เฉลี่ ย ระหว่ า งตัว แปรกับ แรงจู ง ใจในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมของ นักท่องเที่ยว จาแนกตามเพศ มีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวแตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 ั การวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวนแบบทางเดี ย วของคะแนนความพึ ง พอใจในการท่ อ งเที่ ยวเชิ ง ศิลปวัฒนธรรม ของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามช่วงอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ มีความพึงพอใจใน การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ของนักท่องเที่ยว แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญที่ระดับ .05 สรุ ปได้ดงตาราง ั ั ที่ 4 ตารางที่ 4 สรุ ปการเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวของความคิดเห็นต่อการจัดการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จาแนกตามลักษณะส่ วน บุคคล ที่ ลักษณะส่วนบุคคล การเปรี ยบเทียบ วิเคราะห์ความแปรปรวน t-test p-value F-test p-value 1 เพศ -2.708* .008 2 อายุ 2.792* .023 3 ระยะเวลาในการทางาน 9.958* .000 4 การศึกษา 6.152* .000 *ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์ระดับลึก ผูให้ขอมูลหลัก ได้แก่ เจ้าอาวาสวัดทั้ง 3 แห่ ง นายกองค์การบริ หาร ้ ้ ส่ ว นต าบล ก านัน และผูใหญ่ บ้าน แห่ งละ 4 คน และหน่ ว ยงานภาครั ฐ คื อ ท่ อ งเที่ ยวและกี ฬาจังหวัด ้ วัฒ นธรรมจังหวัด รวม 17 คน และการสนทนากลุ่ ม (Focus Group Discussion) กับ ผูเ้ กี่ ยวข้องกับ การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรม จานวน 12 คน ผลการวิจย ดังนี้ ั 5.1 สภาพการณ์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดราชบุรี จากการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ระดับลึก และการสนทนากลุ่ม กับผูเ้ กี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และหน่วยงานท้องถิ่น รวมถึงภาครัฐ ในประเด็นสภาพการณ์ ปั ญหาของทั้ง 3 แห่ง พบว่า สภาพของการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรีไ ด้มีการพัฒนาที่กาวหน้าเป็ น ้ ลาดับจากที่สถานที่ท่องเที่ยวไม่ค่อยรู้จก จนเริ่ มมีชื่อเสี ยงมากขึ้นเนื่ องจากจังหวัดราชบุรีมีอตลักษณ์ทาง ั ั วัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งชาติพนธุ์ จึงต้องสืบสานอนุรักษ์ไว้ให้คนรุ่ นหลัง นอกจากนี้ ยงกล่าวเสริ มอีกว่า ั ั
  • 8. 8 วัฒนธรรมที่มีความหลากหลายชาติพนธุ์ ดังว่า “ถ้ ามองด้ านพืนถิ่น ชาติพันธุ์คนราชบุรีเป็ นคนรั กษาเรื่ อง ั ้ ความเป็ นอยู่ในอัตลักษณ์ ของเขา อยากให้ เยาวชนรุ่ นหลังคงไว้ ซึ่งเชื ้อสาย ภาษาที่ เป็ นเอกลักษณ์ คงไว้ ซึ่ง ความงามความดี สืบสานกันไว้ ” ซึ่ งจังหวัดราชบุ รีมีทุนทางวัฒนธรรมมากมาย ถึง 8 ชาติ พนธุ์นับเป็ น ั อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของจังหวัดราชุรี โดยที่จงหวัดราชบุรีมีจุดเด่นในเรื่ องของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ั กับการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของชุมชนได้ ดังที่วฒนธรรมจังหวัดราชบุรี ั กล่าวว่า “ถ้ าพูดถึงคุณค่ าศิ ลปวัฒนธรรมราชบุรี จะมองถึงศิ ลปวัฒนธรรมที่ มีทุนเดิมมากมาย เป็ นต้ นว่ า ชาติ พันธุ์ ต่ างๆ เพราะเป็ นเมืองต้ นราชวงศ์ ที่ 1 เป็ นหลักฐานบ่ งบอกความเป็ นอยู่ในจังหวัด ซึ่ งประเทศไทยมีหลากหลาย ทางศาสนา ทางราชบุรี ก็จะมี ทั้ ง พุทธ คริ สต์ อิ สลาม ที่ เ ข้ า มาอยู่ ตรงนี ้ และเป็ นคนที่ รัก พื ้น ถิ่ น กันอยู่ เช่ น ชาวไทยพื ้นถิ่นจะอยู่แถวโพธาราม มีประเพณี อนุรักษ์ ไว้ และเวลามี ช่วงวัฒนธรรมเราก็จะจั ดงานวัฒนธรรม อนุรักษ์ เกี่ ยวกับชาติพันธ์ และอาหารพื ้นถิ่น... จริ งๆแล้ วเรามีทุนทางวัฒนธรรมอยู่แล้ ว เราไม่ จาเป็ นต้ องสร้ าง ให้ เป็ นสมัยใหม่ เช่ น สวนผึ ้ง จะมีโครงการที่ วัฒนธรรมทาอยู่แล้ ว ชื่ อว่ าโครงการบ้ านรั กษ์ ไทย ตรงนั้นจะมี ชาวกระเหรี่ ยงอยู่ เราก็จ ะส่ งเสริ มให้ พื้นที่ เหล่ านั้นเป็ นหมู่บ้านชาวกระเหรี่ ยงและอยากให้ มีอาชี พเกี่ ยวกั บ การถักทอ ทอผ้ า การค้ าขาย ปลูกผักเกี่ ยวกับพื ชการเกษตร ให้ ได้ มาจาหน่ ายในหมู่บ้าน เพราะทุกวันนี ้ตรงนั้น น่ าจะเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวอย่ างดีเลย” ส่ ว นสภาพการณ์ ก ารท่ องเที่ ยวในจังหวัด ราชบุ รี ทางสานักงานการท่ องเที่ ยวและกี ฬาในฐานะ ผูรับผิด ชอบโดยตรงของจังหวัด ราชบุ รี ซึ่ ง หัว หน้า กลุ่มงานการท่ องเที่ ย ว กล่า วถึ ง ภาพรวมของการ ้ ท่องเที่ยวในจังหวัดราชบุรี ดังว่า “ราชบุรีเคยเป็ นอู่ อารยธรรมมาก่ อน ทางโบราณคดี ของเก่ า ที่ ค้น พบได้ เ คยเจริ ญมาก่ อนในสมัย ทวาราวดี ทางส านั ก งานเองพยายามพรี เซ็ น ต์ ร าชบุ รี ในฐานะเมื อ งเก่ า ก็จ ะน าศิ ล ปะเผยแพร่ ต่ อ สายตา นักท่ องเที่ ยว ...เติ บโตค่ อนข้ างเร็ ว เด่ นๆอยู่ 3 อย่ างค่ ะ อย่ างแรกคื อ ความหลากหลายของชาติ พันธุ์ ความ หลากหลายทางวัฒนธรรม และ ความหลากหลายของศิ ลปะ คื อ เรานาเสนอราชบุรีเมื องของศิ ลปะ มี หลาย แขนง แหล่ งท่ องเที่ ยวภูเขา นาตกป่ าไม้ ” ้ สภาพการณ์ของชุมชนสร้อยฟ้ า อันเป็ นที่ ต้ งของวัดขนอนหนังใหญ่ มีศิลปวัฒนธรรมที่เก่าแก่สืบ ั ทอดต่อกันมา มีอายุมากกว่า 100 ปี ขึ้นไป มีความหลากหลาย โดยเฉพาะหนังใหญ่มีความโดดเด่น มีเพียง 3 แห่งในประเทศไทย ดังที่นายกองค์การบริ หารส่วนตาบลสร้อยฟ้ า กล่าวว่า “ปั จจุบนในของสร้ อยฟ้ า มีแหล่ งศิ ลปวั ฒนธรรม เช่ นหนังใหญ่ วัดขนอน มี วัดที่ เก่ าแก่ ก็ ค่ อนข้ างจะ ั อายุ 100 กว่ าปี ขึนไป 4 วัด วัดม่ วง วัดเกาะ วัดขนอน วัดสร้ อยฟ้ า ที่ จะร่ ายเรื่ อยกัน แหล่ งวัฒนธรรมก็จะมี วัด ้ ขนอน วัดเกาะอาคาร โรงเรี ยนเก่ าแก่ ตงแต่ สมัยรั ชกาลที่ 5 โรงเรี ยนได้ ยบไปเหลือแต่ อาคาร วัดม่ วงจะมี...จะมี ั้ ุ วัฒนธรรมศิ ลปะความหลากหลาย โดยเฉพาะหนังใหญ่ เนี ้ย มีแห่ งเดียวในราชบุรี มีอยู่ 3 ที่ วัดสว่ างอารมณ์ และ อี กที่ หนึ่ งมีแบบ ตัว 2 ตัว นอกจากนี ้หนังใหญ่ ได้ ยูเนสโก รางวัลแห่ งเกี ยรติ ยศในเรื่ องศิ ลปวัฒนธรรม ในตัว
  • 9. 9 ความเป็ นมาของหนังใหญ่ หรื อศิ ลปวัฒนธรรมแบบนี ้ มันเป็ นของโบราณนะ เล่ าสู่ กันฟั ง สื บทอดจากผู้สูงอายุ ที่ แล้ วมา ตกทอดมาเรื่ อยๆ เขาเรี ยกว่ าเป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ ทางปั ญญา และวัฒนธรรม ซึ่ งการเล่ ากันมาเนี่ ยถือว่ าเป็ น คุณค่ าของหมู่บ้านและชุมชน การแสดงหนังใหญ่ แต่ ก่ อนทั่วไปหาดูได้ ไม่ ยาก ไม่ มีสะพาน ไม่ มีถนนอะไร ใหญ่ โต อี กอย่ างการติดต่ อสื่ อสาร มันต้ องไปทางเรื อ” ซึ่งสรุ ปได้ดงตารางที่ 5 ั ตารางที่ 5 สรุ ปประเด็นสาคัญของสภาพการณ์และข้อมูลพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยว ประเด็น วัดโขลงสุ วรรณคีรี วัดขนอนหนังใหญ่ วัดคงคาราม คูบัว 1.สภาพการณ์ มีการพัฒนาทุกด้าน ทั้ง มีการพัฒนารวดเร็ วเติบโต มีการพัฒนาความร่ วมมือ ปัจจุบน ั แหล่งท่องเที่ยว สิ่ ง เข้มแข็งมีอาคารสถานที่ ของผูนาท้องถิ่น แต่ยง ้ ั อานวยความสะดวก ห้องน้ า ใหม่ นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น พัฒนาไปได้ชา เน้นการ ้ นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น สู งสุ ด พึ่งตนเอง 2.ชาติพนธุ์ ั ไท-ยวน มอญ มอญ 3.จุดเด่น มีโบราณสถาน ผ้าจก ประเพณี หนังใหญ่ พิพิธภัณฑ์ จิตรกรรมฝาผนัง วัฒนธรรมไท-ยวน ประเพณี อัตลักษณ์ศิลปะ 5 แขนง พิพิธภัณฑ์ กุฏิ 9 ห้อง ดั้งเดิม Wireless ในวัดโขลงฯ การแสดงมีชีวิตชุมชน อัตลักษณ์ชาวมอญ ชาวมอญ ความร่ วมมือของ การพึ่งตนเอง ความ ท้องถิ่น ร่ วมมือของท้องถิ่น 4.จุดอ่อนและปัญหา การประชาสัมพันธ์ไม่ต่อเนื่อง เลยจุดล้มเหลงไปแล้ว ภาครัฐยังไม่เคย ความขัดแย้ง ความไม่เข้าใจ คนรุ่ นใหม่ให้ความสนใจ สนับสนุนเท่าที่ควร ผลประโยชน์ น้อย ขาดการสนับสนุน ขาดผูประสานงาน ้ การปักหมุดของกรมธนารักษ์ จากรัฐอย่างต่อเนื่อง 5.การจัดการการ มีการจัดการการท่องเที่ยวที่ดี มีการจัดการการท่องเที่ยวที่ มีการจัดการการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และบนฐานของความไม่ลงรอย ดีมาก ในระดับต่า กัน 6.ความต้องการพัฒนา การพัฒนารอบเมืองโบราณ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่ การพัฒนาถนนข้าวแช่ และท่องเที่ยวแบบเกาะกลุ่ม หลากหลาย/ แพ อุทยาน แพ อุทยานมัจฉา ตลาดชุมชน มัจฉาการท่องเที่ยวทางน้ า การท่องเที่ยวทางน้ า 7. การสนับสนุน ภาครั ฐ สนั บ สนุ น จั ด งาน ภาครั ฐ สนับ สนุ น จัดงาน ยังไม่มีการสนับสนุ นจาก สงกรานต์ แสงสี เสี ยง ส ง ก ร า น ต์ ม ห ก ร ร ม รั ฐ แต่ อ ย่ า งใด ไม่ มี ใ น โรงไฟฟ้ าสร้างพระใหญ่ หนังใหญ่ แผนการท่องเที่ยว 8.ลาดับศักยภาพและ ความพร้อมในการ ลาดับที่ 2 ลาดับที่ 1 ลาดับที่ 3 พัฒนา
  • 10. 10 5.2 แนวทางการส่ งเสริมการท่ อ งเที่ย วเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม จังหวัด ราชบุรี แนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมของเมืองโบราณและจิปาถะ ภัณฑ์สถานบ้านคูบว ภายในวัดโขลงสุ วรรณคีรี มีการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแบบค่อยเป็ น ั ค่ อยไป ไม่ก่ อ หนี้ มีภูมิคุ ้มกัน อยู่อย่า งวิถีเ รี ยบง่ าย ชุ มชนมีรายได้ สามารถส่ งเสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ มชน การขายอัตลักษณ์ ความเป็ นคูบัว มีคลังความรู้ ชุมชน ส่ วนบทบาทการสนับสนุ นขององค์ก รภาครัฐและ เอกชน มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน เช่นโรงไฟฟ้ าราชบุรี มีการจัดการการท่องเที่ยวแบบสมัยสมัย ได้แก่ 4 M คือ คน เงิ น วัสดุ และวิธีการ มีสิ่งอานวยความสะดวกเน้นการประชาสัมพัน ธ์ กิจกรรมการ ท่องเที่ยวการอนุรักษ์สืบทอด ไท-ยวน วันสงกรานต์ นางงอม แสง สี เสี ยง มีกิจกรรมครบวงจร ส่ วนปั จจัย ความสาเร็ จ คือ ผูนา การมีส่วนร่ วม การจัดการ การประชาสัมพันธ์ ใช้หลัก “บวร”สามัคคี ส่ วนปั จจัยความ ้ ล้มเหลว คือ ผลประโยชน์ ความขัดแย้ง ขาดการมีส่วนร่ วม ทิฐิ อิจฉา ส่วนจุดเด่นของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมคูบว ซึ่งหัวหน้ากลุ่มงานการท่องเที่ยว สานักงานการ ั ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี มีมุมมองว่า “ส่ วนวัดโขลงสุวรรณคีรี เป็ นเมืองโบราณ เป็ นชุมชนที่ อพยพ จากไทยยวน ผสมศิลปะกัน ...แต่ ยังไม่ เป็ นที่ ร้ ู จักมากนั ก จาเป็ นต้ องประชาสัมพันธ์ เพิ่ มเติม ”นอกจากนี้ “ทางสานัก งานฯ มีงบประมาณสร้ างห้ องน้า การขยายแสง สี เสี ยง เราพยายามทาต่ อเนื่ องให้ เป็ นงาน ประเพณี ทุกปี ค่ ะ” ส่ ว นแนวทางในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม ประการหนึ่ งคื อ ร้ า นค้า และผู้เ กี่ ย วข้อ งกับ การท่องเที่ยวควรแต่งกายด้วยชุดไท-ยวน อันบ่งบอกถึงอัตลักษณ์วฒนธรรมไท-ยวน เพื่อให้นกท่องเที่ยวได้ ั ั ชื่นชมวัฒนธรรมเวลามาท่องเที่ยวในคูบว ดังที่เจ้าอาวาสวัดโขลงสุวรรณคีรี กล่าวว่า “อย่ างงีไง ในแนวคิ ด ั ้ ของฉันที่ว่าร้ านค้ าอะนะ เวลาคนเข้ ามาขายในวัด ถ้ านักท่ องเที่ ยวทาเป็ นระบบคนที่ เข้ ามาเยอะๆอย่ างเนี่ ย เป็ นพัน สองพันอย่างเงีย ต่ อไปคนที่เข้ ามาขายของในนี่นะ ต้ องแต่ งชุดประจาคูบัวตรงนีนะ แม้ ว่าจะเป็ นลูก ้ ้ เด็กเล็กแดง ตรงนี ” ้ ส่วนวัดขนอนหนังใหญ่มการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน มีการพึ่งตนเอง ชุมชนมี ี รายได้ ค่อยเป็ นคอยไป ความรู้และคุณธรรม มีหลักสูตรท้องถิ่น คลังความรู้ชุมชน บทบาทการสนับสนุ น ขององค์กรภาครัฐและเอกชนได้รับการสนับสนุ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ มีการจัด การการท่องเที่ยวมีสิ่ง อานวยความสะดวก ความปลอดภัย การเป็ นแบบอย่างให้กบแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ มีกิจกรรมการท่องเที่ยว ั คือการไหว้พระประธาน การทาการตลาด การสร้างความแตกต่าง การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาคน การจัดการทางน้ า มหกรรมหนังใหญ่ วันสงกรานต์ การแสดงหนังใหญ่ทุกวันเสาร์ ปั จจัยความสาเร็ จ คือ ใช้หลักบวร การมีส่วนร่ วม การทุ่มเทจริ งจัง ศรัทธาในตัวบุคคล ความรู้ ส่วนปัจจัยความล้มเหลว ไม่พบแต่ สามารถพัฒนาเป็ นลาดับขั้น ที่เจริ ญรุ่ งเรื องไม่ลงไปถึงจุดต่าสุด
  • 11. 11 ส่วนจุดเด่นทางหัวหน้ากลุ่มงานการท่องเที่ยว สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี มอง หนังใหญ่วดขนอน ว่า “จุดเด่ นของวัดขนอน คื อ เป็ นศิลปะการแสดงชั้นสูงที่ หาดูได้ ยากแล้ ว เป็ นแค่ กลุ่ม ั คนเล็กๆที่สามารถอนุรักษ์ ไว้ ได้ ...เป็ นสิ่งดีที่ทาให้ เกิดการรั กในถิ่นกาหนด เทศกาลประเพณี เป็ นสีสัน.” การท่ องเที่ ย วเชิ งวัฒ นธรรมไม่ค่ อยประสบความสาเร็ จ เนื่ องจากการไม่เข้าใจของคนทางาน วัฒนธรรม ไม่ลงไปลึกถึงรากเหง้าที่แท้จริ ง และภาครัฐต้องให้การสนับสนุ นอย่างแท้จริ ง ดังว่า “การท่ อ งเที่ ยวเชิ งวั ฒนธรรมส่ วนใหญ่ มันไม่ ค่อ ยประสบความส าเร็ จ ส่ วนใหญ่ ล้ มเหลวเลยที เ ดี ย ว เนื่ องจากการไม่ เข้ าใจของคนทางานวัฒนธรรมซะมากกว่ า แล้ วก็เราร่ วมกันอนุรักษ์ สักแต่ ว่าทาแค่ แค่ ให้ ร้ ู ว่ าทา แต่ ไ ม่ ไ ด้ ห ยั่งลึ ก ลงไปในรากเหง้ า โดยแท้ จ ริ ง อั น นี ้ คื อ การอนุ รั ก ษ์ เ พี ย งแต่ เ ปลื อ งนอก มัน เลยท าให้ งาน วัฒนธรรมไม่ ยงยืน พอลงไปทาชุดหนึ่ งปั๊ บ พอสาเร็ จแล้ วก็เลิก และมันเดินต่ อไปไม่ ได้ ถ้ าไม่ ทาไปเรื่ อยๆ อันนี ้ ั่ คื อ ข้ ออ่ อน ของคนไทยที่ ท าให้ เห็นว่ า ได้ ดีแล้ วก็หยุดละ การทาให้ มันเดิ นไปได้ มันต้ องมี ก ารสนับสนุนไป เรื่ อยๆ เพราะว่ า การท่ องเที่ ยวงานวัฒนธรรมมันไม่ ใช่ งานที่ ยั่งยื น มันควรที่ จะทาในเรื่ องของการอนุรักษ์ ไป เรื่ อยๆ มันจะทาให้ ตรงนี ้อยู่ได้ แล้ วก็ภาครั ฐต้ องให้ การสนับสนุนอย่ างแท้ จริ ง ถ้ าภาครั ฐสนับสนุนอย่ างแท้ จริ ง การจัดการวัฒนธรรมจริ งๆแล้ วมันใช้ งบประมาณไม่ มาก ถ้ ามีการดูแลเด่ น สถานที่ นั้นมันเด่ นเรื่ องอะไร เราทา ตรงนั้น ตรงนั้นต้ องมีเรื่ องอไร อย่ างเช่ น วัดขนอนเนี ้ย มีเรื่ องหนังใหญ่ สถานที่ ในวัดต้ องดี โรงแสดงหนังใหญ่ ต้ องดี มันต้ องมีงานออกมาให้ ” ขณะที่วดคงคาราม มีการจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน มีการพึ่งตนเอง การใช้พลัง ั ชุมชน การเกษตรผสมผสาน คลังความรู้ชุมชน ส่ วนบทบาทการสนับสนุ นขององค์กรภาครัฐและเอกชน ยังให้การสนับสนุนน้อยมาก การจัดการการท่องเที่ยวมีการจัดการสมัยใหม่ การจัดการความรู้ โครงสร้าง บริ ก าร การบริ หารพื้น ที่ สิ่ งอานวยความสะดวก การเปิ ดโลกทัศน์ การจัด ทาโครงการ การพัฒนาคน กิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น ถนนข้าวแช่ ฟื้ นฟูวฒนธรรมมอญ วันสงกรานต์ ส่ วนปั จจัยความสาเร็ จ ใช้หลัก ั จิตอาสา บวร ปัจจัยความล้มเหลว คือ การมีส่วนร่ วม และผูนา ้ จิ ต รกรรมฝาผนัง วัด คงคาราม ในชุ ม ชนคลองตาคตมี ค วามหลากหลายในเชื้ อ ชาติ ม อญมี ศิลปวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็ นจิตรกรรมฝาหนังที่มีความสวยงามและเก่าแก่ กุฏิไทย 9 ห้องและพิพิธภัณฑ์ พื้นบ้าน ล้วนบ่งบอกอัตลักษณ์ชาวมอญได้ ดังที่อดีตปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลองตาคต ซึ่งเป็ นชาว มอญ กล่าวว่า “จุดเด่ นที่สาคัญของวัดคงตาราราม คื อ จิ ตรกรรมฝาผนังที่ เก่ าแก่ มีความสวยงาม และความ เป็ นชุมชนมอญ” ส่ ว นในประเด็ น การท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม อดี ต ปลัด องค์ก ารบริ หารส่ ว นต าบลคลองตาคต ซึ่งเป็ นคนในพื้นที่ เคยเป็ นปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลสร้อยฟ้ า อดีตปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลอง ตาคต และปัจจุบนเป็ นปลัดองค์การบริ หารส่วนตาบลคลองข่อย กล่าวถึงสภาพการณ์ของการท่องเที่ยวเชิง ั วัฒนธรรมในอดีตมีความลุ่มๆ ดอนๆ คนไม่ค่อยให้ความสาคัญเท่าที่ควร ดังว่า
  • 12. 12 “ผมสะท้ อนสองที่ ครั บที่ อยู่วัดขนอนมา 5 ปี แล้ วก็ที่วัดคงคาราม คื อในสมัยก่ อนเนี่ ยแหล่ งท่ องเที่ ยว เช่ น วัดขนอน วัดคงคารามยังไม่ ได้ รับความสาคัญนะครั บ ก็นักท่ องเที่ ยวจะมาน้ อยเป็ นที่ ร้ ู จั กในกลุ่มเฉพาะ ตอน หลังเมื่อทางวัดขนอนได้ รับรางวัลยูเนสโกก็ได้ รับการยอมรั บเพราะฉะนั้นตรงนั้นคื อสื่ อที่ กระจายไปมันทาให้ กลุ่มนักท่ องเที่ วเข้ ามามาก ที่ นี้ในส่ วนที่ อีกอย่ างที่ ผมสั งเกตคื อ ตอนนี ้เรื่ องการท่ องเที่ ยวกระแสมันเปลี่ยนไปคน ที่ มีความรู้ คนที่ มีฐานะส่ วนมาก นะผมจัดคนที่ มีความรู้ มี อายุ พวกกลุ่มๆชั้นกลางหรื อชั้นบนนิ ดหนึ่ งจะมาหั น มาสนใจการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมแล้ วเพื่ อความโลมใจ นั่นคื อกลุ่มผู้ใหญ่ เข้ ามาก็จะพาบุตรหลานเข้ ามาด้ วย” จึ งเห็ น ได้ว่า แนวทางการส่ งเสริ มการท่ องเที่ ยวเพื่อการศึก ษาศิล ปวัฒ นธรรม ประกอบด้ว ย 2 องค์ประกอบ คือ 1) หน่ วยงานภาครัฐ ได้แก่ หน่ วยงานในชุมชน เช่น องค์การบริ หารส่ วนตาบล และ องค์กรชุมชน เป็ นต้น หน่วยงานภาครัฐภายนอก ได้แก่ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด องค์ก ารบริ หารส่ ว นจังหวัด หอการค้าจังหวัด รวมถึงททท.ภาค เป็ นต้น 2) แหล่ ง ท่องเที่ยว เป็ นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน สาหรับแนวทางการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้ว ยการวิเ คราะห์ส่วนขาดในประเด็ น ปั ญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะของ ผูเ้ กี่ ยวข้อ ง การพัฒ นาแบบค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไปตามหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ยง 3 ห่ ว ง ได้แก่ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล และภูมิคุมกัน และ 2 เงื่อนไข คือเงื่อนไขคุณธรรม และเงื่อนไขความรู้ การมี ้ ผูนาที่เข้มแข็ง เสียสละและจิตอุทิศ การมีส่วนร่ วมของชุมชน ในลักษณะของ “บวร” ได้แก่ บ้านวัด โรงเรี ยน ้ การจัดกิจ กรรม การท่องเที่ยวที่ต่อเนื่ อง การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่ อต่ างๆ การจัดสิ่ งอานวยความสะดวก ให้กบนักท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่นและสามารถจูงใจให้นกท่องเที่ยว สิ่ งสาคัญในการ ั ั สนับสนุ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ทั้งความรู้ สิ่ งอานวยความสะดวก การพัฒนาศัก ยภาพแหล่งท่องเที่ ย ว การประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สรุ ปได้ดงตารางที่ 6ั
  • 13. 13 ตารางที่ 6 สรุ ปการวิเคราะห์แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยว 3 แห่ง ที่ องค์ประกอบ วัดโขลงสุ วรรณคีรี วัดขนอนหนังใหญ่ วัดคงคาราม 1 การจัดการตามแนวทาง เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจ การพึ่งตนเอง ชุมชนมี การพึ่งตนเอง เศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงแบบค่อยเป็ นค่อย รายได้ ค่อยเป็ นคอยไป การใช้พลังชุมชน ไป ไม่ก่อหนี้มีภูมิคุมกัน ้ หลักสู ตรท้องถิ่น การเกษตรผสมผสาน วิถีเรี ยบง่าย ชุมชนมี ความรู ้และคุณธรรม คลังความรู ้ชุมชน รายได้ การขายอัตลักษณ์ คลังความรู ้ชุมชน คูบว คลังความรู ้ชุมชน ั 2 บทบาทการสนับสนุน ภาครัฐและเอกชน ภาครัฐและเอกชน ภาครัฐและเอกชน ยัง ขององค์กร สนับสนุนมาก สนับสนุนมาก ไม่สนับสนุน โรงไฟฟ้ าราชบุรี 3 การจัดการการท่องเที่ยว มีการจัดการสมัยใหม่ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว มีการจัดการสมัยใหม่ ได้แก่ 4 M คือ คน เงิน สิ่ งอานวยความสะดวก การจัดการความรู ้ วัสดุ และวิธีการ ความปลอดภัย การเป็ น โครงสร้างบริ การ การจัดการแหล่ง แบบอย่าง การบริ หารพื้นที่ ท่องเที่ยว สิ่ งอานวยความ การไหว้พระประธาน สิ่ งอานวยความสะดวก สะดวก การทาการตลาด การเปิ ดโลกทัศน์ เน้นการประชาสัมพันธ์ การสร้างความแตกต่าง การจัดทาโครงการ การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาคน การพัฒนาคน 4 กิจกรรมการท่องเที่ยว การอนุรักษ์สืบทอด การจัดการทางน้ า มหกรรม ถนนข้าวแช่ ไท-ยวน หนังใหญ่ ฟื้ นฟูวฒนธรรมมอญ ั วันสงกรานต์ วันสงกรานต์ วันสงกรานต์ นางงอม การแสดงหนังใหญ่ทุกวัน แสงสี เสี ยง เสาร์ กิจกรรมครบวงจร 5 ปัจจัยความสาเร็จ ผูนา การมีส่วนร่ วม ้ บวร การมีส่วนร่ วม จิตอาสา การจัดการ การทุ่มเทจริ งจัง ศรัทธาใน บวร การประชาสัมพันธ์ ตัวบุคคล ความรู ้ “บวร”สามัคคี 6 ปัจจัยความล้มเหลว ผลประโยชน์ สามารถพัฒนาเป็ นลาดับ การมีส่วนร่ วม ความขัดแย้ง ขั้น ที่เจริ ญรุ่ งเรื องไม่ลงไป ผูนา ้ ขาดการมีส่วนร่ วม ถึงจุดต่าสุ ด ทิฐิ อิจฉา
  • 14. 14 ข้ อเสนอแนะจากการวิจย ั จากผลการวิจย ผูวิจยมีขอเสนอแนะ 2 ระดับ คือ ข้อเสนอแนะระดับนโยบายและข้อเสนอแนะใน ั ้ ั ้ การนาผลการวิจยไปใช้ รวมถึงข้อเสนอแนะการวิจยครั้งต่อไป ดังต่อไปนี้ ั ั 1. ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. จากผลการวิจ ัยที่ พบว่า การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมยังไม่มี สิ่ง ดึ ง ดูด ใจที่ โ ดดเด่ น ให้ นักท่องเที่ยวสนใจมากพอ ดังนั้นหน่ วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้องระดับ จังหวัด ควรจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ้ เพื่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สร้างเอกลักษณ์/ความรู้/คุณค่า ให้เห็นวัฒนธรรมเฉพาะท้องถิ่นที่ เป็ นเอกลักษณ์เพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรม/ตัวตนของคนในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี 2. จากผลการวิจยที่พบว่า การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยู่ในระดับต่าสุ ด ั ดังนั้นหน่วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้องระดับจังหวัด ควรเร่ งรัดและสนับสนุน ส่งเสริ มการประชาสัมพันธ์เชิง ้ รุ ก รวมถึงหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดควรสนับสนุ นด้านงบประมาณในการจัดกิจกรรม/การรณรงค์ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามปี ปฏิทินอย่างจริ งจังและต่อเนื่อง 3. จากผลการวิจยที่พบว่า การท่องเที่ยวในจังหวัดราชบุรี มีปัญหาด้านการมีส่วนร่ วมในแหล่ง ั ท่องเที่ยว ดังนั้นหน่วยงานและผูมีส่วนเกี่ยวข้อง ระดับจังหวัด ควรเร่ งรัดและสนับสนุ น ส่ งเสริ มการมีส่วน ้ ร่ ว มอย่างจริ งจัง ตามหลัก “บวร” คื อ บ้าน วัด โรงเรี ยน และชุมชน การปรับภูมิทัศน์ รวมถึงเพิ่มความ ปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวตามสภาพภูมิสงคม ั 2. ข้ อเสนอแนะจากการนาผลการวิจยไปใช้ ั จากข้อค้นพบการวิจยครั้งนี้ ควรพิจารณาประเด็นต่างๆ เพื่อให้เกิดผลสาเร็ จในการท่องเที่ยว ั ดังนี้ 1. จากผลการวิจยที่พบว่า การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ยังขาดการจัดการที่ดี ทั้ง ั ด้านร้านอาหารและเครื่ องดื่ม ร้านขายของที่ระลึก หรื อสินค้าพื้นถิ่น และไฟฟ้ าแสงสว่าง รวมถึงมัคคุเทศก์ ท้องถิ่นที่บริ การนักท่องเที่ยวที่อยูในระดับต่าสุด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและท้องถิ่น ควรมีการประชุม ่ วิเคราะห์ส่วนขาดในปัญหาการท่องเที่ยว และจัดทาแผนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2. จากผลการวิจยที่พบว่า ข้อมูลการเดินทาง เช่น ป้ ายบอกทาง สิ่ งอานวยความสะดวก เพื่อ ั การท่องเที่ยว ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น แผ่นพับ/เอกสารแนะนา รวมถึงอินเตอร์ เน็ต ยังขาด การพัฒ นาและไม่เพีย งพอ ดังนั้น หน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้องและท้องถิ่น ควรจัด ทาแผนเพื่อของบประมาณ การสนับสนุนการดาเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จากผลการวิจยที่พบว่า การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยู่ในระดับต่าสุ ด ั ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและท้องถิ่น รวมกับสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น ควรเร่ งรัดการประชาสัมพันธ์ เชิงรุ ก โดยเฉพาะการเสนอข่าวสารผ่านทางสื่ อ ป้ ายโฆษณาการท่องเที่ยว รวมถึงการประชาสัมพันธ์ผ่าน ทางสื่อสารมวลชน ทางเว็บไซต์ หรื ออินเตอร์เน็ต และส่งข่าวกิจกรรมการท่องเที่ยวให้กบการท่องเที่ยวแห่ ง ั ประเทศไทย สาขาจังหวัดเพชรบุรี
  • 15. 15 4. จากผลการวิจยที่พบว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ยังขาดการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ั และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่นเป็ นที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยว ทั้งที่มีศิลปวัฒนธรรมอยู่แล้ว ดังนั้น ผูเ้ กี่ยวข้องและท้องถิ่นควรมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้หรื อเวทีประชาคม การศึกษาดูงานแหล่งท่องเที่ยว ที่ประสบความสาเร็ จ เพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมของท้องถิ่น ในหลัก “บวร” ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรี ยน และ ชุมชน จากความขัดแย้งและไม่เข้าใจกัน รวมถึงการรับฟั งความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 5. จากการวิจยที่พบว่า การเรี ยนรู้ศิลปวัฒนธรรมที่นักท่องเที่ยวกลุ่มนักเรี ยน/นักศึกษาและ ั ผูสูงอายุได้เห็นคุณค่าและให้ความสาคัญ ดังนั้นหน่วยงาน และผูเ้ กี่ยวข้อง ควรประสานกับสถาบันการศึกษา ้ จัดอบรมผูนาชม มัคคุเทศก์ทองถิ่น ผูมีจิตสาธารณะ เพื่อให้ความรู้นาชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างมี ้ ้ ้ คุณภาพ รวมถึงการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี 6. จากข้อค้นพบที่ว่า ชุมชนมีการปฏิบติตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีวิถีชุมชนที่ ั เรี ยบง่าย มีผนาที่เข้มแข็ง ดังนั้นหน่ วยงาน ผูเ้ กี่ยวข้องและชุ มชน ควรนาสิ่ งดีๆ เช่น ทุนทางสังคม ทุนทาง ู้ วัฒนธรรม ความเป็ นชาติพนธุในอู่อารยธรรมจังหวัดราชบุรี มาเสริ มสร้างจุดเด่นให้เกิดการเรี ยนรู้ การศึกษา ั ์ ศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการส่งเสริ มการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้ประสบความสาเร็ จ บรรณานุกรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.(2547). ยุทธศาสตร์ การท่ องเที่ ยว พ.ศ. 2547-2551. กรุ งเทพฯ : สานัก นโยบายและแผน. . (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ. พ.ศ. 2555-2259. กรุ งเทพฯ : คณะกรรมการ นโยบาย การท่องเที่ยวแห่งชาติ. จันทร์ ชุ่มเมืองปี ก. (2546). แรงจูงใจและการจูงใจสร้ างปาฏิหาริ ย์.. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอกหญ้า กรุ๊ ป. จังหวัดราชบุรี.(ม.ป.ป.) ราชบุรี. ราชบุรี : องค์การบริ หารส่วนจังหวัดราชบุรี. . (ม.ป.ป.). ผู้ว่าฯ ชวนกิน ชวนซือ ชวนเที่ยว ชวนพักราชบุรี. ราชบุรี : ม.ป.ท. ้ . . (ม.ป.ป.) เที่ยวชมราชบุรี. ราชบุรี : ม.ป.ป. ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนการท่ องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ . นริ นทร์ สังข์รักษา.(2549) รายงานการวิจยโครงการการจัดทาแผนเครื อข่ายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ั ย่อมรายสาขา จาแนกตามพื้นที่กลุ่มภาคตะวันตก กรณี ศึกษาสุกรคุณภาพจังหวัดราชบุรีและ นครปฐม. เสนอต่อ สานักงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. .(2552).รายงานการวิจย เครื อข่ายการผลิตสิ นค้าเกษตรและของจังหวัด นครปฐมเพื่อการ ั ท่องเที่ยว. กรุ งเทพฯ : สถาบันวิจยเพื่อการท่องเที่ยวไทย สานักงานกองทุนสนับสนุ นการ ั วิจย. ั