SlideShare a Scribd company logo
1 of 178
Download to read offline
 
 
1 
 
ประชุมวิชาการ โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14
วันที่ 25-26 พฤษภาคม 2559
วิถีแห่งความสุข ของมนุษย์วัยทํางาน
ณ ห้องประชุมรําไพพรรณี โรงพยาบาลพระปกเกล้า
คํานํา
การประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ประจําปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ ๑๔ แล้ว ภายใต้แนวคิดหลัก
(Theme) “วิถีแห่งความสุข ของมนุษย์วัยทํางาน” ซึ่ง Theme งานนี้ได้มาจากการระดมความเห็นและโหวต
จากบุคลากรภายในโรงพยาบาล เนื้อหาการประชุมวิชาการในปี นี้จึงประกอบด้วย ปาฐกถาพิเศษ
จากผู้ตรวจราชการ เขตสุขภาพที่ ๖ นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ทํางานอย่างไรให้มีความสุข โดย
รศ.(พิเศษ)นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผอ.รพ.สมิติเวชศรีราชา อดีตผอ.รพ.พระปกเกล้า ต่อด้วยเรื่อง สุขภาพดีวิถี
คนทํางาน โดย นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า ลงท้ายด้วยเรื่อง ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ
โดย พญ.เสาวนิตย์กมลธรรม นอกจากหัวข้อบรรยายดังกล่าวแล้ว ยังมีหัวข้อสาระน่ารู้ update ทางวิชาการ
จากแพทย์ทุกๆสาขาเช่น CPR update 2016 , update wound care เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการนําเสนอ
ผลงานทางวิชาการเช่นเคยทั้ง R2R, CQI, IVT
ผู้เข้ารับการอบรมในครั้งนี้ นอกจากจะได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย-ใจของตนเองแล้ว
ยังสามารถนําความรู้ไปแนะนําผู้ป่วยและญาติที่อยู่ในวัยทํางานได้ด้วย เพื่อในที่สุดแล้วเราจะมีบุคลากร
สาธารณสุขที่มีสุขภาพดี สามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีคุณภาพต่อไป
(พญ.กนกกร สวัสดิไชย)
ประธานคณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการ
โรงพยาบาลพระปกเกล้าครั้งที่ ๑๔
ข
 
 
สารบัญ
หน้า
บทนํา ก
ส่วนที่1 1
กําหนดการประชุม 2
กําหนดการนําเสนอ 3
รายชื่อกองบรรณาธิการและคณะกรรมการพิจารณางานวิจัย 5
ผลงานวิชาการ 7
ส่วนที่2 17
บทคัดย่อ 18
ส่วนที่3 144
รายชื่อบริษัทผู้สนับสนุน 145
สาระน่ารู้ 147
 
 
1 
 
ส่วนที่1
♥ กําหนดการประชุม
♥ กําหนดการนําเสนอผลงาน
♥ รายชื่อกองบรรณาธิการและ
คณะกรรมการพิจารณางานวิจัย
♥ ผลงานวิชาการ
2 
 
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559
ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี
08.30-08.45 น. การแสดงเปิดงาน
08.45-10.00 น. พิธีเปิด โดย นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 6
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
10.00 -10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
10.15-12.00 น. บรรยาย "ทํางานอย่างไร ให้มีความสุข"
โดย : รศ.นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผอ.รพ.สมิติเวช ศรีราชา
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. บรรยาย " สุขภาพดีวิถีคนทํางาน "
โดย : นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า
นําเสนอสาระน่ารู้ Update วิชาการทางการแพทย์และการรักษา
13.00-13.25 น. • การวัดพังผืดของตับในผู้ป่วยโรคตับเรื้อรังด้วยเครื่อง Transient elastography
โดย : นายแพทย์พุทธ เมืองไพศาล กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.พระปกเกล้า14.30-14.40 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
14.40-16.00 น. บรรยาย " สุขภาพดีวิถีคนทํางาน " (ต่อ)
โดย : นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า
13.25-13.50 น. • การรักษาเบาหวานในเด็ก
โดย : แพทย์หญิงฐาปนา รุ่งหิรัญวัฒน์ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม รพ.พระปกเกล้า
13.50-14.15 น. • Presurgical nasoalveolar molding technique for infant cleft lip and palate
patient: A case report
โดย : ทันตแพทย์ปฐมพร จงจรวยสกุล กลุ่มงานทันตกรรม รพ.พระปกเกล้า
14.15-14.40 น. • Diffuse sclerosing osteomyelitis of the mandible : a case report
โดย : ทันตแพทย์กําธร อุทรักษ์ กลุ่มงานทันตกรรม รพ.พระปกเกล้า
14.40-14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
14.50-15.15 น. • Update in Cervical cancer prevention
โดย : แพทย์หญิงวินียา ศุขนิคม กลุ่มงานสูติ นรีเวชกรรม รพ.พระปกเกล้า
15.15-15.40 น. • ACL (เอ็นไขว้หน้าบาดเจ็บ)
โดย : นายแพทย์พลชัย วงษ์ทองสาลี กลุ่มงานศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ รพ.พระปกเกล้า
15.40-16.05 น. • เครื่องถอนหัวเข็มฉีดยาออกจาก hub : ป้องกันอุบัติเหตุบุคลากรถูกเข็มทิ่มตํา
โดย : นายแพทย์พรศักดิ์ ลิ้มวัฒนากุล กลุ่มงานศัลยกรรม รพ.พระปกเกล้า
ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า
กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
 
 
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2559
ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี
08.30-10.00 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา R2R 08.30-10.10 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CR/R2R/CQI
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 10.10-10.25 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
10.15-12.00 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา R2R/CQI 10.25-12.00 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา CQI/IVT 13.00-14.10 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 14.10-14.25 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
นําเสนอสาระน่ารู้ Update วิชาการทางการแพทย์และการรักษา 14.25-15.55 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI/IVT
14.45-15.10 น. • CPR update in 2016 โดย :
นายแพทย์โพธิ์ จรรยาวนิชย์ กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.พระปกเกล้า
15.10-15.35 น. • Scrub the Hub ร่วมด้วยช่วยป้องกัน BSI
โดย : น.ส.มุจรินทร์ แจ่มแสงทอง งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อใน
โรงพยาบาล รพ.พระปกเกล้า
15.35-16.00 น. • Update Wound Care
โดย : นายแพทย์กฤษณ์ จงแจ่มฟ้า กลุ่มงานศัลยกรรม รพ.พระปกเกล้า
ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า
กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
4 
 
หมายเหตุ ; กําหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
วันศุกร์ที่ 27 พฤษภาคม 2559
ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี
08.30-09.00 น. ชมภาพบรรยากาศการประชุม
09.00-10.00 น. บรรยาย “ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ”
โดย : พญ.เสาวนิตย์ กมลธรรม
10.00 -10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster
10.15 -11.30 น. บรรยาย “ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ” (ต่อ)
โดย : พญ.เสาวนิตย์ กมลธรรม
11.30-12.00 น. มอบรางวัลผลงาน เหรียญทอง/เงิน/ทองแดง และชมเชย
หน่วยงานที่ส่งผลงานมากที่สุดในโรงพยาบาล
ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า
กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
 
 
กองบรรณาธิการด้านเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ
โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจําปี 2559
1. นายแพทย์โกมล ประภาสิต ประธานกรรมการ
2. นางอรสา ศิริวุฒิ กรรมการ
3. นางสาวจรินญา กาบสันเทียะ กรรมการ
4. นางสาวอุกายเกตุ ปิยารมย์ กรรมการ
5. นางสาวจตุพร เชยทอง กรรมการ
6. นางสาวรัชนิญา สนธิวรุณ กรรมการ
7. นางสาวธนัชชา แท่งทอง กรรมการ
8. นางสาววรัษฐา หอมมะลิ กรรมการ
6 
 
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการ
โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจําปี 2559
ประเภท clinical research และ R2R
1. นายแพทย์ภัทร์พงศ์ อุดมพัฒน์
2. ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา
3. ดร.ชดช้อย วัฒนะ
ประเภท CQI และ IVT
1. ดร.ทองสวย สีทานนท์
2. ดร.พรฤดี นิธิรัตน์
3. ดร.บัญชา พร้อมดิษฐ์
 
 
ผลงานวิชาการด้วยวาจา
ประเภท งานวิจัยจากงานประจํา
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
R2R-O-1 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อลดปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา จากการคัดลอก
คําสั่งการใช้ยางานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน
สุวรรณ ภิญโญจิตต์
นิตยา ชนะกอก
จารุวรรณ วานม่วง
19
R2R-O-2 ผลลัพธ์ของการใช้Standing order Cryptococcal menigoencephalitis และ
Pneumocystis Carinii pneumonia (PCP) ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลสมเด็จ
พระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 
นัดดา พรหมสาขา ณ สกลนคร
21
R2R-O-3 เปรียบเทียบผลการใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับระบบเปิดต่ออัตราการเกิดปอด
อักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจและค่าใช้จ่ายการดูดเสมหะในผู้ป่วยที่ใช้
เครื่องช่วยหายใจ 
ปาริชาต คุณวงศ์
23
R2R-O-4 ผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการ
ให้ยาและสารละลายที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมเด็จพระ
ยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
ณัฐธิดา ทะคง 
สุกันดา ศรีชาติ 
เอี่ยมศิริ ฮดโสดา 
ดรุณี มณีสิงห์ 
ปานใจ ฤาเดช
25
R2R-O-5 ผลการใช้แนวปฏิบัติเพื่อประเมินความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ 
นางสาวมณีรัตน์ โสมศรีแพง 
ปานใจ ฤาเดช
27
 
8 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
R2R-O-6 งานวิจัยจากงานประจํา การจัดการความรู้เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการลด
พุงลดโรคลดเสี่ยง 
บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ 
ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง
ดวงแข พิทักษ์สิน
29
R2R-O-7 ศึกษาผลโดยการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทาง
กลศาสตร์ [Kinematic linkageImbalance- K.L.I.M.B]ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยจังหวัดชลบุรี 
ศุภวรรณ ตันติพิพัฒนา
31
R2R-O-8 การสร้างพลังใจเหนือกาย ในเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดลพบุรี โดยโรงพยาบาล
โคกเจริญ อําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี 
พิมฉวี จันทร์เพ็ญ
33
R2R-O-9 เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารด้วยเครื่องมือสื่อสารออนไลน์ของฝ่ายการพยาบาล
ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 
สมนึก สุทธิรักษ์ศิริ
38
R2R-O-10 การพัฒนาสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญา ใน
เขตอําเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร 
ชนิกา ทองอันตัง 
รศ.(พิเศษ) สุขสมัย สมพงษ์
42
 
 
ประเภท งานพัฒนาคุณภาพ
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
CQI-O-1 โครงการเตรียมก่อนคลอดด้วยจิตประภัสสร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย
จังหวัดแพร่ 
วาสนา มณีทิพย์
45
CQI-O-2 ปรับปรุงแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยไฟฟ้า ทําให้ไม่พบผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม
และกระดูกหักข้อเคลื่อน หลังการรักษาด้วยไฟฟ้า 
สามภพ สาระกุล 
พรรณี มงคลศิริ 
อัญชลี นักเสียง
47
CQI-O-3 การใช้กิจกรรมกลุ่มคุณภาพเพื่อลดอุบัติการณ์ติดเชื้อในโรงพยาบาลในผู้ป่วยที่คา
สายสวนปัสสาวะ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จ.สกลนคร 
ปาริชาต คุณวงศ์ 
สันทนา สัพโส
49
CQI-O-4 รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน
คลินิกพิเศษโรคเรื้อรังโรงพยาบาลคีรีมาศจังหวัดสุโขทัย ตามกรอบแนวคิดของ
B.I.C3
.S Model 
ปิยพงศ์ สอนลบ 
กัญญมล สุมาลี 
สายสวาท คําสัตย์ 
อติมาน ศรีจักร
51
CQI-O-5 Pap Smear Mobility Unit in Community 
สุรภา สุขสวัสดิ์
53
CQI-O-6 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันครบวงจร
โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กรมแพทย์ทหารเรือ 
นาวาตรีพิทักษ์ ทองสุข 
เรือเอกหญิงกอบกุล บัวสมบูรณ์ 
พันจ่าเอกจอมนรา ราชโพธิ์ทอง
55
CQI-O-7 นมแม่วิถีแห่งความสุขกับชีวิตคนทํางาน 
วาสนา งามการ
57
10 
 
ประเภท นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
IVT-O-1 นวัตกรรม VAP kit (ชุดอุปกรณ์ป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ) 
ปาริชาต คุณวงศ์ 
มณีรัตน์ โสมศรีแพง 
เอี่ยมศิริ ฮดโสดา 
ณัฐธิดา ทะคง 
สุพรรษา ผลมุ่ง
60
IVT-O-2 Casting model for the cast training 
เรือโทกฤตนัย สารภี
62
ผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์
ประเภท งานวิจัยจากงานประจํา
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
R2R-P-1 การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลตามแนวคิดการจัดการความรู้ กลุ่ม
การพยาบาล สถาบันบําราศนราดูร 
พรศิริ เรือนสว่าง
กรุณา ลิ้มเจริญ
ปิยะวดี ฉาไธสง
65
R2R-P-2 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากผู้สัมผัสโรคอย่างใกล้ชิด 
ปิยะวดี ฉาไธสง
เสาวลักษณ์ อภิสุข
68
R2R-P-3 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรับประทานยา Chloral hydrate สูตรปรับปรุง
และสูตรเดิม ในผู้ป่วยเด็กที่ต้องส่งตรวจพิเศษ 
สมฤดี เลิศงามมงคลกุล 
ลัคณา สฤษดิ์ไพศาล 
ลัทธยา อัศวจารุวรรณ
70
 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
R2R-P-4 แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในห้องผ่าตัด 
จินตนา ดาวเรือง 
กมลพร ศิริสกุลเดชะ 
ปิยะวดี ฉาไธสง
เจษฎากรณ์ ฐานคร
72
R2R-P-5 การคาดคะเนนํ้าหนักทารกในครรภ์ด้วยผลคูณระหว่างความสูงของมดลูกกับ
เส้นรอบวงหน้าท้องมารดาที่ระดับสะดือเมื่อเจ็บครรภ์คลอด 
อรพินทร์ เตชรังสรรค์  
วันเพ็ญ สุขส่ง
74
R2R-P-6 ผลการปรับระบบการต่อเครื่องช่วยหายใจและการจัดชุดสายต่อเครื่องช่วยหายใจ 
ปาริชาต คุณวงศ์ 
มณีรัตน์ โสมศรีแพง 
ภิญญดา กองแก้ว
75
R2R-P-7 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยต่อความรู้และความเชื่อด้าน
สุขภาพในการป้องกันตนเองจากการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการ
ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นหญิง 
สมบัติ รัตนะนาม 
ชําเรือง แสงสุวรรณ 
พรฤดี นิธิรัตน์ 
เพ็ญนภา พิสัยพันธ์
77
R2R-P-8 ผลการใช้พลาสติกป้องกันการสูญเสียความร้อนในผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดนิ่วที่ไต
โดยการเจาะท่อทางผิวหนัง (PCNL) 
วรนารถ สุจินต์ 
บวรวรรณ นาคลําภา
79
12 
 
ประเภท งานพัฒนาคุณภาพ
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
CQI-P-1 ประเมินระบบเฝ้าระวังไข้เลือดออก 
รัชนี ทําจํารัส
84
CQI-P-2 พัฒนาระบบ “การให้ยาระงับความรู้สึกนอกห้องผ่าตัดโดยวิสัญญีพยาบาล” 
รฐา โดนสูงเนิน 
ระพีพรรณ มีสูงเนิน
86
CQI-P-3 วิสัญญีสัญจรเพื่อประชาชน 
อรสา ตันตินพเก้า 
รัชดาวรรณ ฉันทสุเมธี
88
CQI-P-4 การพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลด้านยาเพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงินค่า
รักษาพยาบาลในระบบเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยนอก 
จันทริกา สนั่นเกียรติเจริญ 
ปิยวัฒน์ เมฆแดง
90
CQI-P-5 New look Emergency Cart 
บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส 
กาญจนา โกกิละนันทน์ 
มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์
ณภัทร ไวปุรินทะ
92
CQI-P-6 เปลี่ยนหลอดไฟห้องผู้ป่วยเป็นหลอดไฟแบบ ดาวน์ไลท์( Down light) แบบฝังฝ้า
ทั้งหมด ทําให้ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงไม่สามารถปีนขึ้นไปถอด
หลอดไฟมาทําลายและใช้เป็นอาวุธได้ 
สามภพ สาระกุล 
พรรณี มงคลศิริ 
อัญชลี นักเสียง
94
CQI-P-7 เอกสารประกอบการประชุม อบรม สัมมนา อิเล็กทรอนิกส์ (E- Annual General
Meeting)
วิภาวดี ต่อวงษ์
พิมพ์พนิต มงคลวงษ์
ภัทรวดี สุวรรณอาจ
95
 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
CQI-P-8 การปรับต่อชุดพ่นยาขยายหลอดลมให้เข้ากับวงจรดมยาสลบด้วยนวัตกรรม
รีไซเคิล
วรชัย นามวงษา
นงคราญ วงษ์ดี
97
CQI-P-9 Two Days PPK Cath Lab
วิรัตน์ ทักษ์คีรี
ธันวา พิทักษ์สุธีพงศ์
ปิยะนันท์ ทิพโสต
รัตนา เดิมสมบูรณ์
ปภาดา สุวรรณหิตาธร
99
CQI-P-10 การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล
ปาริชาต คุณวงศ์
สุกันดา ศรีชาติ
ลาวัลย์ เพชรคํา
101
CQI-P-11 ผลของกิจกรรมพัฒนาต่อการลดลงของความคลาดเคลื่อนในงานผสมสารอาหารที่
ให้ทางหลอดเลือดดํา
ยุคล จันทเลิศ
กนกวรรณ ส่องสุข
103
CQI-P-12 วิถีแห่งความสุขของคนในห้องเอกซเรย์
มนูญ ตนัยโชติ
105
CQI-P-13 ผลการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลคีรีมาศตามกรอบแนวคิดของ
4 P model
ปิยพงศ์ สอนลบ
มาตุพร นทีประสิทธิพร
เพ็ญทหัย ธรรม์ปพนธ์
ฉัตรนัยน์ พุฒฟัก
107
 
14 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
CQI-P-14 พัฒนาการดูแลแผลผู้ป่วยเบาหวาน
อรุณรัตน์ เพิ่มผล
ฉวีวรรณ ศรีอําไพ
วรัตถ์นันท์ เวียสุวรรณ
กัณฑิมา วงษ์บุญมี
109
CQI-P-15 การบริหารจัดการหอผู้ป่วยวัณโรค
อุทัยวรรณ สิงห์คํา
นรกมล ใหม่ทอง
พัชรี ปุญญศรี
พัชรินทร์ ชอบค้า
ศิริมา เทพสุภา
111
CQI-P-16 การพัฒนารูปแบบการเปลี่ยนสารดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเครื่องดม
ยาสลบ
อมรา ลีแสน
เรืองอุไร ธิเดช
ดวงใจ วงศ์วิชิต
ญานิณทร สมเนตร
อจิราวดี ราชมณี
114
CQI-P-17 การพัฒนาระบบเพื่อดูแลภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด ( Neonatal Jaundice)
เรณู จําชาติ  
วิภารัตน์ ลครพล
116
CQI-P-18 การเปลี่ยนชุดให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดํา 
สุวิมล ทรัพย์เรืองศรี
118
 
 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
CQI-P-19 “หมอไม่ต้องลงมา เดี๋ยวพวกพี่จัดการเอง”ร่วมคิด พาทํา สู่ความเข้มแข็งในการ
การควบคุมป้องโรคไข้เลือดออก กรณีศึกษา บ้านโนนรัง หมู่ที่ 2
ตําบลแก้งสนามนาง โรงพยาบาลแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา
นางสาวพรนภา เพียรดวงศรี 
นางรุ่งทิวา พลอยสุวรรณ์ 
นางสาวภคอร เกษนอก 
นางสาววรุณยุภา ภักดีไทย  
นางสาวโชติกา คําสิงห์นอก
120
ประเภท นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
IVT-P-1 วีดีทัศน์คําแนะนําการปฏิบัติตัวก่อน-หลังดมยาสลบและผ่าตัด ภาษาพม่า-กัมพูชา 
สุพรรณิการ์ อมรวิจิตร 
ระพีพรรณ มีสูงเนิน
123
IVT-P-2 “EASY GOAL” 
อัจฉรา ประสิทธิสุขสม 
มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์ 
นภาพร บัวเอี่ยม
125
IVT-P-3 คล้องสาย By stylet 
สุภาพร สงวนดี 
ทักษร เค้าแก้ว 
วิยดา บุญประสิทธิ์ 
วิมลมาน ว่องไว 
เพ็ญประภา ศรีรัตนบุตร
127
 
16 
 
รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า)
IVT-P-4 “AN Handbook” (ความรู้สําหรับประชาชนข้อมูลที่ควรรู้เกี่ยวกับวิสัญญี) 
นภาพร บัวเอี่ยม 
บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส 
อัจฉรา ประสิทธิสุขสม 
มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์
129
IVT-P-5 การพัฒนาการประเมินทางเดินหายใจด้วยการใช้BMR(Bamrasnaradura Multi
Ruler) 
ติณณ์ธฤต ทัพโคกสูง 
มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์ 
บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส
131
IVT-P-6 นวัตกรรมองศาเตียง
เอี่ยมศิริ ฮดโสดา
ปานใจ ฤาเดช
133
IVT-P-7 อุปกรณ์ป้องกันสาย Permanent Pacemaker เลื่อนหลุด
ปรมาภรณ์ มากทรัพย์
ขนิษฐา ถังไชย
135
IVT-P-8 ที่นอนแผ่นเจลเพื่อลดอาการปวดหลัง
สุดา วิทูรธีรศานต์
138
IVT-P-9 Syringe เป๊ะ!!!
ศิริมา เทพสุภา
อุทัยวรรณ สิงห์คํา
นรกมล ใหม่ทอง
พัชรี ปุญญศรี
พัชรินทร์ ชอบค้า
140
IVT-P-10 มหัศจรรย์กล่องพิชิตความหวาน
วราวรรณ บุราณสาร
143
 
 
ส่วนที่2
บทคัดย่อ
18 
 
ผลงานวิชาการด้วยวาจา
ประเภท งานวิจัยจากงานประจํา
 
 
ชื่อเรื่องงานวิจัยจากงานประจํา : การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อลดปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา จาก
การคัดลอกคําสั่งการใช้ยางานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน
โรงพยาบาล/ สถาบัน : โรงพยาบาลลําพูน จังหวัด : ลําพูน
ชื่อเจ้าของผลงาน : นายสุวรรณ ภิญโญจิตต์, บธ.บ.
ชื่อผู้ร่วมผลงาน : นิตยา ชนะกอก, ปพ.ส. จารุวรรณ วานม่วง, พย.ม.
ชื่อผู้นําเสนอผลงาน : นายสุวรรณ ภิญโญจิตต์, บธ.บ.
ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale):จากการศึกษาข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ความ
ระหว่างเดือน พ.ย. 2555 ถึงเดือน มี.ค. 2557 พบความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคําสั่งการใช้ยาโดย
เจ้าหน้าที่พยาบาล จํานวน 64 ครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบถึงการส่งต่อข้อมูลในแผนการรักษาและการบริหารยาแก่
ผู้ป่วย ทางผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานโดยนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาแก้ไข
ปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เกิดความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูลการสั่งใช้ยา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives) : เพื่อพัฒนาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการช่วยลดความ
คลาดเคลื่อนในกระบวนการคัดลอกคําสั่งการใช้ยา ในแบบบันทึกการให้ยา ให้มีความถูกต้องปลอดภัย และ
รวดเร็ว
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology): ประชากรเป้าหมายเป็นพยาบาลที่มีหน้าที่ในการคัดลอกคําสั่งการ
ใช้ยา ซึ่งการวิจัยเพื่อการพัฒนา(Research and development) โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมเพื่อค้นหาจุด
เสี่ยงในการปฏิบัติงานโดยนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาแก้ไขปัญหา ระหว่างเดือน มิ.ย. 2557 ถึง พ.ค. 2558
และใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จํานวนและร้อยละ และใช้แบบสอบถามในการประเมินผลความพึงพอใจต่อ
การใช้งานโปรแกรม
ผลการศึกษา (Results): ผลการศึกษา ระหว่างเดือน มิ.ย 2557 ถึง พ.ค. 2558 พบว่าอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่
เกี่ยวข้องกับการคัดลอกคําสั่งการใช้ยาคลาดเคลื่อน งานผู้ป่วยในของโรงพยาบาลลําพูนนั้น ลดลงจาก 64
ครั้ง เป็น 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 92.19 และความพึงพอใจในการใช้งานโปรแกรมอยู่ในระดับมาก
สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ: การนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการจัดการข้อมูลในการจัดทํา
แบบบันทึกการให้ยา ทดแทนการคัดลอกโดยเจ้าหน้าที่พยาบาล ช่วยลดข้อผิดพลาด และยังช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานสามารถทํางานได้รวดเร็วขึ้นช่วยลดขั้นตอนและประหยัดเวลา
การทํางาน
แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R”
งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
20 
 
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : ได้นําเอาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นไปใช้ใน
การจัดทําแบบบันทึกการให้ยาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ในหอผู้ป่วยในทั้งหมดภายในโรงพยาบาลลําพูน
บทเรียนที่ได้รับ: การนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยสร้างระบบป้ องกันที่ดีสามารถป้ องกันความคลาด
เคลื่อนที่เกิดขึ้นได้
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ : เป็นการแก้ไขปัญหาภายใต้กระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นหัวใจหลักสําคัญใน
การบริหารงานของโรงพยาบาล ที่ได้ผ่านการวิเคราะห์ปัญหาและร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาจากทีมสห
วิชาชีพ
การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร: ได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการบริหารความ
เสี่ยงโรงพยาบาลลําพูนและกลุ่มงานเภสัชกรรม กลุ่มงานหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน ในการศึกษา
ข้อมูลและทดสอบการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ ทั้งด้านบุคลากร เครื่องมือ และสถานที่
 
 
ชื่อเรื่องงานวิจัย ผลลัพธ์ของการใช้Standing order Cryptococcal menigoencephalitis และ Pneumocystis
Carinii pneumonia (PCP) ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
ชื่อเจ้าของผลงาน น.ส.นัดดา พรหมสาขา ณ สกลนคร ชื่อย่อวุฒิการศึกษา ภ.บ. (บริบาลเภสัชกรรม)
ชื่อผู้ร่วมผลงาน นายสุเมธ รัตนมณีกรณ์ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พ.บ.ว.ว. (อายุรศาสตร์)
ชื่อผู้นําเสนอผลงาน นายสุเมธ รัตนมณีกรณ์ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พ.บ.ว.ว. (อายุรศาสตร์)
ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background&Rationale): จากการทํางานพบว่าแม้จะมีแนวทางในการรักษา
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็น Cryptococcal meningoencephalitis และ Pneumocystis carinii pneumonia (PCP) แต่
มักจะได้รับการดูแลรักษาไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ในส่วนของ severity of disease ขนาดยา ระยะเวลาการให้
ยา การประเมินผลข้างเคียงจากการใช้ยา ฯลฯ จึงเกิดการจัดทําและใช้Standing order ขึ้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives): เพื่อให้แพทย์เภสัชกร และพยาบาล ให้การรักษาผู้ป่วยเอชไอวีที่
เป็นโรค Cryptococcal meningoencephalitis และ PCP ได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง มากขึ้น
ระเบียบวิธีวิจัย (ResearchMethodology): เป็นการวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ โดยการใช้Standing order ใน
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็น Cryptococcal meningoencephalitis และ PCP ที่นอนโรงพยาบาลทั้งหมด โดย
ทบทวนแฟ้มประวัติย้อนหลังก่อนใช้ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2555 ถึง 30 ก.ย. 2557 และหลังใช้ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2557 ถึง
30 มิ.ย. 2558 เปรียบเทียบสัดส่วนความถูกต้องครบถ้วนของการรักษาตาม Standing order วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
สถิติ Chi-square test
ผลการศึกษา (Results): กลุ่มใช้Standing order ของ Cryptococcal meningoencephalitis การรักษาทุกระยะมี
ความครบถ้วนถูกต้องมากขึ้น โดยระยะ consolidation, maintenance และ secondary prophylaxis มีความถูก
ต้องครบถ้วนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิต (P<0.05) ภาวะ Hypokalemia และ Acute renal failure ก่อนและหลัง
ใช้อัตราการเกิดใกล้เคียงกัน (6.71±3.29,7.00±3.50วันและ7.25±3.67,8.25±2.36วันตามลําดับ)กลุ่มใช้Standing
order ของ PCP ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างก่อนและหลังใช้ ยกเว้นเรื่องระยะเวลา
การรักษาของ Secondary prophylaxis มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P=0.007)
สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ: การใช้Standingorderของทั้ง2โรคทําให้การรักษาทําได้อย่างครบถ้วน
ถูกต้องมากขึ้นอย่างชัดเจน แต่ครั้งนี้จํานวนตัวอย่างที่น้อยอาจยังไม่เพียงพอต่อการประเมินทั้งยังไม่มีการเก็บความ
ยากง่ายของการใช้ความพึงพอใจของผู้ใช้Standingorderและต้องมีการเก็บจํานวนผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซํ้าของโรค
เพิ่มเติมในครั้งต่อไป
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : การนํา Standing order มาใช้เพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยทั้ง 2
โรคให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องครบถ้วนจะนํามาซึ่งประสิทธิภาพของการดูแลรักษาสูงสุด
บทเรียนที่ได้รับ: การมีแบบแผนที่เป็นรูปธรรมให้เห็นชัดเจนนําไปสู่การรักษาที่ครบถ้วนถูกต้องมากขึ้น
22 
 
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ: คณะกรรมการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อและทีมผู้รักษามีความตั้งใจที่จะดูแลรักษาผู้ป่วยให้
หายจากโรคและได้รับการรักษาที่ดีที่สุด นําไปสู่การคิดพัฒนาปรับปรุงงาน จึงเกิด Standing order ขึ้น
การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร: คณะผู้บริหารให้ความสําคัญและสนับสนุนการให้การ
ดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเต็มที่
การติดต่อกับทีมงาน: นัดดา พรหมสาขาฯ 086-8599594 nadtoy@live.com, สุเมธ รัตนมณีกรณ์ 091-
0615717 sumeth_saebe@hotmail.com
 
 
ชื่อเรื่อง เปรียบเทียบผลการใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับระบบเปิดต่ออัตราการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อ
จากการใช้เครื่องช่วยหายใจและค่าใช้จ่ายการดูดเสมหะในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
เจ้าของผลงาน ปาริชาต คุณวงศ์ พย.บ.งานผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัด
สกลนคร
ความสําคัญ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่รับการรักษาที่หอผู้ป่วยหนักมักจะระบบหายใจล้มเหลวได้รับการรักษาโดย
ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ และในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคหรือสงสัยว่าเป็น
วัณโรค ผู้ป่วยจะได้รับการจัดไว้ในห้องแยกและใช้การดูดเสมหะแบบระบบปิดเนื่องจากเชื้อวัณโรคเป็นเชื้อ
ที่แพร่กระจายทางอากาศ ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจว่านอกจากการป้องกันแพร่กระจายของเชื้อโรคแล้วการดูด
เสมหะระบบปิดจะสามารถใช้ป้องกันปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจหรือไม่ และมีค่าใช้จ่าย
ที่แตกต่างกันมากน้อยเท่าใด
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับวิธีการดูดเสมหะระบบเปิดต่อ
อุบัติการณ์ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ค่าใช้จ่ายในการดูดเสมหะ และระดับความคิดเห็นของ
พยาบาลต่อวิธีการดูดเสมหะระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยแบบ retrospective study กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่
ใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิด 25 ราย และ ผู้ป่วยที่ใช้วิธีการดูดเสมหะระบบเปิด 25 ราย พยาบาลวิชาชีพที่
ปฏิบัติงานในไอซียู12 คน ช่วงเดือนตุลาคม 2555 ถึงเดือน มีนาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ
รายงานการเฝ้าระวังการติดเชื้อปอดอักเสบจากผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจของ รพ.
สมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน รายงานค่าใช้จ่ายของงานผู้ป่วยหนักจากระบบ HosXp ของ รพ.สมเด็จพระ
ยุพราชสว่างแดนดิน แบบสอบถามระดับความคิดเห็นพยาบาลต่อการดูดเสมหะระบบปิดและระบบเปิด
วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่คํานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน P value
ผลการศึกษา การดูดเสมหะระบบปิดมีอัตราการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่า
ระบบเปิด 1.2 ครั้งต่อ 1000วันนอนใช้เครื่องช่วยหายใจ P < .002 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ การ
ดูดเสมหะทั้งสองระบบไม่มีผลต่อการเพิ่มหรือลดอุบัติการณ์ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจแต่อาจ
มีผลกับระยะเวลาการเกิดปอดอักเสบซึ่งต้องเก็บข้อมูลต่อ ด้านค่าใช้จ่าย เมื่อระยะเวลาเพิ่มขึ้นการดูดเสมหะ
ระบบปิดค่าใช้จ่ายลดลง ตรงข้ามกับดูดเสมหะระบบเปิดเมื่อระยะเวลาเพิ่มขึ้นค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นตาม ด้าน
ระดับความคิดเห็น การสัมผัสกับเสมหะผู้ป่วย ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความสะดวกในการใช้งาน ความพึง
พอใจของผู้ปฏิบัติต่อการดูดเสมหะระบบปิดจะมากกว่าระบบเปิด ส่วนด้านประสิทธิภาพในการดูดเสมหะ
นั้นวิธีการดูดเสมหะระบบเปิดจะมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบเปิด
สรุปผลและข้อเสนอแนะ การดูดเสมหะทั้งสองระบบมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน ถ้าผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ได้รับการดูดเสมหะอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วก็จะไม่ทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากการดูดเสมหะ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค และยังเป็นการใช้ทรัพยากรให้ได้
ประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าคุ้มทุน
การนําผลงานไปใช้ เป็นตัวเลือกในการใช้วิธีดูดเสมหะ และนําไปพัฒนาแนวปฏิบัติการดูดเสมหะใน รพ.
24 
 
บทเรียนที่ได้รับ นอกจากการดูแลผู้ป่วยที่ดี ต้องคิดถึงแง่มุมด้านผู้ปฏิบัติ และความคุ้มทุนในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ด้วย
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ การช่างสังเกตและนําหลักฐานเชิงประจักษ์มาช่วยในการดูแลผู้ป่วยจะทําให้ดูแล
ผู้ป่วยดียิ่งขึ้น
การสนับสนุนจากองค์กร สนับสนุนให้ทําการวิจัยในการทํางานและหาวิธีการทํางานโดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์
 
 
ผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้ องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการให้ยาและสารละลาย
ที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่ วยวิกฤต โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
นางสาวณัฐธิดา ทะคง พย.บ., นางสุกันดา ศรีชาติ พย.บ.
นางสาวเอี่ยมศิริ ฮดโสดา พย.บ., นางสาวดรุณี มณีสิงห์ พย.บ., นางสาวปานใจ ฤาเดช พย.บ.
บทคัดย่อ
ที่มา : การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ เป็นอุบัติการณ์หนึ่งที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤต จากการ
ทบทวนอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบในหอผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน ปี 2555 - 2557 พบว่า
คิดเป็นอัตรา 3.13, 3.87 และ 6.07
วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ เพื่อประเมินผล
การใช้แนวปฏิบัติ และประเมินระดับความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ
ระเบียบวิธีวิจัย : การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาและประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อ
ป้องกัน การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ประชากรคือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
รพร.สว่างแดนดิน ในระหว่างวันที่ 1 มี.ค. - 31 พ.ค. 2558 จํานวนทั้งหมด 77 คน และพยาบาลวิชาชีพใน
หอผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน จํานวน 12 คน วิธีการศึกษา สร้างแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกัน
การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ และดําเนินการวิจัยโดยใช้วงจรคุณภาพ
PDCA เก็บรวบรวมอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ
และระดับความคิดเห็น ของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าจํานวน ร้อยละ
และค่าเฉลี่ย
ผลการศึกษา : พบว่า หลังใช้แนวปฏิบัติ ในเดือน มี.ค. - พ.ค. 2558 พบอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดํา
อักเสบ คิดเป็นอัตรา 5.37, 6.68 และ 13.33 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ได้แก่ ปัจจัยด้าน
อายุ โรคประจําตัว การติดเชื้อในร่างกาย ภาวะโภชนาการ ตําแหน่งการแทงเข็ม ชนิดของยาปฏิชีวนะที่
ได้รับ ชนิดของยาเสี่ยงสูง ที่ได้รับระดับความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ อยู่ในระดับพอใจ
มาก ที่ค่าเฉลี่ยรวม 4.11
สรุป อภิปรายผล และเสนอแนะ : จากผลการศึกษา พบว่ายังมีอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ
ผู้วิจัยจึงมีการพัฒนาแนวปฏิบัติ โดยได้เพิ่มการเฝ้าระวังดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาและสารละลายที่มีความเสี่ยง
สูงอย่างต่อเนื่อง ให้มากขึ้น เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้มีคุณภาพและนําไปสู่การลดอุบัติการณ์การเกิดหลอด
เลือดดําอักเสบต่อไป
26 
 
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : ได้แนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิดหลอด
เลือดดําอักเสบ จากการให้ยาและสารละลายที่มีความเสี่ยงสูงมาใช้ในหน่วยงาน และได้ผลการวิจัยมา
พัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น
บทเรียนที่ได้รับและปัจจัยแห่งความสําเร็จ : คือการมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุก
คน
การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร : ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารและหัวหน้าใน
หน่วยงาน
 
 
ชื่อเรื่องงานวิจัย: ผลการใช้แนวปฏิบัติเพื่อประเมินความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
นางสาวมณีรัตน์ โสมศรีแพง พย.บ.,นางสาวปานใจ ฤาเดช พย.บ.
แผนกผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน
ความสําคัญ จากสถิติโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน ปีงบประมาณ 2555 -2556 พบว่า หย่า
เครื่องช่วยหายใจสําเร็จ ร้อยละ 61.58 และ 79.23 ทําให้เพิ่มค่าใช้จ่ายในการนอนโรงพยาบาล และยังทําให้
เพิ่มอัตราการเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น เกิดภาวะเครียด ภาวะหมดหนทางรักษาและภาวะสิ้นหวัง
ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลใกล้ชิดควรให้ความใส่ใจต่อปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อความสําเร็จและความ
ล้มเหลวในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ5
ด้วยเหตุนี้เพื่อช่วยให้การประเมินการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้สําเร็จ
จึงได้จัดทําแนวปฏิบัติเพื่อส่งเสริมความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น จากประสบการณ์การทํางานในหอผู้ป่วยวิกฤตของผู้ศึกษา พบว่า การหย่าเครื่องช่วยหายใจจะให้
แพทย์เป็นผู้พิจารณาเท่านั้น บุคลากรจบใหม่ประสบการณ์น้อยเกิดความไม่มั่นใจ ไม่มีแนวปฏิบัติในการ
หย่าเครื่องช่วยหายใจที่ชัดเจนเพื่อสื่อสารระหว่างวิชาชีพ เกิดความล่าช้าและใช้เวลาในการหย่าเครื่องช่วย
หายใจมากขึ้น ทางผู้ศึกษาจึงได้สร้างแนวปฏิบัติขึ้นเพื่อใช้ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยก่อนการหย่า
เครื่องช่วยหายใจ
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแนวปฏิบัติการพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ 2.เพื่อประเมินผลการใช้แนว
ปฏิบัติในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ 3.เพื่อประเมินระดับความคิดเห็นของพยาบาลผู้ใช้แนวปฏิบัติทางการ
พยาบาล
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology): รูปแบบการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ(action
research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยทุกราย ที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน อําเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 –
30 กันยายน 2556 จํานวน 307 คน เปรียบเทียบกับหลังใช้แนวปฏิบัติในช่วงวันที่ 1 ตุลาคม 2556 – 30
กันยายน 2558 จํานวน 288 ราย
ขั้นตอนการศึกษา ;โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA
เครื่องมือ แนวปฏิบัติการหย่าเครื่องช่วยหายใจและแบบสํารวจความคิดเห็น
28 
 
การวัด การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
ระยะเวลาการศึกษา 1กันยายน 2554 -30 กันยายน 2558
ผลการศึกษา พบว่าพยาบาลผู้ใช้มีความพึงพอใจในการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ92.31 ผู้ป่วยสามารถหย่า
เครื่องช่วยหายใจสําเร็จ ร้อยละ 93.06
สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ การใช้แนวปฏิบัติอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ อาจต้องอาศัยประสบการณ์
ในการดูแลผู้ป่วยด้วย เช่น การวัด Cuff leak test และควรมีการทํา cuff leaked volume เพื่อให้เกิดคุณภาพ
มากขึ้น
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา มีการนําแนวปฏิบัติไปใช้และขยายผลในหน่วยงานลักษณะ
เดียวกัน
บทเรียนที่ได้รับ: ผลการประเมินผ่านเพียงอย่างเดียว ไม่ได้บอกว่าทุกอย่างจะผ่านเสมอไป
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ความสําเร็จไม่ได้มาจากผู้ป่วยอย่างเดียว ขึ้นกับประสิทธิภาพการทํางานเจ้าหน้าที่
ร่วมด้วย
การสนับสนุน -
ติดต่อ Image_nee@hotmail.com
 
 
ชื่อเรื่อง งานวิจัยจากงานประจํา การจัดการความรู้เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการลดพุงลดโรคลดเสี่ยง
สถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี จังหวัด.ราชบุรี
ชื่อเจ้าของผลงาน นางสาว บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา กศด.(ประชากรศึกษา)
ชื่อผู้ร่วมผลงาน 1. นาง ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พยม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)
2. นาง ดวงแข พิทักษ์สิน ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พยม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)
ชื่อผู้นําเสนอผลงาน นางสาว บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา กศด.(ประชากรศึกษา)
ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale):-
เนื่องจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี มีบุคลากรที่มีไขมันใต้ผิวหนัง เกินจํานวน 56 คน
จาก 73 คน คิดเป็นร้อยละ 76.71 และเข้าข่ายอ้วน 27 คนใน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 โดยการวิจัย เชิง
ปฏิบัติการเพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีในการเฝ้าระวังลดพุงลดโรคลดเสี่ยง , ในเพศหญิงและเพศชาย โดย นําผล
การตรวจร่างกายประจําปี 2557 มาวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ปฏิบัติการเพื่อหาแนวทาง
ปฏิบัติการลดพุงลดความเสี่ยงจากโรคที่กําลังจะเกิดเช่นโรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives).วิเคราะห์หาแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการลดพุงลดโรคลดเสี่ยง
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology):- เก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของวิทยาลัยจํานวน 110 คน
ตั้งแต่วันที่ ธันวาคม 2557 – ธันวาคม 2558วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ( X )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) และเปรียบเทียบผลการตรวจร่างกายก่อนและหลังการทดลองรายบุคคล
ผลการศึกษา (Results):-ผลการวิจัย พบว่าประชากร มีอายุระหว่าง 35-55 ปีจํานวน 54 คนคิดเป็นร้อยละ 74
มีโรคประจําตัว 34 คนคิดเป็นร้อยละ 46.57 พฤติกรรมการบริโภคเพิ่มขึ้น ทั้งมื้อ/จํานวน รับประทานอาหาร
หวานเค็มเผ็ด ของทอดเครื่องดื่มที่มีนํ้าตาลเป็นองค์ประกอบเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้ลดลง การออกกําลังกาย
มากขึ้น การควบคุมความเครียดได้มากขึ้น ผู้ที่มีโรคประจําตัว เป็นอาจารย์จํานวน 13 คน สายสนับสนุน 21
คน ภายหลังการเสร็จสิ้นกระบวนการปฏิบัติการของบุคลากรทั้ง 34 คน พบว่า ความดันโลหิตที่มีค่าเกิน
มาตรฐานลดลงจาก 6 คน เหลือ 2 คน ค่า Cholesterol ที่เกินมาตรฐาน 9 คนลดลงเหลือ 3 คน Triglyceride ที่
เกินมาตรฐาน 11 คนลดลงเหลือ 2 คน BMI ที่เกินมาตรฐาน 24 คนยังคงเหลือ 24 คนเท่าเดิม รอบเอวที่เกิน
มาตรฐาน 11 คนเพิ่มเป็น 13 คน ผู้มีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นรอบ 3 เดือนนี้ 15 คน และมีผู้ที่มีนํ้าหนักลดลง 8 คน
สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ:- สรุปสาระสําคัญของผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
สรุปผล บทสรุปสําหรับแนวปฏิบัติที่ดีในการลดพุงลดโรคและลดเสี่ยงคือการลดนํ้าหนักที่เพิ่มและBMIยัง
เกินมาตรฐานโดยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เกินให้ลดลงและการออกกําลังเพื่อเพิ่มการเผา
ผลาญอาหารส่วนเกินตามหลักการดุลยภาพของชีวิตคืออาหารเพื่อพลังงานที่เข้าไปเท่ากับพลังงานที่ใช้ไป
แนวปฏิบัติที่ดีคือการให้ลดพลังงานจากอาหารที่รับประทาน การลดอาหารที่เป็น Trans fat ลดแป้ง นํ้าตาล
แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R”
งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
30 
 
ของหวาน นํ้าอัดลม เพิ่มการรับประทานผักผลไม้2-3 มื้อ/วัน การลดนํ้าหนักที่ได้ผลมากที่สุดในระยะยาว
คือการลดพลังงานจาก อาหารที่ควรได้รับประมาณวันละ 500-1,000 แคลอรี่ เป้าหมายที่เหมาะสมในการลด
นํ้าหนัก คือการลดนํ้าหนักให้ได้อย่างน้อยร้อยละ5-10ในช่วง 6-12เดือนและเพิ่มการออกกําลังกาย ครั้งละ
20-30 นาทีสัปดาห์ละ 5 วัน การลดนํ้าหนักในระยะยาวที่จะได้ผลดีนั้นจําเป็นทีจะต้องมีการออกกําลังกาย
ร่วมด้วยเสมอ
ข้อเสนอแนะเนื่องจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรีได้รับรางวัลองค์กรต้นแบบไร้พุงจึงควรมีการ
ประกาศนโยบายในการบริโภคอาหารอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ขยับกาย สลายไขมัน ฯลฯควรมีการจัดการให้
ความรู้ในการส่งเสริมและการป้องกันโรคตามหลัก 3 อ.2 ส. อย่างต่อเนื่องจนเกดพฤติกรรมที่เหมาะสมมี
การวิจัยการจัดการความรู้เรื่องการบริโภคอย่างไรสุขภาพร่างกายแข็งแรงปลอดโรคหรืออื่นๆเช่นอาหารไทย
เหมาะกับคนไทยอย่างไรควรมีการส่งเสริมการกินอยู่อย่างไทย เพื่อดํารงเอกลักษณ์ไทยและส่งเสริมอาหาร
ไทยสู่อาหารโลก
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา: ได้นํามาใช้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีในการปฏิบัติตนในเรื่อง
พฤติกรรมการบริโภค การออกกําลังกายและการควบคุมความเครียดกับบุคลกรของสถาบัน จนวิทยาลัยเป็น
สถาบันองค์กรไร้พุงต้นแบบและถ่ายโอนความรู้สู่ชุมชนดอนตะโกและดอนแจงเพื่อชุมชนสุขภาพดี
บทเรียนที่ได้รับ: พบว่า ความรู้ทางวิชาการอธิบายจนเข้าใจแต่หากขาดความตั้งใจนําไปใช้ปฏิบัติย่อมไม่เกิด
ผลสําเร็จดังนั้นหากรู้เข้าใจและนําไปใช้จริงย่อมเกิดผลสําเร็จที่เป็นรูปธรรม(เช่นค่าผลการตรวจเลือดและ
ร่างกายมีแนวโน้มทางที่ดีขึ้น สมรรถภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น) ดังนั้นควรนําแนวปฏิบัตินี้ไปทําอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ คือ:ความมีวินัยในตนเอง การมีส่วนร่วมและความมุ่งมั่นตั้งใจในการดูแลตนเอง (เพื่อ
จะได้ไม่เป็นภาระพึ่งพึงผู้อื่นในอนาคต)
การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร:ได้รับเงินสนับสนุนในการทําวิจัยและการทํากิจกรรม
ต่างๆจากวิทยาลัยฯ
การติดต่อกับทีมงาน:- (ระบุชื่อที่สามารถติดต่อได้เบอร์โทรศัพท์มือถือ E-mail)บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ เบอร์
โทรศัพท์มือถือ 0818571669 E-mail: phongphetdit@gmail.com
 
 
ชื่อเรื่องงานวิจัยจากงานประจํา
ศึกษาผลโดยการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์ [Kinematic
linkageImbalance- K.L.I.M.B]ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
สภากาชาดไทยจังหวัดชลบุรี
ชื่อเจ้าของผลงาน กภ.ศุภวรรณ ตันติพิพัฒนา นักกายภาพบําบัด 5
ฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย
ชื่อย่อวุฒิการศึกษา ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขากายภาพบําบัด
ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale):
ในปัจจุบันโรคข้อเข่าเสื่อมพบได้บ่อยถึงร้อยละ 50 ของจํานวนผู้ป่วยที่ไปพบแพทย์ด้วยอาการปวด
ข้อในผู้ป่วยที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป และมีอาการปวดรุนแรงมากกว่า เนื่องจากเป็นข้อที่รับนํ้าหนักและใช้งาน
มาก
ดังนั้น ผู้วิจัยในฐานะนักกายภาพบําบัด งานกายภาพบําบัด ฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู จึงจัดทําโครงการ
เพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่ วยข้อเข่าเสื่อมโดยใช้หลักการปรับภาวะเสียสมดุล
โครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์เพื่อให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของ
รอยโรคเพิ่มมากขึ้น และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้จึงส่งผลให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีคุณภาพชีวิตที่
ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives)
เพื่อศึกษาผลการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์ [Kinematic
linkage Imbalance] ในการเพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
ระเบียบวิธีวิจัย(Research Methodology):เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง เก็บข้อมูลผู้ป่วยนอก
ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย
จังหวัดชลบุรี เดือนตุลาคม 2556 ถึง ธันวาคม 2558 จํานวน 40 ราย กลุ่มทดลองซึ่งได้รับการรักษาด้วย
Physical modalities ร่วมกับให้โปรแกรมการออกกําลังกาย โดยใช้หลัก K.L.I.M.B ทํา 20-30 นาที /ครั้ง
สัปดาห์ 3 วัน /สัปดาห์ นาน 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินความ
ปวดVAS แบบประเมินข้อเข่า KOOSแบบทดสอบสมรรถภาCST แบบประเมิน SCTก่อนและหลังการรักษา
ผู้ป่วยได้รับการเก็บข้อมูลก่อนการรักษาด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Chi-
Square t-test และPaired t-test
แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R”
งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
32 
 
ผลการศึกษา (Results):พบว่ากลุ่มทดลองซึ่งได้รับการรักษาด้วย Physical modalities ร่วมกับโปรแกรมโดย
ใช้หลัก K.L.I.M.B ผลคะแนนความปวด(VAS)เฉลี่ยก่อน 7.55 + 1.48 และมีคะแนนความปวด(VAS)เฉลี่ย
หลังรับบริการ 2.90 + 1.17 พบว่าผลคะแนนแบบสอบถาม KOOS ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม มีค่าเฉลี่ย ก่อนการ
รักษา 100.18 + 33.07 และมีลดลง 46.10 + 19.90 พบว่าค่าเวลาการทดสอบจากนั่งลุกยืน (CST) มีค่าเฉลี่ย
ก่อนการรักษา 5.10 + 2.67 วินาที และมีค่าเฉลี่ยหลังการรักษาลดลง 2.50 + 1.35วินาที พบว่าค่าเวลาทดสอบ
การขึ้นลงบันได (SCT) มีค่าเฉลี่ยก่อนการรักษา 38.17 + 34.53 วินาที และลดลง 22.32+ 18.50 วินาที หลัง
การรักษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในบริการ พบว่าผลคะแนนความพึง
พอใจเฉลี่ยก่อนมารับบริการ คิดเป็นร้อยละ76.42 + 7.64 และเฉลี่ยหลังมารับบริการ คิดเป็นร้อยละ 94.23 +
6.54
สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ:
พบว่าการรักษาด้วยPhysical modalities ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดี อย่างไรก็ดีกลุ่มทดลองซึ่ง
ได้รับการรักษาด้วย Physical modalities ร่วมกับโปรแกรมโดยใช้หลัก K.L.I.M.B ทําให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมี
ระดับความปวดลดลง ช่วยเพิ่มสมดุลย์การทรงตัว (Balance) และยังช่วย Function mobility ได้เพิ่มขึ้น
การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา
นักกายภาพบําบัดได้นําเทคนิค K.L.I.M.B มาใช้ประยุกต์ในการตรวจประเมิน วางแผนการรักษา
และให้การรักษาทางกายภาพบําบัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมแบบองค์รวม เพื่อ
เพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
บทเรียนที่ได้รับ:
1.มีแบบประเมินการวัดความรู้ก่อน-หลังการจัดการสอนให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมเป็น
รายบุคคลและญาติ ให้มีส่วนร่วมในโปรแกรมการออกกําลังกายโดยกลับไปทําที่บ้านเองอย่างต่อเนื่องและ
สมํ่าเสมอ
2.ทําการเปรียบเทียบผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ระหว่างกลุ่มการรักษาทางกายภาพบําบัดทั่วไป กับการใช้
เทคนิค K.L.I.M.B ว่ามีผลการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีความสําคัญอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ
นักกายภาพบําบัดต้องมีความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรคข้อเข่าเสื่อมและเทคนิค K.L.I.M.B มาใช้
ประยุกต์ได้อย่างถูกต้องครอบคลุมถึงปัญหาผู้ป่วยอย่างแท้จริง และสามารถนําโปรแกรมการรักษากลับไป
ทําต่อเนื่องที่บ้าน รวมทั้งยังมีองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อมในการดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง
การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร
ผู้อํานวยการ หัวหน้าฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู และหัวหน้าหน่วยงานสนับสนุนในเรื่องการดําเนินการของ
อนุมัติจัดทําโครงการ และเป็นที่ปรึกษา
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14

More Related Content

Similar to ประชุมวิชาการครั้งที่14

ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to ประชุมวิชาการครั้งที่14 (20)

Simenar IM3
Simenar IM3Simenar IM3
Simenar IM3
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
 
Qlf forum may2014
Qlf forum may2014Qlf forum may2014
Qlf forum may2014
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
CPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinoma
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
Anhperf6
Anhperf6Anhperf6
Anhperf6
 
รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54
 

ประชุมวิชาการครั้งที่14

  • 2. ประชุมวิชาการ โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 วันที่ 25-26 พฤษภาคม 2559 วิถีแห่งความสุข ของมนุษย์วัยทํางาน ณ ห้องประชุมรําไพพรรณี โรงพยาบาลพระปกเกล้า
  • 3.
  • 4. คํานํา การประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ประจําปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ ๑๔ แล้ว ภายใต้แนวคิดหลัก (Theme) “วิถีแห่งความสุข ของมนุษย์วัยทํางาน” ซึ่ง Theme งานนี้ได้มาจากการระดมความเห็นและโหวต จากบุคลากรภายในโรงพยาบาล เนื้อหาการประชุมวิชาการในปี นี้จึงประกอบด้วย ปาฐกถาพิเศษ จากผู้ตรวจราชการ เขตสุขภาพที่ ๖ นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ทํางานอย่างไรให้มีความสุข โดย รศ.(พิเศษ)นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผอ.รพ.สมิติเวชศรีราชา อดีตผอ.รพ.พระปกเกล้า ต่อด้วยเรื่อง สุขภาพดีวิถี คนทํางาน โดย นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า ลงท้ายด้วยเรื่อง ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ โดย พญ.เสาวนิตย์กมลธรรม นอกจากหัวข้อบรรยายดังกล่าวแล้ว ยังมีหัวข้อสาระน่ารู้ update ทางวิชาการ จากแพทย์ทุกๆสาขาเช่น CPR update 2016 , update wound care เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการนําเสนอ ผลงานทางวิชาการเช่นเคยทั้ง R2R, CQI, IVT ผู้เข้ารับการอบรมในครั้งนี้ นอกจากจะได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย-ใจของตนเองแล้ว ยังสามารถนําความรู้ไปแนะนําผู้ป่วยและญาติที่อยู่ในวัยทํางานได้ด้วย เพื่อในที่สุดแล้วเราจะมีบุคลากร สาธารณสุขที่มีสุขภาพดี สามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีคุณภาพต่อไป (พญ.กนกกร สวัสดิไชย) ประธานคณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการ โรงพยาบาลพระปกเกล้าครั้งที่ ๑๔ ข
  • 5.     สารบัญ หน้า บทนํา ก ส่วนที่1 1 กําหนดการประชุม 2 กําหนดการนําเสนอ 3 รายชื่อกองบรรณาธิการและคณะกรรมการพิจารณางานวิจัย 5 ผลงานวิชาการ 7 ส่วนที่2 17 บทคัดย่อ 18 ส่วนที่3 144 รายชื่อบริษัทผู้สนับสนุน 145 สาระน่ารู้ 147
  • 6.     1    ส่วนที่1 ♥ กําหนดการประชุม ♥ กําหนดการนําเสนอผลงาน ♥ รายชื่อกองบรรณาธิการและ คณะกรรมการพิจารณางานวิจัย ♥ ผลงานวิชาการ
  • 7. 2    วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี 08.30-08.45 น. การแสดงเปิดงาน 08.45-10.00 น. พิธีเปิด โดย นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน” 10.00 -10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 10.15-12.00 น. บรรยาย "ทํางานอย่างไร ให้มีความสุข" โดย : รศ.นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผอ.รพ.สมิติเวช ศรีราชา 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. บรรยาย " สุขภาพดีวิถีคนทํางาน " โดย : นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า นําเสนอสาระน่ารู้ Update วิชาการทางการแพทย์และการรักษา 13.00-13.25 น. • การวัดพังผืดของตับในผู้ป่วยโรคตับเรื้อรังด้วยเครื่อง Transient elastography โดย : นายแพทย์พุทธ เมืองไพศาล กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.พระปกเกล้า14.30-14.40 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 14.40-16.00 น. บรรยาย " สุขภาพดีวิถีคนทํางาน " (ต่อ) โดย : นพ.วิเชียรชัย ผดุงเกียรติวงษ์ รพ.พระจอมเกล้า 13.25-13.50 น. • การรักษาเบาหวานในเด็ก โดย : แพทย์หญิงฐาปนา รุ่งหิรัญวัฒน์ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม รพ.พระปกเกล้า 13.50-14.15 น. • Presurgical nasoalveolar molding technique for infant cleft lip and palate patient: A case report โดย : ทันตแพทย์ปฐมพร จงจรวยสกุล กลุ่มงานทันตกรรม รพ.พระปกเกล้า 14.15-14.40 น. • Diffuse sclerosing osteomyelitis of the mandible : a case report โดย : ทันตแพทย์กําธร อุทรักษ์ กลุ่มงานทันตกรรม รพ.พระปกเกล้า 14.40-14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 14.50-15.15 น. • Update in Cervical cancer prevention โดย : แพทย์หญิงวินียา ศุขนิคม กลุ่มงานสูติ นรีเวชกรรม รพ.พระปกเกล้า 15.15-15.40 น. • ACL (เอ็นไขว้หน้าบาดเจ็บ) โดย : นายแพทย์พลชัย วงษ์ทองสาลี กลุ่มงานศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ รพ.พระปกเกล้า 15.40-16.05 น. • เครื่องถอนหัวเข็มฉีดยาออกจาก hub : ป้องกันอุบัติเหตุบุคลากรถูกเข็มทิ่มตํา โดย : นายแพทย์พรศักดิ์ ลิ้มวัฒนากุล กลุ่มงานศัลยกรรม รพ.พระปกเกล้า ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
  • 8.     วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี 08.30-10.00 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา R2R 08.30-10.10 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CR/R2R/CQI 10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 10.10-10.25 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 10.15-12.00 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา R2R/CQI 10.25-12.00 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. นําเสนอผลงานด้วยวาจา CQI/IVT 13.00-14.10 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI 14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 14.10-14.25 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster นําเสนอสาระน่ารู้ Update วิชาการทางการแพทย์และการรักษา 14.25-15.55 น. นําเสนอผลงาน E-Poster ด้วยวาจา CQI/IVT 14.45-15.10 น. • CPR update in 2016 โดย : นายแพทย์โพธิ์ จรรยาวนิชย์ กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.พระปกเกล้า 15.10-15.35 น. • Scrub the Hub ร่วมด้วยช่วยป้องกัน BSI โดย : น.ส.มุจรินทร์ แจ่มแสงทอง งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อใน โรงพยาบาล รพ.พระปกเกล้า 15.35-16.00 น. • Update Wound Care โดย : นายแพทย์กฤษณ์ จงแจ่มฟ้า กลุ่มงานศัลยกรรม รพ.พระปกเกล้า ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
  • 9. 4    หมายเหตุ ; กําหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม วันศุกร์ที่ 27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี 08.30-09.00 น. ชมภาพบรรยากาศการประชุม 09.00-10.00 น. บรรยาย “ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ” โดย : พญ.เสาวนิตย์ กมลธรรม 10.00 -10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง / ชม E-poster 10.15 -11.30 น. บรรยาย “ชะลอวัยทํางานด้วยโยคะ” (ต่อ) โดย : พญ.เสาวนิตย์ กมลธรรม 11.30-12.00 น. มอบรางวัลผลงาน เหรียญทอง/เงิน/ทองแดง และชมเชย หน่วยงานที่ส่งผลงานมากที่สุดในโรงพยาบาล ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2559 ห้องประชุมรําไพพรรณี ห้องประชุมลีลาวดี อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า กําหนดการประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 “วิถีแห่งความสุขของมนุษย์วัยทํางาน”
  • 10.     กองบรรณาธิการด้านเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจําปี 2559 1. นายแพทย์โกมล ประภาสิต ประธานกรรมการ 2. นางอรสา ศิริวุฒิ กรรมการ 3. นางสาวจรินญา กาบสันเทียะ กรรมการ 4. นางสาวอุกายเกตุ ปิยารมย์ กรรมการ 5. นางสาวจตุพร เชยทอง กรรมการ 6. นางสาวรัชนิญา สนธิวรุณ กรรมการ 7. นางสาวธนัชชา แท่งทอง กรรมการ 8. นางสาววรัษฐา หอมมะลิ กรรมการ
  • 11. 6    คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการ โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจําปี 2559 ประเภท clinical research และ R2R 1. นายแพทย์ภัทร์พงศ์ อุดมพัฒน์ 2. ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา 3. ดร.ชดช้อย วัฒนะ ประเภท CQI และ IVT 1. ดร.ทองสวย สีทานนท์ 2. ดร.พรฤดี นิธิรัตน์ 3. ดร.บัญชา พร้อมดิษฐ์
  • 12.     ผลงานวิชาการด้วยวาจา ประเภท งานวิจัยจากงานประจํา รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) R2R-O-1 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อลดปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา จากการคัดลอก คําสั่งการใช้ยางานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน สุวรรณ ภิญโญจิตต์ นิตยา ชนะกอก จารุวรรณ วานม่วง 19 R2R-O-2 ผลลัพธ์ของการใช้Standing order Cryptococcal menigoencephalitis และ Pneumocystis Carinii pneumonia (PCP) ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลสมเด็จ พระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร  นัดดา พรหมสาขา ณ สกลนคร 21 R2R-O-3 เปรียบเทียบผลการใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับระบบเปิดต่ออัตราการเกิดปอด อักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจและค่าใช้จ่ายการดูดเสมหะในผู้ป่วยที่ใช้ เครื่องช่วยหายใจ  ปาริชาต คุณวงศ์ 23 R2R-O-4 ผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการ ให้ยาและสารละลายที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมเด็จพระ ยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ณัฐธิดา ทะคง  สุกันดา ศรีชาติ  เอี่ยมศิริ ฮดโสดา  ดรุณี มณีสิงห์  ปานใจ ฤาเดช 25 R2R-O-5 ผลการใช้แนวปฏิบัติเพื่อประเมินความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ  นางสาวมณีรัตน์ โสมศรีแพง  ปานใจ ฤาเดช 27  
  • 13. 8    รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) R2R-O-6 งานวิจัยจากงานประจํา การจัดการความรู้เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการลด พุงลดโรคลดเสี่ยง  บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ  ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง ดวงแข พิทักษ์สิน 29 R2R-O-7 ศึกษาผลโดยการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทาง กลศาสตร์ [Kinematic linkageImbalance- K.L.I.M.B]ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยจังหวัดชลบุรี  ศุภวรรณ ตันติพิพัฒนา 31 R2R-O-8 การสร้างพลังใจเหนือกาย ในเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดลพบุรี โดยโรงพยาบาล โคกเจริญ อําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี  พิมฉวี จันทร์เพ็ญ 33 R2R-O-9 เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารด้วยเครื่องมือสื่อสารออนไลน์ของฝ่ายการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์  สมนึก สุทธิรักษ์ศิริ 38 R2R-O-10 การพัฒนาสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญา ใน เขตอําเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร  ชนิกา ทองอันตัง  รศ.(พิเศษ) สุขสมัย สมพงษ์ 42
  • 14.     ประเภท งานพัฒนาคุณภาพ รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) CQI-O-1 โครงการเตรียมก่อนคลอดด้วยจิตประภัสสร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จังหวัดแพร่  วาสนา มณีทิพย์ 45 CQI-O-2 ปรับปรุงแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยไฟฟ้า ทําให้ไม่พบผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม และกระดูกหักข้อเคลื่อน หลังการรักษาด้วยไฟฟ้า  สามภพ สาระกุล  พรรณี มงคลศิริ  อัญชลี นักเสียง 47 CQI-O-3 การใช้กิจกรรมกลุ่มคุณภาพเพื่อลดอุบัติการณ์ติดเชื้อในโรงพยาบาลในผู้ป่วยที่คา สายสวนปัสสาวะ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จ.สกลนคร  ปาริชาต คุณวงศ์  สันทนา สัพโส 49 CQI-O-4 รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน คลินิกพิเศษโรคเรื้อรังโรงพยาบาลคีรีมาศจังหวัดสุโขทัย ตามกรอบแนวคิดของ B.I.C3 .S Model  ปิยพงศ์ สอนลบ  กัญญมล สุมาลี  สายสวาท คําสัตย์  อติมาน ศรีจักร 51 CQI-O-5 Pap Smear Mobility Unit in Community  สุรภา สุขสวัสดิ์ 53 CQI-O-6 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันครบวงจร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กรมแพทย์ทหารเรือ  นาวาตรีพิทักษ์ ทองสุข  เรือเอกหญิงกอบกุล บัวสมบูรณ์  พันจ่าเอกจอมนรา ราชโพธิ์ทอง 55 CQI-O-7 นมแม่วิถีแห่งความสุขกับชีวิตคนทํางาน  วาสนา งามการ 57
  • 15. 10    ประเภท นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) IVT-O-1 นวัตกรรม VAP kit (ชุดอุปกรณ์ป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ)  ปาริชาต คุณวงศ์  มณีรัตน์ โสมศรีแพง  เอี่ยมศิริ ฮดโสดา  ณัฐธิดา ทะคง  สุพรรษา ผลมุ่ง 60 IVT-O-2 Casting model for the cast training  เรือโทกฤตนัย สารภี 62 ผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์ ประเภท งานวิจัยจากงานประจํา รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) R2R-P-1 การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลตามแนวคิดการจัดการความรู้ กลุ่ม การพยาบาล สถาบันบําราศนราดูร  พรศิริ เรือนสว่าง กรุณา ลิ้มเจริญ ปิยะวดี ฉาไธสง 65 R2R-P-2 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากผู้สัมผัสโรคอย่างใกล้ชิด  ปิยะวดี ฉาไธสง เสาวลักษณ์ อภิสุข 68 R2R-P-3 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรับประทานยา Chloral hydrate สูตรปรับปรุง และสูตรเดิม ในผู้ป่วยเด็กที่ต้องส่งตรวจพิเศษ  สมฤดี เลิศงามมงคลกุล  ลัคณา สฤษดิ์ไพศาล  ลัทธยา อัศวจารุวรรณ 70
  • 16.     รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) R2R-P-4 แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในห้องผ่าตัด  จินตนา ดาวเรือง  กมลพร ศิริสกุลเดชะ  ปิยะวดี ฉาไธสง เจษฎากรณ์ ฐานคร 72 R2R-P-5 การคาดคะเนนํ้าหนักทารกในครรภ์ด้วยผลคูณระหว่างความสูงของมดลูกกับ เส้นรอบวงหน้าท้องมารดาที่ระดับสะดือเมื่อเจ็บครรภ์คลอด  อรพินทร์ เตชรังสรรค์   วันเพ็ญ สุขส่ง 74 R2R-P-6 ผลการปรับระบบการต่อเครื่องช่วยหายใจและการจัดชุดสายต่อเครื่องช่วยหายใจ  ปาริชาต คุณวงศ์  มณีรัตน์ โสมศรีแพง  ภิญญดา กองแก้ว 75 R2R-P-7 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยต่อความรู้และความเชื่อด้าน สุขภาพในการป้องกันตนเองจากการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นหญิง  สมบัติ รัตนะนาม  ชําเรือง แสงสุวรรณ  พรฤดี นิธิรัตน์  เพ็ญนภา พิสัยพันธ์ 77 R2R-P-8 ผลการใช้พลาสติกป้องกันการสูญเสียความร้อนในผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดนิ่วที่ไต โดยการเจาะท่อทางผิวหนัง (PCNL)  วรนารถ สุจินต์  บวรวรรณ นาคลําภา 79
  • 17. 12    ประเภท งานพัฒนาคุณภาพ รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) CQI-P-1 ประเมินระบบเฝ้าระวังไข้เลือดออก  รัชนี ทําจํารัส 84 CQI-P-2 พัฒนาระบบ “การให้ยาระงับความรู้สึกนอกห้องผ่าตัดโดยวิสัญญีพยาบาล”  รฐา โดนสูงเนิน  ระพีพรรณ มีสูงเนิน 86 CQI-P-3 วิสัญญีสัญจรเพื่อประชาชน  อรสา ตันตินพเก้า  รัชดาวรรณ ฉันทสุเมธี 88 CQI-P-4 การพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลด้านยาเพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงินค่า รักษาพยาบาลในระบบเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยนอก  จันทริกา สนั่นเกียรติเจริญ  ปิยวัฒน์ เมฆแดง 90 CQI-P-5 New look Emergency Cart  บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส  กาญจนา โกกิละนันทน์  มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์ ณภัทร ไวปุรินทะ 92 CQI-P-6 เปลี่ยนหลอดไฟห้องผู้ป่วยเป็นหลอดไฟแบบ ดาวน์ไลท์( Down light) แบบฝังฝ้า ทั้งหมด ทําให้ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงไม่สามารถปีนขึ้นไปถอด หลอดไฟมาทําลายและใช้เป็นอาวุธได้  สามภพ สาระกุล  พรรณี มงคลศิริ  อัญชลี นักเสียง 94 CQI-P-7 เอกสารประกอบการประชุม อบรม สัมมนา อิเล็กทรอนิกส์ (E- Annual General Meeting) วิภาวดี ต่อวงษ์ พิมพ์พนิต มงคลวงษ์ ภัทรวดี สุวรรณอาจ 95
  • 18.     รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) CQI-P-8 การปรับต่อชุดพ่นยาขยายหลอดลมให้เข้ากับวงจรดมยาสลบด้วยนวัตกรรม รีไซเคิล วรชัย นามวงษา นงคราญ วงษ์ดี 97 CQI-P-9 Two Days PPK Cath Lab วิรัตน์ ทักษ์คีรี ธันวา พิทักษ์สุธีพงศ์ ปิยะนันท์ ทิพโสต รัตนา เดิมสมบูรณ์ ปภาดา สุวรรณหิตาธร 99 CQI-P-10 การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ปาริชาต คุณวงศ์ สุกันดา ศรีชาติ ลาวัลย์ เพชรคํา 101 CQI-P-11 ผลของกิจกรรมพัฒนาต่อการลดลงของความคลาดเคลื่อนในงานผสมสารอาหารที่ ให้ทางหลอดเลือดดํา ยุคล จันทเลิศ กนกวรรณ ส่องสุข 103 CQI-P-12 วิถีแห่งความสุขของคนในห้องเอกซเรย์ มนูญ ตนัยโชติ 105 CQI-P-13 ผลการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลคีรีมาศตามกรอบแนวคิดของ 4 P model ปิยพงศ์ สอนลบ มาตุพร นทีประสิทธิพร เพ็ญทหัย ธรรม์ปพนธ์ ฉัตรนัยน์ พุฒฟัก 107  
  • 19. 14    รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) CQI-P-14 พัฒนาการดูแลแผลผู้ป่วยเบาหวาน อรุณรัตน์ เพิ่มผล ฉวีวรรณ ศรีอําไพ วรัตถ์นันท์ เวียสุวรรณ กัณฑิมา วงษ์บุญมี 109 CQI-P-15 การบริหารจัดการหอผู้ป่วยวัณโรค อุทัยวรรณ สิงห์คํา นรกมล ใหม่ทอง พัชรี ปุญญศรี พัชรินทร์ ชอบค้า ศิริมา เทพสุภา 111 CQI-P-16 การพัฒนารูปแบบการเปลี่ยนสารดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเครื่องดม ยาสลบ อมรา ลีแสน เรืองอุไร ธิเดช ดวงใจ วงศ์วิชิต ญานิณทร สมเนตร อจิราวดี ราชมณี 114 CQI-P-17 การพัฒนาระบบเพื่อดูแลภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด ( Neonatal Jaundice) เรณู จําชาติ   วิภารัตน์ ลครพล 116 CQI-P-18 การเปลี่ยนชุดให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดํา  สุวิมล ทรัพย์เรืองศรี 118  
  • 20.     รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) CQI-P-19 “หมอไม่ต้องลงมา เดี๋ยวพวกพี่จัดการเอง”ร่วมคิด พาทํา สู่ความเข้มแข็งในการ การควบคุมป้องโรคไข้เลือดออก กรณีศึกษา บ้านโนนรัง หมู่ที่ 2 ตําบลแก้งสนามนาง โรงพยาบาลแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวพรนภา เพียรดวงศรี  นางรุ่งทิวา พลอยสุวรรณ์  นางสาวภคอร เกษนอก  นางสาววรุณยุภา ภักดีไทย   นางสาวโชติกา คําสิงห์นอก 120 ประเภท นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) IVT-P-1 วีดีทัศน์คําแนะนําการปฏิบัติตัวก่อน-หลังดมยาสลบและผ่าตัด ภาษาพม่า-กัมพูชา  สุพรรณิการ์ อมรวิจิตร  ระพีพรรณ มีสูงเนิน 123 IVT-P-2 “EASY GOAL”  อัจฉรา ประสิทธิสุขสม  มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์  นภาพร บัวเอี่ยม 125 IVT-P-3 คล้องสาย By stylet  สุภาพร สงวนดี  ทักษร เค้าแก้ว  วิยดา บุญประสิทธิ์  วิมลมาน ว่องไว  เพ็ญประภา ศรีรัตนบุตร 127  
  • 21. 16    รหัส ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ (หน้า) IVT-P-4 “AN Handbook” (ความรู้สําหรับประชาชนข้อมูลที่ควรรู้เกี่ยวกับวิสัญญี)  นภาพร บัวเอี่ยม  บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส  อัจฉรา ประสิทธิสุขสม  มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์ 129 IVT-P-5 การพัฒนาการประเมินทางเดินหายใจด้วยการใช้BMR(Bamrasnaradura Multi Ruler)  ติณณ์ธฤต ทัพโคกสูง  มนัสนันท์ ศิริสกุลเวโรจน์  บุญธิดา ลิมาพงษ์ภาส 131 IVT-P-6 นวัตกรรมองศาเตียง เอี่ยมศิริ ฮดโสดา ปานใจ ฤาเดช 133 IVT-P-7 อุปกรณ์ป้องกันสาย Permanent Pacemaker เลื่อนหลุด ปรมาภรณ์ มากทรัพย์ ขนิษฐา ถังไชย 135 IVT-P-8 ที่นอนแผ่นเจลเพื่อลดอาการปวดหลัง สุดา วิทูรธีรศานต์ 138 IVT-P-9 Syringe เป๊ะ!!! ศิริมา เทพสุภา อุทัยวรรณ สิงห์คํา นรกมล ใหม่ทอง พัชรี ปุญญศรี พัชรินทร์ ชอบค้า 140 IVT-P-10 มหัศจรรย์กล่องพิชิตความหวาน วราวรรณ บุราณสาร 143
  • 24.     ชื่อเรื่องงานวิจัยจากงานประจํา : การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อลดปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา จาก การคัดลอกคําสั่งการใช้ยางานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน โรงพยาบาล/ สถาบัน : โรงพยาบาลลําพูน จังหวัด : ลําพูน ชื่อเจ้าของผลงาน : นายสุวรรณ ภิญโญจิตต์, บธ.บ. ชื่อผู้ร่วมผลงาน : นิตยา ชนะกอก, ปพ.ส. จารุวรรณ วานม่วง, พย.ม. ชื่อผู้นําเสนอผลงาน : นายสุวรรณ ภิญโญจิตต์, บธ.บ. ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale):จากการศึกษาข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ความ ระหว่างเดือน พ.ย. 2555 ถึงเดือน มี.ค. 2557 พบความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคําสั่งการใช้ยาโดย เจ้าหน้าที่พยาบาล จํานวน 64 ครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบถึงการส่งต่อข้อมูลในแผนการรักษาและการบริหารยาแก่ ผู้ป่วย ทางผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานโดยนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาแก้ไข ปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เกิดความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูลการสั่งใช้ยา วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives) : เพื่อพัฒนาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการช่วยลดความ คลาดเคลื่อนในกระบวนการคัดลอกคําสั่งการใช้ยา ในแบบบันทึกการให้ยา ให้มีความถูกต้องปลอดภัย และ รวดเร็ว ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology): ประชากรเป้าหมายเป็นพยาบาลที่มีหน้าที่ในการคัดลอกคําสั่งการ ใช้ยา ซึ่งการวิจัยเพื่อการพัฒนา(Research and development) โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมเพื่อค้นหาจุด เสี่ยงในการปฏิบัติงานโดยนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาแก้ไขปัญหา ระหว่างเดือน มิ.ย. 2557 ถึง พ.ค. 2558 และใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จํานวนและร้อยละ และใช้แบบสอบถามในการประเมินผลความพึงพอใจต่อ การใช้งานโปรแกรม ผลการศึกษา (Results): ผลการศึกษา ระหว่างเดือน มิ.ย 2557 ถึง พ.ค. 2558 พบว่าอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับการคัดลอกคําสั่งการใช้ยาคลาดเคลื่อน งานผู้ป่วยในของโรงพยาบาลลําพูนนั้น ลดลงจาก 64 ครั้ง เป็น 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 92.19 และความพึงพอใจในการใช้งานโปรแกรมอยู่ในระดับมาก สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ: การนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการจัดการข้อมูลในการจัดทํา แบบบันทึกการให้ยา ทดแทนการคัดลอกโดยเจ้าหน้าที่พยาบาล ช่วยลดข้อผิดพลาด และยังช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานสามารถทํางานได้รวดเร็วขึ้นช่วยลดขั้นตอนและประหยัดเวลา การทํางาน แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R” งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
  • 25. 20    การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : ได้นําเอาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นไปใช้ใน การจัดทําแบบบันทึกการให้ยาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ในหอผู้ป่วยในทั้งหมดภายในโรงพยาบาลลําพูน บทเรียนที่ได้รับ: การนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยสร้างระบบป้ องกันที่ดีสามารถป้ องกันความคลาด เคลื่อนที่เกิดขึ้นได้ ปัจจัยแห่งความสําเร็จ : เป็นการแก้ไขปัญหาภายใต้กระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นหัวใจหลักสําคัญใน การบริหารงานของโรงพยาบาล ที่ได้ผ่านการวิเคราะห์ปัญหาและร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาจากทีมสห วิชาชีพ การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร: ได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงโรงพยาบาลลําพูนและกลุ่มงานเภสัชกรรม กลุ่มงานหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลลําพูน ในการศึกษา ข้อมูลและทดสอบการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ ทั้งด้านบุคลากร เครื่องมือ และสถานที่
  • 26.     ชื่อเรื่องงานวิจัย ผลลัพธ์ของการใช้Standing order Cryptococcal menigoencephalitis และ Pneumocystis Carinii pneumonia (PCP) ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ชื่อเจ้าของผลงาน น.ส.นัดดา พรหมสาขา ณ สกลนคร ชื่อย่อวุฒิการศึกษา ภ.บ. (บริบาลเภสัชกรรม) ชื่อผู้ร่วมผลงาน นายสุเมธ รัตนมณีกรณ์ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พ.บ.ว.ว. (อายุรศาสตร์) ชื่อผู้นําเสนอผลงาน นายสุเมธ รัตนมณีกรณ์ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พ.บ.ว.ว. (อายุรศาสตร์) ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background&Rationale): จากการทํางานพบว่าแม้จะมีแนวทางในการรักษา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็น Cryptococcal meningoencephalitis และ Pneumocystis carinii pneumonia (PCP) แต่ มักจะได้รับการดูแลรักษาไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ในส่วนของ severity of disease ขนาดยา ระยะเวลาการให้ ยา การประเมินผลข้างเคียงจากการใช้ยา ฯลฯ จึงเกิดการจัดทําและใช้Standing order ขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives): เพื่อให้แพทย์เภสัชกร และพยาบาล ให้การรักษาผู้ป่วยเอชไอวีที่ เป็นโรค Cryptococcal meningoencephalitis และ PCP ได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง มากขึ้น ระเบียบวิธีวิจัย (ResearchMethodology): เป็นการวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ โดยการใช้Standing order ใน กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็น Cryptococcal meningoencephalitis และ PCP ที่นอนโรงพยาบาลทั้งหมด โดย ทบทวนแฟ้มประวัติย้อนหลังก่อนใช้ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2555 ถึง 30 ก.ย. 2557 และหลังใช้ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2557 ถึง 30 มิ.ย. 2558 เปรียบเทียบสัดส่วนความถูกต้องครบถ้วนของการรักษาตาม Standing order วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติ Chi-square test ผลการศึกษา (Results): กลุ่มใช้Standing order ของ Cryptococcal meningoencephalitis การรักษาทุกระยะมี ความครบถ้วนถูกต้องมากขึ้น โดยระยะ consolidation, maintenance และ secondary prophylaxis มีความถูก ต้องครบถ้วนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิต (P<0.05) ภาวะ Hypokalemia และ Acute renal failure ก่อนและหลัง ใช้อัตราการเกิดใกล้เคียงกัน (6.71±3.29,7.00±3.50วันและ7.25±3.67,8.25±2.36วันตามลําดับ)กลุ่มใช้Standing order ของ PCP ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างก่อนและหลังใช้ ยกเว้นเรื่องระยะเวลา การรักษาของ Secondary prophylaxis มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P=0.007) สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ: การใช้Standingorderของทั้ง2โรคทําให้การรักษาทําได้อย่างครบถ้วน ถูกต้องมากขึ้นอย่างชัดเจน แต่ครั้งนี้จํานวนตัวอย่างที่น้อยอาจยังไม่เพียงพอต่อการประเมินทั้งยังไม่มีการเก็บความ ยากง่ายของการใช้ความพึงพอใจของผู้ใช้Standingorderและต้องมีการเก็บจํานวนผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซํ้าของโรค เพิ่มเติมในครั้งต่อไป การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : การนํา Standing order มาใช้เพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยทั้ง 2 โรคให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องครบถ้วนจะนํามาซึ่งประสิทธิภาพของการดูแลรักษาสูงสุด บทเรียนที่ได้รับ: การมีแบบแผนที่เป็นรูปธรรมให้เห็นชัดเจนนําไปสู่การรักษาที่ครบถ้วนถูกต้องมากขึ้น
  • 27. 22    ปัจจัยแห่งความสําเร็จ: คณะกรรมการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อและทีมผู้รักษามีความตั้งใจที่จะดูแลรักษาผู้ป่วยให้ หายจากโรคและได้รับการรักษาที่ดีที่สุด นําไปสู่การคิดพัฒนาปรับปรุงงาน จึงเกิด Standing order ขึ้น การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร: คณะผู้บริหารให้ความสําคัญและสนับสนุนการให้การ ดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเต็มที่ การติดต่อกับทีมงาน: นัดดา พรหมสาขาฯ 086-8599594 nadtoy@live.com, สุเมธ รัตนมณีกรณ์ 091- 0615717 sumeth_saebe@hotmail.com
  • 28.     ชื่อเรื่อง เปรียบเทียบผลการใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับระบบเปิดต่ออัตราการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อ จากการใช้เครื่องช่วยหายใจและค่าใช้จ่ายการดูดเสมหะในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ เจ้าของผลงาน ปาริชาต คุณวงศ์ พย.บ.งานผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัด สกลนคร ความสําคัญ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่รับการรักษาที่หอผู้ป่วยหนักมักจะระบบหายใจล้มเหลวได้รับการรักษาโดย ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ และในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคหรือสงสัยว่าเป็น วัณโรค ผู้ป่วยจะได้รับการจัดไว้ในห้องแยกและใช้การดูดเสมหะแบบระบบปิดเนื่องจากเชื้อวัณโรคเป็นเชื้อ ที่แพร่กระจายทางอากาศ ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจว่านอกจากการป้องกันแพร่กระจายของเชื้อโรคแล้วการดูด เสมหะระบบปิดจะสามารถใช้ป้องกันปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจหรือไม่ และมีค่าใช้จ่าย ที่แตกต่างกันมากน้อยเท่าใด วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการดูดเสมหะระบบปิดกับวิธีการดูดเสมหะระบบเปิดต่อ อุบัติการณ์ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ค่าใช้จ่ายในการดูดเสมหะ และระดับความคิดเห็นของ พยาบาลต่อวิธีการดูดเสมหะระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยแบบ retrospective study กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ ใช้วิธีการดูดเสมหะระบบปิด 25 ราย และ ผู้ป่วยที่ใช้วิธีการดูดเสมหะระบบเปิด 25 ราย พยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานในไอซียู12 คน ช่วงเดือนตุลาคม 2555 ถึงเดือน มีนาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ รายงานการเฝ้าระวังการติดเชื้อปอดอักเสบจากผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจของ รพ. สมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน รายงานค่าใช้จ่ายของงานผู้ป่วยหนักจากระบบ HosXp ของ รพ.สมเด็จพระ ยุพราชสว่างแดนดิน แบบสอบถามระดับความคิดเห็นพยาบาลต่อการดูดเสมหะระบบปิดและระบบเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่คํานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน P value ผลการศึกษา การดูดเสมหะระบบปิดมีอัตราการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่า ระบบเปิด 1.2 ครั้งต่อ 1000วันนอนใช้เครื่องช่วยหายใจ P < .002 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ การ ดูดเสมหะทั้งสองระบบไม่มีผลต่อการเพิ่มหรือลดอุบัติการณ์ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจแต่อาจ มีผลกับระยะเวลาการเกิดปอดอักเสบซึ่งต้องเก็บข้อมูลต่อ ด้านค่าใช้จ่าย เมื่อระยะเวลาเพิ่มขึ้นการดูดเสมหะ ระบบปิดค่าใช้จ่ายลดลง ตรงข้ามกับดูดเสมหะระบบเปิดเมื่อระยะเวลาเพิ่มขึ้นค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นตาม ด้าน ระดับความคิดเห็น การสัมผัสกับเสมหะผู้ป่วย ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความสะดวกในการใช้งาน ความพึง พอใจของผู้ปฏิบัติต่อการดูดเสมหะระบบปิดจะมากกว่าระบบเปิด ส่วนด้านประสิทธิภาพในการดูดเสมหะ นั้นวิธีการดูดเสมหะระบบเปิดจะมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบเปิด สรุปผลและข้อเสนอแนะ การดูดเสมหะทั้งสองระบบมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน ถ้าผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ ได้รับการดูดเสมหะอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วก็จะไม่ทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากการดูดเสมหะ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค และยังเป็นการใช้ทรัพยากรให้ได้ ประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าคุ้มทุน การนําผลงานไปใช้ เป็นตัวเลือกในการใช้วิธีดูดเสมหะ และนําไปพัฒนาแนวปฏิบัติการดูดเสมหะใน รพ.
  • 29. 24    บทเรียนที่ได้รับ นอกจากการดูแลผู้ป่วยที่ดี ต้องคิดถึงแง่มุมด้านผู้ปฏิบัติ และความคุ้มทุนในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ด้วย ปัจจัยแห่งความสําเร็จ การช่างสังเกตและนําหลักฐานเชิงประจักษ์มาช่วยในการดูแลผู้ป่วยจะทําให้ดูแล ผู้ป่วยดียิ่งขึ้น การสนับสนุนจากองค์กร สนับสนุนให้ทําการวิจัยในการทํางานและหาวิธีการทํางานโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์
  • 30.     ผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้ องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการให้ยาและสารละลาย ที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่ วยวิกฤต โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร นางสาวณัฐธิดา ทะคง พย.บ., นางสุกันดา ศรีชาติ พย.บ. นางสาวเอี่ยมศิริ ฮดโสดา พย.บ., นางสาวดรุณี มณีสิงห์ พย.บ., นางสาวปานใจ ฤาเดช พย.บ. บทคัดย่อ ที่มา : การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ เป็นอุบัติการณ์หนึ่งที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤต จากการ ทบทวนอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบในหอผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน ปี 2555 - 2557 พบว่า คิดเป็นอัตรา 3.13, 3.87 และ 6.07 วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ เพื่อประเมินผล การใช้แนวปฏิบัติ และประเมินระดับความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ ระเบียบวิธีวิจัย : การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาและประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อ ป้องกัน การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ประชากรคือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน ในระหว่างวันที่ 1 มี.ค. - 31 พ.ค. 2558 จํานวนทั้งหมด 77 คน และพยาบาลวิชาชีพใน หอผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน จํานวน 12 คน วิธีการศึกษา สร้างแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกัน การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ จากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ และดําเนินการวิจัยโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA เก็บรวบรวมอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ และระดับความคิดเห็น ของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษา : พบว่า หลังใช้แนวปฏิบัติ ในเดือน มี.ค. - พ.ค. 2558 พบอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดํา อักเสบ คิดเป็นอัตรา 5.37, 6.68 และ 13.33 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ได้แก่ ปัจจัยด้าน อายุ โรคประจําตัว การติดเชื้อในร่างกาย ภาวะโภชนาการ ตําแหน่งการแทงเข็ม ชนิดของยาปฏิชีวนะที่ ได้รับ ชนิดของยาเสี่ยงสูง ที่ได้รับระดับความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติ อยู่ในระดับพอใจ มาก ที่ค่าเฉลี่ยรวม 4.11 สรุป อภิปรายผล และเสนอแนะ : จากผลการศึกษา พบว่ายังมีอุบัติการณ์การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ ผู้วิจัยจึงมีการพัฒนาแนวปฏิบัติ โดยได้เพิ่มการเฝ้าระวังดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาและสารละลายที่มีความเสี่ยง สูงอย่างต่อเนื่อง ให้มากขึ้น เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้มีคุณภาพและนําไปสู่การลดอุบัติการณ์การเกิดหลอด เลือดดําอักเสบต่อไป
  • 31. 26    การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา : ได้แนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิดหลอด เลือดดําอักเสบ จากการให้ยาและสารละลายที่มีความเสี่ยงสูงมาใช้ในหน่วยงาน และได้ผลการวิจัยมา พัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น บทเรียนที่ได้รับและปัจจัยแห่งความสําเร็จ : คือการมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุก คน การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร : ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารและหัวหน้าใน หน่วยงาน
  • 32.     ชื่อเรื่องงานวิจัย: ผลการใช้แนวปฏิบัติเพื่อประเมินความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ นางสาวมณีรัตน์ โสมศรีแพง พย.บ.,นางสาวปานใจ ฤาเดช พย.บ. แผนกผู้ป่วยหนัก รพร.สว่างแดนดิน ความสําคัญ จากสถิติโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน ปีงบประมาณ 2555 -2556 พบว่า หย่า เครื่องช่วยหายใจสําเร็จ ร้อยละ 61.58 และ 79.23 ทําให้เพิ่มค่าใช้จ่ายในการนอนโรงพยาบาล และยังทําให้ เพิ่มอัตราการเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น เกิดภาวะเครียด ภาวะหมดหนทางรักษาและภาวะสิ้นหวัง ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลใกล้ชิดควรให้ความใส่ใจต่อปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อความสําเร็จและความ ล้มเหลวในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ5 ด้วยเหตุนี้เพื่อช่วยให้การประเมินการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้สําเร็จ จึงได้จัดทําแนวปฏิบัติเพื่อส่งเสริมความสําเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น จากประสบการณ์การทํางานในหอผู้ป่วยวิกฤตของผู้ศึกษา พบว่า การหย่าเครื่องช่วยหายใจจะให้ แพทย์เป็นผู้พิจารณาเท่านั้น บุคลากรจบใหม่ประสบการณ์น้อยเกิดความไม่มั่นใจ ไม่มีแนวปฏิบัติในการ หย่าเครื่องช่วยหายใจที่ชัดเจนเพื่อสื่อสารระหว่างวิชาชีพ เกิดความล่าช้าและใช้เวลาในการหย่าเครื่องช่วย หายใจมากขึ้น ทางผู้ศึกษาจึงได้สร้างแนวปฏิบัติขึ้นเพื่อใช้ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยก่อนการหย่า เครื่องช่วยหายใจ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแนวปฏิบัติการพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ 2.เพื่อประเมินผลการใช้แนว ปฏิบัติในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ 3.เพื่อประเมินระดับความคิดเห็นของพยาบาลผู้ใช้แนวปฏิบัติทางการ พยาบาล ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology): รูปแบบการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ(action research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยทุกราย ที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน อําเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2556 จํานวน 307 คน เปรียบเทียบกับหลังใช้แนวปฏิบัติในช่วงวันที่ 1 ตุลาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 จํานวน 288 ราย ขั้นตอนการศึกษา ;โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA เครื่องมือ แนวปฏิบัติการหย่าเครื่องช่วยหายใจและแบบสํารวจความคิดเห็น
  • 33. 28    การวัด การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ระยะเวลาการศึกษา 1กันยายน 2554 -30 กันยายน 2558 ผลการศึกษา พบว่าพยาบาลผู้ใช้มีความพึงพอใจในการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ92.31 ผู้ป่วยสามารถหย่า เครื่องช่วยหายใจสําเร็จ ร้อยละ 93.06 สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ การใช้แนวปฏิบัติอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ อาจต้องอาศัยประสบการณ์ ในการดูแลผู้ป่วยด้วย เช่น การวัด Cuff leak test และควรมีการทํา cuff leaked volume เพื่อให้เกิดคุณภาพ มากขึ้น การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา มีการนําแนวปฏิบัติไปใช้และขยายผลในหน่วยงานลักษณะ เดียวกัน บทเรียนที่ได้รับ: ผลการประเมินผ่านเพียงอย่างเดียว ไม่ได้บอกว่าทุกอย่างจะผ่านเสมอไป ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ความสําเร็จไม่ได้มาจากผู้ป่วยอย่างเดียว ขึ้นกับประสิทธิภาพการทํางานเจ้าหน้าที่ ร่วมด้วย การสนับสนุน - ติดต่อ Image_nee@hotmail.com
  • 34.     ชื่อเรื่อง งานวิจัยจากงานประจํา การจัดการความรู้เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการลดพุงลดโรคลดเสี่ยง สถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี จังหวัด.ราชบุรี ชื่อเจ้าของผลงาน นางสาว บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา กศด.(ประชากรศึกษา) ชื่อผู้ร่วมผลงาน 1. นาง ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พยม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) 2. นาง ดวงแข พิทักษ์สิน ชื่อย่อวุฒิการศึกษา พยม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) ชื่อผู้นําเสนอผลงาน นางสาว บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ ชื่อย่อวุฒิการศึกษา กศด.(ประชากรศึกษา) ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale):- เนื่องจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี มีบุคลากรที่มีไขมันใต้ผิวหนัง เกินจํานวน 56 คน จาก 73 คน คิดเป็นร้อยละ 76.71 และเข้าข่ายอ้วน 27 คนใน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 โดยการวิจัย เชิง ปฏิบัติการเพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีในการเฝ้าระวังลดพุงลดโรคลดเสี่ยง , ในเพศหญิงและเพศชาย โดย นําผล การตรวจร่างกายประจําปี 2557 มาวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ปฏิบัติการเพื่อหาแนวทาง ปฏิบัติการลดพุงลดความเสี่ยงจากโรคที่กําลังจะเกิดเช่นโรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives).วิเคราะห์หาแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการลดพุงลดโรคลดเสี่ยง ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology):- เก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของวิทยาลัยจํานวน 110 คน ตั้งแต่วันที่ ธันวาคม 2557 – ธันวาคม 2558วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ( X )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบผลการตรวจร่างกายก่อนและหลังการทดลองรายบุคคล ผลการศึกษา (Results):-ผลการวิจัย พบว่าประชากร มีอายุระหว่าง 35-55 ปีจํานวน 54 คนคิดเป็นร้อยละ 74 มีโรคประจําตัว 34 คนคิดเป็นร้อยละ 46.57 พฤติกรรมการบริโภคเพิ่มขึ้น ทั้งมื้อ/จํานวน รับประทานอาหาร หวานเค็มเผ็ด ของทอดเครื่องดื่มที่มีนํ้าตาลเป็นองค์ประกอบเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้ลดลง การออกกําลังกาย มากขึ้น การควบคุมความเครียดได้มากขึ้น ผู้ที่มีโรคประจําตัว เป็นอาจารย์จํานวน 13 คน สายสนับสนุน 21 คน ภายหลังการเสร็จสิ้นกระบวนการปฏิบัติการของบุคลากรทั้ง 34 คน พบว่า ความดันโลหิตที่มีค่าเกิน มาตรฐานลดลงจาก 6 คน เหลือ 2 คน ค่า Cholesterol ที่เกินมาตรฐาน 9 คนลดลงเหลือ 3 คน Triglyceride ที่ เกินมาตรฐาน 11 คนลดลงเหลือ 2 คน BMI ที่เกินมาตรฐาน 24 คนยังคงเหลือ 24 คนเท่าเดิม รอบเอวที่เกิน มาตรฐาน 11 คนเพิ่มเป็น 13 คน ผู้มีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นรอบ 3 เดือนนี้ 15 คน และมีผู้ที่มีนํ้าหนักลดลง 8 คน สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ:- สรุปสาระสําคัญของผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผล บทสรุปสําหรับแนวปฏิบัติที่ดีในการลดพุงลดโรคและลดเสี่ยงคือการลดนํ้าหนักที่เพิ่มและBMIยัง เกินมาตรฐานโดยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เกินให้ลดลงและการออกกําลังเพื่อเพิ่มการเผา ผลาญอาหารส่วนเกินตามหลักการดุลยภาพของชีวิตคืออาหารเพื่อพลังงานที่เข้าไปเท่ากับพลังงานที่ใช้ไป แนวปฏิบัติที่ดีคือการให้ลดพลังงานจากอาหารที่รับประทาน การลดอาหารที่เป็น Trans fat ลดแป้ง นํ้าตาล แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R” งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
  • 35. 30    ของหวาน นํ้าอัดลม เพิ่มการรับประทานผักผลไม้2-3 มื้อ/วัน การลดนํ้าหนักที่ได้ผลมากที่สุดในระยะยาว คือการลดพลังงานจาก อาหารที่ควรได้รับประมาณวันละ 500-1,000 แคลอรี่ เป้าหมายที่เหมาะสมในการลด นํ้าหนัก คือการลดนํ้าหนักให้ได้อย่างน้อยร้อยละ5-10ในช่วง 6-12เดือนและเพิ่มการออกกําลังกาย ครั้งละ 20-30 นาทีสัปดาห์ละ 5 วัน การลดนํ้าหนักในระยะยาวที่จะได้ผลดีนั้นจําเป็นทีจะต้องมีการออกกําลังกาย ร่วมด้วยเสมอ ข้อเสนอแนะเนื่องจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรีได้รับรางวัลองค์กรต้นแบบไร้พุงจึงควรมีการ ประกาศนโยบายในการบริโภคอาหารอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ขยับกาย สลายไขมัน ฯลฯควรมีการจัดการให้ ความรู้ในการส่งเสริมและการป้องกันโรคตามหลัก 3 อ.2 ส. อย่างต่อเนื่องจนเกดพฤติกรรมที่เหมาะสมมี การวิจัยการจัดการความรู้เรื่องการบริโภคอย่างไรสุขภาพร่างกายแข็งแรงปลอดโรคหรืออื่นๆเช่นอาหารไทย เหมาะกับคนไทยอย่างไรควรมีการส่งเสริมการกินอยู่อย่างไทย เพื่อดํารงเอกลักษณ์ไทยและส่งเสริมอาหาร ไทยสู่อาหารโลก การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา: ได้นํามาใช้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีในการปฏิบัติตนในเรื่อง พฤติกรรมการบริโภค การออกกําลังกายและการควบคุมความเครียดกับบุคลกรของสถาบัน จนวิทยาลัยเป็น สถาบันองค์กรไร้พุงต้นแบบและถ่ายโอนความรู้สู่ชุมชนดอนตะโกและดอนแจงเพื่อชุมชนสุขภาพดี บทเรียนที่ได้รับ: พบว่า ความรู้ทางวิชาการอธิบายจนเข้าใจแต่หากขาดความตั้งใจนําไปใช้ปฏิบัติย่อมไม่เกิด ผลสําเร็จดังนั้นหากรู้เข้าใจและนําไปใช้จริงย่อมเกิดผลสําเร็จที่เป็นรูปธรรม(เช่นค่าผลการตรวจเลือดและ ร่างกายมีแนวโน้มทางที่ดีขึ้น สมรรถภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น) ดังนั้นควรนําแนวปฏิบัตินี้ไปทําอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยแห่งความสําเร็จ คือ:ความมีวินัยในตนเอง การมีส่วนร่วมและความมุ่งมั่นตั้งใจในการดูแลตนเอง (เพื่อ จะได้ไม่เป็นภาระพึ่งพึงผู้อื่นในอนาคต) การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร:ได้รับเงินสนับสนุนในการทําวิจัยและการทํากิจกรรม ต่างๆจากวิทยาลัยฯ การติดต่อกับทีมงาน:- (ระบุชื่อที่สามารถติดต่อได้เบอร์โทรศัพท์มือถือ E-mail)บําเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ เบอร์ โทรศัพท์มือถือ 0818571669 E-mail: phongphetdit@gmail.com
  • 36.     ชื่อเรื่องงานวิจัยจากงานประจํา ศึกษาผลโดยการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์ [Kinematic linkageImbalance- K.L.I.M.B]ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยจังหวัดชลบุรี ชื่อเจ้าของผลงาน กภ.ศุภวรรณ ตันติพิพัฒนา นักกายภาพบําบัด 5 ฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย ชื่อย่อวุฒิการศึกษา ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขากายภาพบําบัด ความสําคัญและที่มาของการวิจัย (Background & Rationale): ในปัจจุบันโรคข้อเข่าเสื่อมพบได้บ่อยถึงร้อยละ 50 ของจํานวนผู้ป่วยที่ไปพบแพทย์ด้วยอาการปวด ข้อในผู้ป่วยที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป และมีอาการปวดรุนแรงมากกว่า เนื่องจากเป็นข้อที่รับนํ้าหนักและใช้งาน มาก ดังนั้น ผู้วิจัยในฐานะนักกายภาพบําบัด งานกายภาพบําบัด ฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู จึงจัดทําโครงการ เพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่ วยข้อเข่าเสื่อมโดยใช้หลักการปรับภาวะเสียสมดุล โครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์เพื่อให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของ รอยโรคเพิ่มมากขึ้น และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้จึงส่งผลให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives) เพื่อศึกษาผลการใช้หลักปรับภาวะเสียสมดุลโครงสร้างที่มีการเชื่อมโยงทางกลศาสตร์ [Kinematic linkage Imbalance] ในการเพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ระเบียบวิธีวิจัย(Research Methodology):เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง เก็บข้อมูลผู้ป่วยนอก ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย จังหวัดชลบุรี เดือนตุลาคม 2556 ถึง ธันวาคม 2558 จํานวน 40 ราย กลุ่มทดลองซึ่งได้รับการรักษาด้วย Physical modalities ร่วมกับให้โปรแกรมการออกกําลังกาย โดยใช้หลัก K.L.I.M.B ทํา 20-30 นาที /ครั้ง สัปดาห์ 3 วัน /สัปดาห์ นาน 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินความ ปวดVAS แบบประเมินข้อเข่า KOOSแบบทดสอบสมรรถภาCST แบบประเมิน SCTก่อนและหลังการรักษา ผู้ป่วยได้รับการเก็บข้อมูลก่อนการรักษาด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Chi- Square t-test และPaired t-test แบบบทคัดย่อ“งานวิจัยจากงานประจํา/ R2R” งานประชุมวิชาการ “โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 14”
  • 37. 32    ผลการศึกษา (Results):พบว่ากลุ่มทดลองซึ่งได้รับการรักษาด้วย Physical modalities ร่วมกับโปรแกรมโดย ใช้หลัก K.L.I.M.B ผลคะแนนความปวด(VAS)เฉลี่ยก่อน 7.55 + 1.48 และมีคะแนนความปวด(VAS)เฉลี่ย หลังรับบริการ 2.90 + 1.17 พบว่าผลคะแนนแบบสอบถาม KOOS ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม มีค่าเฉลี่ย ก่อนการ รักษา 100.18 + 33.07 และมีลดลง 46.10 + 19.90 พบว่าค่าเวลาการทดสอบจากนั่งลุกยืน (CST) มีค่าเฉลี่ย ก่อนการรักษา 5.10 + 2.67 วินาที และมีค่าเฉลี่ยหลังการรักษาลดลง 2.50 + 1.35วินาที พบว่าค่าเวลาทดสอบ การขึ้นลงบันได (SCT) มีค่าเฉลี่ยก่อนการรักษา 38.17 + 34.53 วินาที และลดลง 22.32+ 18.50 วินาที หลัง การรักษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในบริการ พบว่าผลคะแนนความพึง พอใจเฉลี่ยก่อนมารับบริการ คิดเป็นร้อยละ76.42 + 7.64 และเฉลี่ยหลังมารับบริการ คิดเป็นร้อยละ 94.23 + 6.54 สรุปผล อภิปรายผล และเสนอแนะ: พบว่าการรักษาด้วยPhysical modalities ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดี อย่างไรก็ดีกลุ่มทดลองซึ่ง ได้รับการรักษาด้วย Physical modalities ร่วมกับโปรแกรมโดยใช้หลัก K.L.I.M.B ทําให้ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมี ระดับความปวดลดลง ช่วยเพิ่มสมดุลย์การทรงตัว (Balance) และยังช่วย Function mobility ได้เพิ่มขึ้น การนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจํา นักกายภาพบําบัดได้นําเทคนิค K.L.I.M.B มาใช้ประยุกต์ในการตรวจประเมิน วางแผนการรักษา และให้การรักษาทางกายภาพบําบัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมแบบองค์รวม เพื่อ เพิ่มความสามารถในการใช้ชีวิตประจําวันในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด บทเรียนที่ได้รับ: 1.มีแบบประเมินการวัดความรู้ก่อน-หลังการจัดการสอนให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมเป็น รายบุคคลและญาติ ให้มีส่วนร่วมในโปรแกรมการออกกําลังกายโดยกลับไปทําที่บ้านเองอย่างต่อเนื่องและ สมํ่าเสมอ 2.ทําการเปรียบเทียบผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ระหว่างกลุ่มการรักษาทางกายภาพบําบัดทั่วไป กับการใช้ เทคนิค K.L.I.M.B ว่ามีผลการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีความสําคัญอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ปัจจัยแห่งความสําเร็จ นักกายภาพบําบัดต้องมีความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรคข้อเข่าเสื่อมและเทคนิค K.L.I.M.B มาใช้ ประยุกต์ได้อย่างถูกต้องครอบคลุมถึงปัญหาผู้ป่วยอย่างแท้จริง และสามารถนําโปรแกรมการรักษากลับไป ทําต่อเนื่องที่บ้าน รวมทั้งยังมีองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อมในการดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน/องค์กร ผู้อํานวยการ หัวหน้าฝ่ายเวชกรรมฟื้นฟู และหัวหน้าหน่วยงานสนับสนุนในเรื่องการดําเนินการของ อนุมัติจัดทําโครงการ และเป็นที่ปรึกษา