SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
ฉบับที่ 8 / 2558
POLICYPOLICY BRIEFBRIEF
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 7 เรื่อง “การปฏิรูปนโยบายการต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัตน์” จัดโดยโครงการคลัง
ปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 25 พ.ค. 2558 เวลา 13:00 – 17:00 น. ณ ห้องประชุมจามจุรี บอลรูม
A โรงแรมปทุมวันปริ้นเซส กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญา
สาธารณะ (สปส.)
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทนา
หลังสิ้นสุดสงครามเย็น โลกได้เปลี่ยนแปลงจากระบบหลายขั้วอานาจ (Multipolar World Order)
มาสู่ ระบบขั้วอานาจเดียว (Unipolar World Order) คือ มีสหรัฐฯเป็นเพียงประเทศเดียวในโลกที่ครอง
อานาจทั้งทางการเมืองและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมถึงอานาจการซื้อขายทางเศรษฐกิจที่มีขนาด
ใหญ่ที่สุดในโลก ในช่วงเวลาดังกล่าว นโยบายการต่างประเทศของไทยมีความใกล้ชิดกับสหรัฐฯ จึงทาให้
รัฐบาลไทยหันมาให้ความสาคัญกับการจัดตั้ง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association
of South East Asian Nations) โดยมีบทบาทในการคลี่คลายสถานการณ์ความขัดแย้งในภาคพื้นทวีปอินโด
จีน ไม่ว่าจะเป็นการกดดันให้กองทัพเวียดนามเหนือถอนทหารและหยุดการรุกรานอธิปไตยประเทศกัมพูชา
ในปี ค.ศ. 1979 รวมไปถึงการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศด้วยการเจรจา
ทางการทูต ตลอดจนธารงไว้ซึ่งเอกราชและอานาจอธิปไตยของประเทศในภูมิภาคเป็นสาคัญ
ปัจจุบันจะพบว่าการผงาดขึ้นมาของจีนในด้านอานาจทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มจะแซงหน้าสหรัฐฯใน
อีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า นอกจากนั้นปัญหาเศรษฐกิจในยุโรปที่บั่นทอนศักยภาพในการซื้อขายได้ลุกลาม
ไปทั่วทวีป รวมไปถึงการแข่งขันระหว่างจีนกับสหรัฐฯในภาคพื้นทวีปเอเชียแปซิฟิก ซึ่งชี้ให้เห็นว่า โลกใน
ปัจจุบันกาลังเข้าสู่ในยุคบูรพาภิวัตน์ และกาลังเกิดขึ้นจริง นั่นหมายถึง ประเทศไทยจะปรับตัวภายใต้
กระแสบูรพาภิวัตน์อย่างไร การปฏิรูปกรอบแนวคิดการต่างประเทศจะสามารถสอดรับต่อกระแส
บูรพาภิวัตน์ได้หรือไม่ รวมถึงโครงสร้างในการบริหารราชการของกระทรวงการต่างประเทศจะต้อง
ปรับเปลี่ยนอย่างไร ในเวทีการประชุมระดมสมองที่จัดโดยสถาบันคลังปัญญาฯได้วิเคราะห์ปัญหาการ
ต่างประเทศของไทยที่กาลังเผชิญอยู่ ดังต่อไปนี้
การปฏิรูปการปฏิรูปการปฏิรูปนโยบายนโยบายนโยบายการต่างประเทศของไทยในการต่างประเทศของไทยในการต่างประเทศของไทยใน
ยุคบูรพาภิวัตน์ยุคบูรพาภิวัตน์ยุคบูรพาภิวัตน์::: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายข้อเสนอแนะเชิงนโยบายข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ท่านทูตสุรพงษ์ ชัยนาม ท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์
ดร. ดามพ์ สุคนธทรัพย์ ศาสตราจารย์เกรียติคุณ นพ.ประเวศ วะสี
พลเอกจรัล กุลละวณิช
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
1. ปัญหาการต่างประเทศที่เกิดจากปัจจัยภายในประเทศ
1.1 กลุ่มธุรกิจการเมืองครอบงานโยบายการต่างประเทศของไทย
ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา นโยบายการต่างประเทศถูกใช้เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของกลุ่มทุน กลุ่มผลประโยชน์ รวมไปถึงความอยู่รอดของกลุ่มธุรกิจมากกว่า
การคานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติและความอยู่รอดของรัฐเป็นหลัก อานาจทุนครอบงา
โดยกลุ่มธุรกิจแต่กลไกการขับเคลื่อนบริหารประเทศอยู่ที่ระบบราชการ ส่งผลให้ระบบ
โครงสร้างการทางานของระบบราชการมีความอ่อนแอ บุคลากรที่มีศักยภาพและมีความ
เชี่ยวชาญในงานที่อาศัยทักษะความชานาญเฉพาะด้านไม่ได้อยู่ในระบบราชการ แต่ได้
บุคลากรที่ขาดความรู้ความเข้าใจและขีดความสามารถในการทางานมาอยู่ในระบบ ยิ่ง
ไปกว่านั้น คนที่กาหนดกรอบทิศทางของนโยบายการต่างประเทศยังดารงตาแหน่งเป็น
กรรมการบริหารบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นปัญหาในระดับโครงสร้าง ก่อให้เกิด
ผลประโยชน์ทับซ้อนในหมู่ข้าราชการระดับสูง ทาให้นโยบายการต่างประเทศของไทย
กลายเป็นทรัพย์สินของนโยบายภายใน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ มีการถกเถียงกรณี
แรงงานชาวพม่าที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานเพื่อพานักอาศัยในประเทศไทยนั้นสมควรหรือไม่
ฝ่ายรัฐบาลมีท่าทีไม่เห็นด้วยเนื่องจากเป็นภัยต่อความมั่นคงภายใน แต่ภาคธุรกิจ
เอกชนสนับสนุนเพราะแรงงานต่างด้าวเหล่านี้มีส่วนช่วยให้ระบบเศรษฐกิจ
ภายในประเทศหมุนเวียน
1.2 การประสานงานขาดความเป็นเอกภาพ
ปัญหาการประสานงานกันระหว่างกระทรวงการต่างประเทศกับหน่วยงานอื่นๆ
ยังขาดความเป็นเอกภาพและไม่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ลักษณะการทางาน
ยังไม่สามารถดาเนินไปในทิศทางเดียวกันได้เพราะขาดการวางแผนด้านยุทธศาสตร์ใน
ระยะยาว อีกทั้งยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้
และแสดงความคิดเห็นในการเสนอแนวทางขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การต่างประเทศ
ให้สัมฤทธิ์ผลในระยะยาวได้ ส่งผลให้ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยไม่มีจุดยืนใน
ระยะยาวที่มีผลมาจากการวางกรอบยุทธศาสตร์ในระยะยาว
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ปัญหาผู้อพยบชาวโรฮีนจา ท่าทีการตอบสนองต่อ
ปัญหาเป็นการตอบโต้แบบเฉพาะหน้าและมีการวางแผนระยะสั้น อีกทั้งยังคอยตาม
แก้ปัญหาอยู่ตลอดเวลา ปราศจากการวางแผนยุทธศาสตร์ที่พร้อมตอบโต้ในระยะยาว
และแสดงจุดยืนต่อประเด็นปัญหาต่างๆ
1.3 ข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศยังมีทัศนคติในการทางานแบบดั้งเดิม
ปัญหาการทางานแบบดั้งเดิมของข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศที่ไม่มี
การปรับเปลี่ยนทัศนคติให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาระหว่างประเทศใหม่ๆ ยังคง
เป็นอุปสรรคในการกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศในระยะยาว จากอดีต
จนถึง ปัจจุบัน ทัศนคติและแบบแผนการทางานของข้าราชการมักทามาอย่างไรก็
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
ทาไปอย่างนั้น หรือนักวิชาการมักเรียกว่า “Path Dependence” ซึ่งส่งผลกระทบต่อการกาหนดกรอบ
ยุทธศาสตร์ระดับชาติในระยะยาว
2. ปัญหาการต่างประเทศที่เกิดจากปัจจัยภายนอกประเทศ
2.1 การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในโลก
โลกในปัจจุบันกาลังเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กล่าวคือ ปัญหาและความท้าทายต่างๆ
ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ยากที่จะรับมือและหาแนวทางป้องกันในเวลาอันจากัด
ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาภัยธรรมชาติรวมถึงปรากฏการณ์โลกร้อน ตลอดจนปัญหาการก่อ
การร้ายในรูปแบบใหม่ๆหลังเหตุการณ์ 9/11 ที่ถือว่าเป็นอุปสรรคจากภายนอกรัฐ ซึ่ง
ส่งผลกระทบต่อรัฐโดยตรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ทั้งนี้ ภัยคุกคามที่มาจากภายนอกรัฐดังกล่าว ได้พิสูจน์แล้วว่าประเทศไทยยังคง
ขาดพลังอานาจด้านการต่างประเทศอยู่มาก กระทรวงการต่างประเทศยังไม่สามารถตอบ
โต้ต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ปัจจุบันทาได้แค่เพียงคอยตามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้น สาเหตุ
ที่เป็นเช่นนี้เพราะประเทศไทยขาดแผนปฏิบัติการใหม่ๆ (action plans) ที่สามารถรองรับ
ต่อลักษณะของภัยคุกคามใหม่ๆที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันได้
นอกเหนือจากนี้ ยังเป็นที่น่ากังวลเป็นอย่างมาก ว่าในอีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยอาจประสบปัญหาขาดแคลนพลังงานธรรมชาติ จึงควรมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ
พม่าและลาว เพราะประเทศไทยพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าจากสองประเทศนี้เป็นหลัก และอีก
ไม่เกิน 30 ปีข้างหน้า ประเทศในกลุ่มอาเซียนจะไม่มีพลังงานธรรมชาติให้ใช้เพราะไม่มี
การวางแผนนโยบายพลังงานในระยะยาว ดังนั้น ประเทศไทยควรรักษาความสัมพันธ์ที่ดี
กับอิหร่านและรัสเซียเพราะสองประเทศนี้จะเป็นผู้ส่งออกพลังงานธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด
ในโลก
2.2 การผลิตวาทกรรมชวนเชื่อของประเทศมหาอานาจเพื่อครอบงาประเทศที่กาลัง
พัฒนา
ประเทศมหาอานาจในฐานะที่เป็นแหล่งผลิตข้อมูลข่าวสารได้ผลิตวาทกรรมชวน
เชื่อ โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ตนมีเป็นเครื่องมือในการยัดเยียดค่านิยมประเพณีให้กับบาง
ประเทศที่อยู่ในสภาวะระส่าระส่ายทางการเมือง โดยอ้างเหตุผลในนามของมวล
มนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสถาปนาการปกครองในระบอบเสรีประชาธิปไตย การ
เผยแพร่หลักสิทธิมนุษยชน และหลักความรับผิดชอบเพื่อปกป้อง ให้กับนานาประเทศที่
อยู่ภายใต้อาณัติของรัฐมหาอานาจทาการแทรกแซงการเมืองภายในโดยทาสงคราม เป็น
ต้น
2.3 ความท้าทายของยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ในศตวรรษที่ 21
ขณะนี้ จีนได้ผลักดันแนวคิดเรื่อง ยุทธศาสตร์ 1 แถบ 1 เส้นทาง (One Belt
One Road) โดยยุทธศาสตร์ดังกล่าว มีโครงการที่จะใช้ คอคอดกระ เป็นหนึ่งในเส้นทาง
การสัญจรทางทะเลเพื่อเชื่อมจีนตะวันออกสู่มหาสมุทรอินเดีย จากแผนยุทธศาสตร์
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
ดังกล่าว หลายฝ่ายของไทยยังคงมีความกังวลถึงข้อเรียกร้องของจีนว่าอาจจะส่งผล
กระทบต่อความมั่นคงของไทยในระยะยาว
2.4 ปัญหาในระดับภูมิภาค
ปัญหาการจัดการพรมแดนในอาเซียนจะเกิดขึ้นหลังจากประเทศสมาชิกได้เข้าสู่
ประชาคมอาเซียน ปัญหาการลักลอบนาเข้ายาเสพติด และปัญหาการค้ามนุษย์จะยังคงมี
อยู่ต่อไป ปัญหาเหล่านี้นับวันจะทวีความรุนแรงและมีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ ภัย
คุกคามจากภายนอกรัฐในระดับภูมิภาคเป็นอุปสรรคโดยตรงต่อรัฐ โดยเฉพาะโครงการ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนที่มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจภายในประเทศ
ขยายตัวกลับได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว
จากปัญหาที่กล่าวมาได้ชี้ให้เห็นว่า เราควรต้องเพิ่มอานาจการต่อรองด้านการ
ทูตในเวทีระหว่างประเทศมากขึ้น การขาดอานาจการต่อรองทางการทูตในประชาคม
ระหว่างประเทศส่งผลให้การทูตไทยขาดกระบวนทัศน์เชิงรุกในระยะยาวและเป็นการลด
ขีดความสามารถ (underestimate) ในการขับเคลื่อนนโยบายการต่างประเทศไปในตัว
การขาดวิสัยทัศน์ในด้านภูมิยุทธศาสตร์ (strategic environment) โดยเฉพาะการ
แก้ปัญหาด้านความมั่นคงเป็นการแก้ปัญหาในเชิงรับมากกว่าเป็นการตอบโต้ในเชิงรุก
ดังนั้น เราควรโต้ตอบในเชิงรุกด้วยการแสดงจุดยืนของประเทศต่อประชาคมระหว่าง
ประเทศ
3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูป
3.1 ปฏิรูปกรอบแนวคิดการต่างประเทศของไทย
แนวคิดของผู้กาหนดนโยบายการต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ควรมี
การปรับมุมมองต่อสถานการณ์และบริบทการต่างประเทศในลักษณะเชิงรุก (Offensive)
มากกว่าเชิงรับ (Defensive) กล่าวคือ การกาหนดกรอบแนวคิดนโยบายการต่างประเทศ
ของไทยควรผลักดันให้รัฐก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศมหาอานาจขนาดกลาง (Middle
Powers) เสมือนอินโดนีเซีย อินเดีย และบราซิลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจที่เป็นไปได้
เพื่อเป็นการเพิ่มอานาจการต่อรองในประชาคมระหว่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเปิด
โอกาสให้ประเทศไทยได้ประโยชน์จากมหาสมุทรอินเดียที่นับวันจะมีแต่ความสาคัญมาก
ขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในแถบระเบียงมหาสมุทร
อินเดียอันเกิดจากแรงซื้อขายของจีน
จากสถานการณ์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า แนวคิดของข้าราชการกระทรวงการ
ต่างประเทศต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่กาลังแปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
หากข้าราชการยังคิดแบบดั้งเดิมก็จะไม่สามารถตอบโต้ต่อสถานการณ์ดังกล่าวได้ อีกทั้ง
ยังเป็นอุปสรรคต่อการวางกรอบยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว
3.2 รื้อฟื้นความเข้าใจที่ถูกต้อง และเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน
กระทรวงการต่างประเทศควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติภาพโลกให้กับ
ให้กับภาคส่วนต่างๆ ทั้งในภาคประชาชน ตลอดจนภาคธุรกิจให้ได้รับรู้ ปรับตัวและก้าว
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกได้ทัน ทั้งนี้ควรมีการผลักดันให้มีการจัดตั้งมูลนิธิ
สันติภาพนานาชาติ (ประเทศไทย) International Peace Foundation (Thailand)
โดยอันเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นองค์อุปถัมภ์ เนื่องจาก
ประเทศไทยมีนโยบายที่เป็นมิตรกับทุกประเทศและอยู่ในสถานะที่พร้อมที่สุดในการหารือ
เรื่องสันติภาพของโลก อีกทั้งยังเป็นการเผยแพร่ค่านิยม เอกลักษณ์วัฒนธรรมไทยโดยมี
สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ปวงชนชาวไทยให้การเทิดทูนเหนือสิ่งอื่นใดให้เป็นที่ประจักษ์ใน
สายตาชาวโลก
นอกเหนือจากนี้ กระทรวงต่างประเทศยังควรผลักดันและเผยแพร่ยุทธศาสตร์
ต่างๆ รวมถึงแนวนโยบายการต่างประเทศของไทยภายใต้แนวคิดกระแสบูรพาภิวัตน์ สู่
เวทีโลกในระดับนานาชาติ ตลอดจนปรับเปลี่ยนรูปแบบทางการทูตให้เป็นการทูตเชิงรุก
3.3 ปฏิรูปโครงสร้างการบริหารกระทรวงการต่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศควรผลักดันให้มี “พระราชบัญญัติการต่างประเทศ
(Foreign Service Act)” เพราะจะทาให้โครงสร้างการทางานมีความชัดเจนมากขึ้น มี
กระบวนการดาเนินงานในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการที่ชัดเจนและเป็นระบบ
ตอบสนองต่อการทางานของข้าราชการในกระทรวงที่ต้องไปปฏิบัติราชการในประเทศที่มี
สภาวะความเป็นอยู่อย่างลาบาก (Hardship Country) และพร้อมที่จะปรับโครงสร้างของ
กระทรวงฯให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
การมีโครงสร้างในการทางานที่ถูกต้องจะช่วยให้ข้าราชการประเมินการใช้
ทรัพยากรบุคคล จานวนงบประมาณในแต่ละแผนงาน รวมถึงระยะเวลาในการดาเนินงาน
ได้อย่างแม่นยาและตรวจสอบได้ ซึ่งมีส่วนช่วยให้การขับเคลื่อนนโยบายการต่างประเทศ
ประสบความสาเร็จ
3.4 สร้างกลไกสนับสนุนทางวิชาการด้านการต่างประเทศ
การขับเคลื่อนกรอบนโยบายการต่างประเทศให้สัมฤทธิ์ผลในปัจจุบันจาเป็นต้อง
อาศัยสถาบันวิชาการ หรือสถาบันวิจัย ที่ดาเนินการเป็นอิสระจากกระทรวงการ
ต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงานราชการอื่นๆ นอกจากนั้น การผลักดันสถาบันที่ให้การ
สนับสนุนทางด้านวิชาการควรมีงบประมาณที่เป็นอิสระ มีบุคลากรที่พร้อมไปด้วยความรู้
เชิงวิชาการและขีดความสามารถในการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อประเด็นอ่อนไหว
ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในปัจจุบันคือ สถาบัน
วิชาการป้องกันประเทศได้ลงนามความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (China Institute of International Studies) โดยมุ่ง
วิเคราะห์ที่หัวข้อนโยบายการต่างประเทศในระยะกลางและระยะยาว รวมถึงวิเคราะห์
ความเป็นไปของสถานการณ์ระหว่างประเทศที่มีผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงของรัฐ
ในอนาคต
สถาบันวิจัยยังสามารถทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดสัมมนาทั้งในเชิงวิชาการและปฏิบัติการ เพื่อจะได้มีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างนักวิชาการกับผู้ปฏิบัติให้เกิดการบูรณาการขององค์ความรู้ใน
ด้านการต่างประเทศ รวมถึงการสร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน กับหน่วยงานวิชาการอื่นๆ
เพื่อสร้างรากฐานองค์ความรู้ในด้านการต่างประเทศอย่างแท้จริง
4. สรุป
เศรษฐกิจไทยในอนาคตจะเป็นเศรษฐกิจที่ผนวกเข้ากับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีจีนกับอินเดีย
ที่นับวันจะมีแรงกระเพื่อมทางเศรษฐกิจมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่ประเทศไทยควรทาคือรักษาความเข้มแข็งทาง
วัฒนธรรม ถ้าเราอ่อนแอในด้านวัฒนธรรม เราจะได้ประโยชน์จากด้านเศรษฐกิจเท่านั้น ส่วนความเป็นตัวตนเรา
จะสูญเสียไป
ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยจะใช้โอกาสบูรพาภิวัตน์เป็นตัวต่อรองค่านิยมของความเป็นเอเชีย ซึ่งมี
อิทธิพลมากพอที่จะมาทัดทานอานาจตะวันตก กระทรวงการต่างประเทศในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การต่างประเทศไทยควรเริ่มดาเนินการปฏิรูปแบบองค์รวมและต้องดาเนินการแบบ
เบ็ดเสร็จเด็ดขาด เพื่อปรับโครงสร้างขององค์กรให้มีความสอดคล้องกับโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ต่อไป
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์
บันทึกเทปการประชุม: นายฮากีม ผูหาดา นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร นางสาว
ณัฐธิดา เย็นบารุง
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.เกียรติคุณ นพ. ประเวศ วะสี
ท่านสุรพงษ์ ชัยนาม ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ พลเอกจรัล กุลละวณิชย์
พลโทเจิดวุธ คราประยูร ดร.ดามพ์สุคนธทรัพย์ น.อ.ภูมิใจ เลขสุนทรากร
รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ รศ.ดร.จุลชีพ ชินวรรโณ ดร.อนุสนธิ ชินวรรโณ
ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ ดร.กษิร ชีพเป็นสุข

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPhichit Kophon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 

What's hot (12)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่
วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่
วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่Klangpanya
 
นาฬิกาชีวิต
นาฬิกาชีวิตนาฬิกาชีวิต
นาฬิกาชีวิตKlangpanya
 
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตKlangpanya
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e newsshm-nstda
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรSarawuth Noliam
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societypantapong
 
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...somporn Isvilanonda
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...Utai Sukviwatsirikul
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาสTeeranan
 

Similar to การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (20)

วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่
วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่
วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่
 
นาฬิกาชีวิต
นาฬิกาชีวิตนาฬิกาชีวิต
นาฬิกาชีวิต
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชร
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
 
V 278
V 278V 278
V 278
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  • 1. 1 ฉบับที่ 8 / 2558 POLICYPOLICY BRIEFBRIEF วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 7 เรื่อง “การปฏิรูปนโยบายการต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัตน์” จัดโดยโครงการคลัง ปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 25 พ.ค. 2558 เวลา 13:00 – 17:00 น. ณ ห้องประชุมจามจุรี บอลรูม A โรงแรมปทุมวันปริ้นเซส กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญา สาธารณะ (สปส.) โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทนา หลังสิ้นสุดสงครามเย็น โลกได้เปลี่ยนแปลงจากระบบหลายขั้วอานาจ (Multipolar World Order) มาสู่ ระบบขั้วอานาจเดียว (Unipolar World Order) คือ มีสหรัฐฯเป็นเพียงประเทศเดียวในโลกที่ครอง อานาจทั้งทางการเมืองและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมถึงอานาจการซื้อขายทางเศรษฐกิจที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดในโลก ในช่วงเวลาดังกล่าว นโยบายการต่างประเทศของไทยมีความใกล้ชิดกับสหรัฐฯ จึงทาให้ รัฐบาลไทยหันมาให้ความสาคัญกับการจัดตั้ง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) โดยมีบทบาทในการคลี่คลายสถานการณ์ความขัดแย้งในภาคพื้นทวีปอินโด จีน ไม่ว่าจะเป็นการกดดันให้กองทัพเวียดนามเหนือถอนทหารและหยุดการรุกรานอธิปไตยประเทศกัมพูชา ในปี ค.ศ. 1979 รวมไปถึงการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศด้วยการเจรจา ทางการทูต ตลอดจนธารงไว้ซึ่งเอกราชและอานาจอธิปไตยของประเทศในภูมิภาคเป็นสาคัญ ปัจจุบันจะพบว่าการผงาดขึ้นมาของจีนในด้านอานาจทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มจะแซงหน้าสหรัฐฯใน อีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า นอกจากนั้นปัญหาเศรษฐกิจในยุโรปที่บั่นทอนศักยภาพในการซื้อขายได้ลุกลาม ไปทั่วทวีป รวมไปถึงการแข่งขันระหว่างจีนกับสหรัฐฯในภาคพื้นทวีปเอเชียแปซิฟิก ซึ่งชี้ให้เห็นว่า โลกใน ปัจจุบันกาลังเข้าสู่ในยุคบูรพาภิวัตน์ และกาลังเกิดขึ้นจริง นั่นหมายถึง ประเทศไทยจะปรับตัวภายใต้ กระแสบูรพาภิวัตน์อย่างไร การปฏิรูปกรอบแนวคิดการต่างประเทศจะสามารถสอดรับต่อกระแส บูรพาภิวัตน์ได้หรือไม่ รวมถึงโครงสร้างในการบริหารราชการของกระทรวงการต่างประเทศจะต้อง ปรับเปลี่ยนอย่างไร ในเวทีการประชุมระดมสมองที่จัดโดยสถาบันคลังปัญญาฯได้วิเคราะห์ปัญหาการ ต่างประเทศของไทยที่กาลังเผชิญอยู่ ดังต่อไปนี้ การปฏิรูปการปฏิรูปการปฏิรูปนโยบายนโยบายนโยบายการต่างประเทศของไทยในการต่างประเทศของไทยในการต่างประเทศของไทยใน ยุคบูรพาภิวัตน์ยุคบูรพาภิวัตน์ยุคบูรพาภิวัตน์::: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายข้อเสนอแนะเชิงนโยบายข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ท่านทูตสุรพงษ์ ชัยนาม ท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์ ดร. ดามพ์ สุคนธทรัพย์ ศาสตราจารย์เกรียติคุณ นพ.ประเวศ วะสี พลเอกจรัล กุลละวณิช
  • 2. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 1. ปัญหาการต่างประเทศที่เกิดจากปัจจัยภายในประเทศ 1.1 กลุ่มธุรกิจการเมืองครอบงานโยบายการต่างประเทศของไทย ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา นโยบายการต่างประเทศถูกใช้เพื่อตอบสนองความ ต้องการของกลุ่มทุน กลุ่มผลประโยชน์ รวมไปถึงความอยู่รอดของกลุ่มธุรกิจมากกว่า การคานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติและความอยู่รอดของรัฐเป็นหลัก อานาจทุนครอบงา โดยกลุ่มธุรกิจแต่กลไกการขับเคลื่อนบริหารประเทศอยู่ที่ระบบราชการ ส่งผลให้ระบบ โครงสร้างการทางานของระบบราชการมีความอ่อนแอ บุคลากรที่มีศักยภาพและมีความ เชี่ยวชาญในงานที่อาศัยทักษะความชานาญเฉพาะด้านไม่ได้อยู่ในระบบราชการ แต่ได้ บุคลากรที่ขาดความรู้ความเข้าใจและขีดความสามารถในการทางานมาอยู่ในระบบ ยิ่ง ไปกว่านั้น คนที่กาหนดกรอบทิศทางของนโยบายการต่างประเทศยังดารงตาแหน่งเป็น กรรมการบริหารบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นปัญหาในระดับโครงสร้าง ก่อให้เกิด ผลประโยชน์ทับซ้อนในหมู่ข้าราชการระดับสูง ทาให้นโยบายการต่างประเทศของไทย กลายเป็นทรัพย์สินของนโยบายภายใน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ มีการถกเถียงกรณี แรงงานชาวพม่าที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานเพื่อพานักอาศัยในประเทศไทยนั้นสมควรหรือไม่ ฝ่ายรัฐบาลมีท่าทีไม่เห็นด้วยเนื่องจากเป็นภัยต่อความมั่นคงภายใน แต่ภาคธุรกิจ เอกชนสนับสนุนเพราะแรงงานต่างด้าวเหล่านี้มีส่วนช่วยให้ระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศหมุนเวียน 1.2 การประสานงานขาดความเป็นเอกภาพ ปัญหาการประสานงานกันระหว่างกระทรวงการต่างประเทศกับหน่วยงานอื่นๆ ยังขาดความเป็นเอกภาพและไม่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ลักษณะการทางาน ยังไม่สามารถดาเนินไปในทิศทางเดียวกันได้เพราะขาดการวางแผนด้านยุทธศาสตร์ใน ระยะยาว อีกทั้งยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ และแสดงความคิดเห็นในการเสนอแนวทางขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ให้สัมฤทธิ์ผลในระยะยาวได้ ส่งผลให้ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยไม่มีจุดยืนใน ระยะยาวที่มีผลมาจากการวางกรอบยุทธศาสตร์ในระยะยาว ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ปัญหาผู้อพยบชาวโรฮีนจา ท่าทีการตอบสนองต่อ ปัญหาเป็นการตอบโต้แบบเฉพาะหน้าและมีการวางแผนระยะสั้น อีกทั้งยังคอยตาม แก้ปัญหาอยู่ตลอดเวลา ปราศจากการวางแผนยุทธศาสตร์ที่พร้อมตอบโต้ในระยะยาว และแสดงจุดยืนต่อประเด็นปัญหาต่างๆ 1.3 ข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศยังมีทัศนคติในการทางานแบบดั้งเดิม ปัญหาการทางานแบบดั้งเดิมของข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศที่ไม่มี การปรับเปลี่ยนทัศนคติให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาระหว่างประเทศใหม่ๆ ยังคง เป็นอุปสรรคในการกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศในระยะยาว จากอดีต จนถึง ปัจจุบัน ทัศนคติและแบบแผนการทางานของข้าราชการมักทามาอย่างไรก็
  • 3. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 ทาไปอย่างนั้น หรือนักวิชาการมักเรียกว่า “Path Dependence” ซึ่งส่งผลกระทบต่อการกาหนดกรอบ ยุทธศาสตร์ระดับชาติในระยะยาว 2. ปัญหาการต่างประเทศที่เกิดจากปัจจัยภายนอกประเทศ 2.1 การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในโลก โลกในปัจจุบันกาลังเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กล่าวคือ ปัญหาและความท้าทายต่างๆ ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ยากที่จะรับมือและหาแนวทางป้องกันในเวลาอันจากัด ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาภัยธรรมชาติรวมถึงปรากฏการณ์โลกร้อน ตลอดจนปัญหาการก่อ การร้ายในรูปแบบใหม่ๆหลังเหตุการณ์ 9/11 ที่ถือว่าเป็นอุปสรรคจากภายนอกรัฐ ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อรัฐโดยตรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้ ภัยคุกคามที่มาจากภายนอกรัฐดังกล่าว ได้พิสูจน์แล้วว่าประเทศไทยยังคง ขาดพลังอานาจด้านการต่างประเทศอยู่มาก กระทรวงการต่างประเทศยังไม่สามารถตอบ โต้ต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ปัจจุบันทาได้แค่เพียงคอยตามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้น สาเหตุ ที่เป็นเช่นนี้เพราะประเทศไทยขาดแผนปฏิบัติการใหม่ๆ (action plans) ที่สามารถรองรับ ต่อลักษณะของภัยคุกคามใหม่ๆที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันได้ นอกเหนือจากนี้ ยังเป็นที่น่ากังวลเป็นอย่างมาก ว่าในอีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า ประเทศไทยอาจประสบปัญหาขาดแคลนพลังงานธรรมชาติ จึงควรมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ พม่าและลาว เพราะประเทศไทยพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าจากสองประเทศนี้เป็นหลัก และอีก ไม่เกิน 30 ปีข้างหน้า ประเทศในกลุ่มอาเซียนจะไม่มีพลังงานธรรมชาติให้ใช้เพราะไม่มี การวางแผนนโยบายพลังงานในระยะยาว ดังนั้น ประเทศไทยควรรักษาความสัมพันธ์ที่ดี กับอิหร่านและรัสเซียเพราะสองประเทศนี้จะเป็นผู้ส่งออกพลังงานธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด ในโลก 2.2 การผลิตวาทกรรมชวนเชื่อของประเทศมหาอานาจเพื่อครอบงาประเทศที่กาลัง พัฒนา ประเทศมหาอานาจในฐานะที่เป็นแหล่งผลิตข้อมูลข่าวสารได้ผลิตวาทกรรมชวน เชื่อ โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ตนมีเป็นเครื่องมือในการยัดเยียดค่านิยมประเพณีให้กับบาง ประเทศที่อยู่ในสภาวะระส่าระส่ายทางการเมือง โดยอ้างเหตุผลในนามของมวล มนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสถาปนาการปกครองในระบอบเสรีประชาธิปไตย การ เผยแพร่หลักสิทธิมนุษยชน และหลักความรับผิดชอบเพื่อปกป้อง ให้กับนานาประเทศที่ อยู่ภายใต้อาณัติของรัฐมหาอานาจทาการแทรกแซงการเมืองภายในโดยทาสงคราม เป็น ต้น 2.3 ความท้าทายของยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ในศตวรรษที่ 21 ขณะนี้ จีนได้ผลักดันแนวคิดเรื่อง ยุทธศาสตร์ 1 แถบ 1 เส้นทาง (One Belt One Road) โดยยุทธศาสตร์ดังกล่าว มีโครงการที่จะใช้ คอคอดกระ เป็นหนึ่งในเส้นทาง การสัญจรทางทะเลเพื่อเชื่อมจีนตะวันออกสู่มหาสมุทรอินเดีย จากแผนยุทธศาสตร์
  • 4. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4 ดังกล่าว หลายฝ่ายของไทยยังคงมีความกังวลถึงข้อเรียกร้องของจีนว่าอาจจะส่งผล กระทบต่อความมั่นคงของไทยในระยะยาว 2.4 ปัญหาในระดับภูมิภาค ปัญหาการจัดการพรมแดนในอาเซียนจะเกิดขึ้นหลังจากประเทศสมาชิกได้เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ปัญหาการลักลอบนาเข้ายาเสพติด และปัญหาการค้ามนุษย์จะยังคงมี อยู่ต่อไป ปัญหาเหล่านี้นับวันจะทวีความรุนแรงและมีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ ภัย คุกคามจากภายนอกรัฐในระดับภูมิภาคเป็นอุปสรรคโดยตรงต่อรัฐ โดยเฉพาะโครงการ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนที่มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจภายในประเทศ ขยายตัวกลับได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จากปัญหาที่กล่าวมาได้ชี้ให้เห็นว่า เราควรต้องเพิ่มอานาจการต่อรองด้านการ ทูตในเวทีระหว่างประเทศมากขึ้น การขาดอานาจการต่อรองทางการทูตในประชาคม ระหว่างประเทศส่งผลให้การทูตไทยขาดกระบวนทัศน์เชิงรุกในระยะยาวและเป็นการลด ขีดความสามารถ (underestimate) ในการขับเคลื่อนนโยบายการต่างประเทศไปในตัว การขาดวิสัยทัศน์ในด้านภูมิยุทธศาสตร์ (strategic environment) โดยเฉพาะการ แก้ปัญหาด้านความมั่นคงเป็นการแก้ปัญหาในเชิงรับมากกว่าเป็นการตอบโต้ในเชิงรุก ดังนั้น เราควรโต้ตอบในเชิงรุกด้วยการแสดงจุดยืนของประเทศต่อประชาคมระหว่าง ประเทศ 3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูป 3.1 ปฏิรูปกรอบแนวคิดการต่างประเทศของไทย แนวคิดของผู้กาหนดนโยบายการต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ควรมี การปรับมุมมองต่อสถานการณ์และบริบทการต่างประเทศในลักษณะเชิงรุก (Offensive) มากกว่าเชิงรับ (Defensive) กล่าวคือ การกาหนดกรอบแนวคิดนโยบายการต่างประเทศ ของไทยควรผลักดันให้รัฐก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศมหาอานาจขนาดกลาง (Middle Powers) เสมือนอินโดนีเซีย อินเดีย และบราซิลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจที่เป็นไปได้ เพื่อเป็นการเพิ่มอานาจการต่อรองในประชาคมระหว่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเปิด โอกาสให้ประเทศไทยได้ประโยชน์จากมหาสมุทรอินเดียที่นับวันจะมีแต่ความสาคัญมาก ขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในแถบระเบียงมหาสมุทร อินเดียอันเกิดจากแรงซื้อขายของจีน จากสถานการณ์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า แนวคิดของข้าราชการกระทรวงการ ต่างประเทศต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่กาลังแปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว หากข้าราชการยังคิดแบบดั้งเดิมก็จะไม่สามารถตอบโต้ต่อสถานการณ์ดังกล่าวได้ อีกทั้ง ยังเป็นอุปสรรคต่อการวางกรอบยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว 3.2 รื้อฟื้นความเข้าใจที่ถูกต้อง และเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน กระทรวงการต่างประเทศควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติภาพโลกให้กับ ให้กับภาคส่วนต่างๆ ทั้งในภาคประชาชน ตลอดจนภาคธุรกิจให้ได้รับรู้ ปรับตัวและก้าว
  • 5. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 ตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกได้ทัน ทั้งนี้ควรมีการผลักดันให้มีการจัดตั้งมูลนิธิ สันติภาพนานาชาติ (ประเทศไทย) International Peace Foundation (Thailand) โดยอันเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นองค์อุปถัมภ์ เนื่องจาก ประเทศไทยมีนโยบายที่เป็นมิตรกับทุกประเทศและอยู่ในสถานะที่พร้อมที่สุดในการหารือ เรื่องสันติภาพของโลก อีกทั้งยังเป็นการเผยแพร่ค่านิยม เอกลักษณ์วัฒนธรรมไทยโดยมี สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ปวงชนชาวไทยให้การเทิดทูนเหนือสิ่งอื่นใดให้เป็นที่ประจักษ์ใน สายตาชาวโลก นอกเหนือจากนี้ กระทรวงต่างประเทศยังควรผลักดันและเผยแพร่ยุทธศาสตร์ ต่างๆ รวมถึงแนวนโยบายการต่างประเทศของไทยภายใต้แนวคิดกระแสบูรพาภิวัตน์ สู่ เวทีโลกในระดับนานาชาติ ตลอดจนปรับเปลี่ยนรูปแบบทางการทูตให้เป็นการทูตเชิงรุก 3.3 ปฏิรูปโครงสร้างการบริหารกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศควรผลักดันให้มี “พระราชบัญญัติการต่างประเทศ (Foreign Service Act)” เพราะจะทาให้โครงสร้างการทางานมีความชัดเจนมากขึ้น มี กระบวนการดาเนินงานในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการที่ชัดเจนและเป็นระบบ ตอบสนองต่อการทางานของข้าราชการในกระทรวงที่ต้องไปปฏิบัติราชการในประเทศที่มี สภาวะความเป็นอยู่อย่างลาบาก (Hardship Country) และพร้อมที่จะปรับโครงสร้างของ กระทรวงฯให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย การมีโครงสร้างในการทางานที่ถูกต้องจะช่วยให้ข้าราชการประเมินการใช้ ทรัพยากรบุคคล จานวนงบประมาณในแต่ละแผนงาน รวมถึงระยะเวลาในการดาเนินงาน ได้อย่างแม่นยาและตรวจสอบได้ ซึ่งมีส่วนช่วยให้การขับเคลื่อนนโยบายการต่างประเทศ ประสบความสาเร็จ 3.4 สร้างกลไกสนับสนุนทางวิชาการด้านการต่างประเทศ การขับเคลื่อนกรอบนโยบายการต่างประเทศให้สัมฤทธิ์ผลในปัจจุบันจาเป็นต้อง อาศัยสถาบันวิชาการ หรือสถาบันวิจัย ที่ดาเนินการเป็นอิสระจากกระทรวงการ ต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงานราชการอื่นๆ นอกจากนั้น การผลักดันสถาบันที่ให้การ สนับสนุนทางด้านวิชาการควรมีงบประมาณที่เป็นอิสระ มีบุคลากรที่พร้อมไปด้วยความรู้ เชิงวิชาการและขีดความสามารถในการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อประเด็นอ่อนไหว ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในปัจจุบันคือ สถาบัน วิชาการป้องกันประเทศได้ลงนามความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (China Institute of International Studies) โดยมุ่ง วิเคราะห์ที่หัวข้อนโยบายการต่างประเทศในระยะกลางและระยะยาว รวมถึงวิเคราะห์ ความเป็นไปของสถานการณ์ระหว่างประเทศที่มีผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงของรัฐ ในอนาคต
  • 6. สถาบันวิจัยยังสามารถทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดสัมมนาทั้งในเชิงวิชาการและปฏิบัติการ เพื่อจะได้มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างนักวิชาการกับผู้ปฏิบัติให้เกิดการบูรณาการขององค์ความรู้ใน ด้านการต่างประเทศ รวมถึงการสร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน กับหน่วยงานวิชาการอื่นๆ เพื่อสร้างรากฐานองค์ความรู้ในด้านการต่างประเทศอย่างแท้จริง 4. สรุป เศรษฐกิจไทยในอนาคตจะเป็นเศรษฐกิจที่ผนวกเข้ากับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีจีนกับอินเดีย ที่นับวันจะมีแรงกระเพื่อมทางเศรษฐกิจมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่ประเทศไทยควรทาคือรักษาความเข้มแข็งทาง วัฒนธรรม ถ้าเราอ่อนแอในด้านวัฒนธรรม เราจะได้ประโยชน์จากด้านเศรษฐกิจเท่านั้น ส่วนความเป็นตัวตนเรา จะสูญเสียไป ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยจะใช้โอกาสบูรพาภิวัตน์เป็นตัวต่อรองค่านิยมของความเป็นเอเชีย ซึ่งมี อิทธิพลมากพอที่จะมาทัดทานอานาจตะวันตก กระทรวงการต่างประเทศในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การต่างประเทศไทยควรเริ่มดาเนินการปฏิรูปแบบองค์รวมและต้องดาเนินการแบบ เบ็ดเสร็จเด็ดขาด เพื่อปรับโครงสร้างขององค์กรให้มีความสอดคล้องกับโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ต่อไป โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
  • 7. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์ บันทึกเทปการประชุม: นายฮากีม ผูหาดา นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร นางสาว ณัฐธิดา เย็นบารุง ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.เกียรติคุณ นพ. ประเวศ วะสี ท่านสุรพงษ์ ชัยนาม ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ พลเอกจรัล กุลละวณิชย์ พลโทเจิดวุธ คราประยูร ดร.ดามพ์สุคนธทรัพย์ น.อ.ภูมิใจ เลขสุนทรากร รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ รศ.ดร.จุลชีพ ชินวรรโณ ดร.อนุสนธิ ชินวรรโณ ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ ดร.กษิร ชีพเป็นสุข