SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Descargar para leer sin conexión
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
BROOKINGS จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
ปีที่ 2 ฉบับที่ 6
กรกฎาคม 2559
BRUEGEL  สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด?
CARNEGIE  ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง
BROOKINGS  พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป
สถาบันคลังปัญญาฯ  ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย:
กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีเดือนกรกฎาคมค่ะท่านผู้อ่าน และแล้วเวลาที่ผ่านไปก็ได้นาพาเราก้าวสู่ครึ่งหลังของ
ปี 2016 เป็นที่เรียบร้อย สาหรับหนึ่งเดือนที่ผ่านมานั้นได้เกิดสถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ขึ้นมากมาย แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่ทั่วโลกต่างจับตามองคงไม่พ้นสถานการณ์ Brexit ของ
อังกฤษที่ผลการลงประชามติของประชาชนนาไปสู่การก้าวพ้นออกจากสหภาพยุโรปอย่างเป็น
ทางการ ในเดือนนี้ World Think Tank Monitors จึงขอเกาะติดสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
ผลกระทบและท่าทีของฝ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลัง Brexit นอกจากนี้ยังยินดีจะนาเสนอประเด็นของ
ภูมิภาคต่างๆ ที่น่าสนใจอีกหลากหลาย อาทิ หลักการทูตแบบ Harmony ของจีนในศตวรรษที่ 21
การลงทุนของจีนในยุโรป รวมถึงความร่วมมือของกลุ่มประเทศอ่าวเพื่อเตรียมรับมือกับการถอยทัพ
ของสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง
ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้จัดการประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง ทางออก
และอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee โดยในการนี้ได้รับเกียรติ
จากคุณสุพจน์ กรณ์ประสิทธิวัฒน์ ผู้ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนกาแฟชื่อดังจากจังหวัดระนองมาถ่ายทอด
ประสบการณ์และแนวทางการพัฒนาธุรกิจและเกษตรกรรมด้วยวิธีแปลกใหม่ซึ่งช่วยยกระดับ
คุณภาพของสินค้าตลอดจนรายได้ของเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิผล ส่วนการประชุมอีกเวทีที่
น่าสนใจไม่แพ้กัน คือเรื่องยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ โดย
แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ ที่ชี้ให้เห็นถึงข้อเสียและผลกระทบของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง
ไม่ถูกต้อง สุดท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับการอ่านนะคะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
BRUEGEL สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด? 1
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป 3
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
China Institute of International Studies หลักการทูตของจีนในศตวรรษที่ 21 6
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
Carnegie Endowment for International Peace ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” 9
รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee 13
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ 14
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
Bruegel
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด?
จากกรณีของ Brexit ว่าด้วยเรื่องการลงประชามติในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน
ที่ผ่านมา ซึ่งผลปรากฏว่าประชาชนส่วนใหญ่เลือกลงคะแนนเสียงออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพ
ยุโรปนั้น นับเป็นเหตุการณ์สาคัญที่หลายฝ่ายคาดการณ์ว่าอาจเป็นจุดเปลี่ยนสู่การถดถอยของ
สหภาพยุโรป แต่อย่างไรก็ตาม การออกจากสหภาพยุโรปซึ่งอังกฤษเป็นสมาชิกมานานหลายสิบปี
เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยเวลาในการดาเนินการ ฉะนั้น ในทางปฏิบัติแล้วการสิ้นสุดสมาชิกภาพนี้จึงมี
ลักษณะค่อยเป็นค่อยไปมากกว่าที่จะเกิดขึ้นแบบทันที
Nicolas Véron ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและการลงทุนต่างประเทศของสถาบัน Bruegel ได้
วิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นภายหลังการลงประชามติออกจากสหภาพยุโรปของสหราช
อาณาจักร โดยมองว่าการเปลี่ยนแปลงอันดับแรกที่จะเกิดขึ้นคือ นับจากนี้ไปการจัดอภิปรายระหว่าง
รัฐบาลของสหภาพยุโรปจะดาเนินต่อไปโดยไม่มีผู้แทนจากรัฐบาลสหราชอาณาจักรอีก แม้ว่าจะยังคง
รักษาสมาชิกภาพไว้ในลักษณะคู่ขนานตามธรรมเนียมก็ตาม ทว่าความยุ่งยากก็เกิดขึ้นเนื่องจากสอง
Photo by: http://www.aljazeera.com/programmes/headtohead/2016/04/norman-lamont-brexit-au-revoir-europe-160427074
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผลการลงประชามติในสกอตแลนด์ที่ฝั่ง Remain มีคะแนนนาโด่ง อีกทั้งนายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์
ยังระบุว่าการออกจากสหภาพยุโรปนั้นขัดกับเจตจานงของสกอตแลนด์อย่างสิ้นเชิงและยืนยันที่จะอยู่
เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรปต่อไป อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาตามหลักการลงประชามติอย่าง
เคร่งครัด มติจากประชาชนย่อมถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุด แม้รัฐสภาของสหราชอาณาจักรจะเป็น
หน่วยงานที่มีอานาจปกครองสูงสุดแต่ก็ไม่มีอานาจที่จะเปลี่ยนแปลงคาตัดสินของประชาชนเสียงข้าง
มากตามกระบวนการประชาธิปไตยได้
สาหรับการดาเนินการต่อไปของสหภาพยุโรปภายหลังการลงประชามติในครั้งนี้ได้ถูก
บัญญัติไว้อย่างชัดเจนใน “Article 50” ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์อย่างเป็นทางการว่าด้วยการออกจาก
การเป็นสมาชิกที่ระบุไว้ในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (the Treaty on the European Union:
TUE) โดยในลาดับแรกกาหนดให้รัฐสมาชิกที่ตัดสินใจจะถอนตัวออกแจ้งความจานงต่อคณะมนตรี
ยุโรป (European Council) หลังจากนั้นรัฐสมาชิกทั้งหมดจะต้องหารือกันเพื่อสร้างข้อตกลงในการ
แยกตัวให้แล้วเสร็จภายในสองปี ซึ่งเมื่อครบกาหนดเวลา หากยังหาข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกันไม่ได้
และไม่มีฝ่ายใดขอขยายเวลาในการเจรจาต่อรองให้ถือว่าคาขอถอนตัวดังกล่าวถูกยกเลิกโดยปริยาย
และด้วยเหตุที่รัฐต่างๆ ในสหราชอาณาจักรมีความต้องการที่ไม่ตรงกันนี่เอง อาจทาให้ทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องจะต้องทางานอย่างหนักเพื่อหาข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกัน
ด้านความเคลื่อนไหวของรัฐบาลอังกฤษจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น นายกรัฐมนตรี David
Cameron ซึ่งสนับสนุนให้อังกฤษอยู่กับสหภาพยุโรปมาตลอดไปประกาศลาออกจากตาแหน่ง
พร้อมทั้งระบุว่า นายกรัฐมนตรีคนใหม่ตัวแทนจากพรรคอนุรักษ์นิยมซึ่งจะเข้ารับตาแหน่งในเดือน
ตุลาคมจะเริ่มต้นกระบวนการเจรจากับสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการภายใต้เงื่อนไขของ Article 50
เพื่อให้การถอนตัวเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนดต่อไป ขณะที่ด้านสหภาพ
ยุโรปเองได้แถลงการณ์แสดงความพร้อมที่จะเปิ ดการเจรจาโดยเร็วที่สุดกับสหราช
อาณาจักรเกี่ยวกับข้อกาหนดและเงื่อนไขของถอนตัว ทั้งนี้ สาเหตุที่ผู้นาสหภาพยุโรปเร่งให้การ
ดาเนินการทั้งหมดเกิดขึ้นโดยเร็ว ชัดเจน และโปร่งใสเพราะต้องการลดแรงกดดันและความกังวล
ของรัฐสมาชิกที่มองว่าประเด็นการถอนตัวของ สหราชอาณาจักรยังมีความไม่ชัดเจนและอาจจะ
ส่งผลให้สหภาพยุโรปต้องสั่นคลอน ผู้นาสหภาพยุโรปจึงพยายามจะผลักดันให้กรณีของสหราช
อาณาจักรเป็นแบบอย่างที่แสดงว่าสหภาพยุโรปยังคงมีความมั่นคงและพร้อมที่จะอยู่ต่อได้แม้ไม่มีส
หราชอาณาจักร ซึ่งหลายฝ่ายมองว่า ท่าทีดังกล่าวของสหภาพยุโรปนั้นเป็นการสื่อสารอย่างมี
นัยสาคัญต่อสหราชอาณาจักรว่า “ยินดีที่จะไม่ลงโทษ แต่ไม่พร้อมที่จะให้อภัย”
เอกสารอ้างอิง
Nicolas Véron. The UK / EU separation: how fast does it happen? Bruegel. ออนไลน์:
http://bruegel.org/2016/06/the-uk-eu-separation-how-fast-does-it-happen/
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป (China abroad : The long march to Europe)
Photo By: https://libraryeuroparl.files.wordpress.com/2015/07/fotolia_84715924_subscription_xxl.jpg?w=350&h=200&crop=1
เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่งานวิจัยเรื่อง China abroad :
The long march to Europe ซึ่งพูดถึงการเข้าไปลงทุนของจีนในยุโรปว่า หลายปีที่ผ่านมา จีน
เป็นเป้าหมายการลงทุนของบริษัทข้ามชาติต่างๆ แต่ปัจจุบัน จีนกลายเป็นผู้ที่ออกไปลงทุนภายนอก
ประเทศเสียมากกว่า โดยเฉพาะการเข้าไปลงทุนในยุโรปซึ่งมีความโดดเด่นมาก เหตุผลที่นักลงทุน
จีนนิยมเข้าไปลงทุนในยุโรปมากกว่าสหรัฐอเมริกามี 2 ข้อ ดังนี้
1. ในยุโรป จีนได้รับอิสระมากกว่า ในขณะที่สหรัฐอเมริกาจะกีดกันจีนด้วยเหตุผลทาง
การเมืองและความมั่นคง โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจของจีน
2. ยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจปี 2008 ทาให้กลายเป็นผู้หิวกระหาย
เงินลงทุนจากจีน ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐานและการอุ้มบริษัทที่ล้มละลาย
เมื่อพิจารณาจากการลงทุนของจีนในยุโรปช่วงทศวรรษที่ผ่านมา พบว่าจีนใช้ยุทธศาสตร์หลัก
5 ข้อในการเข้าไปลงทุน
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ยุทธศาสตร์ 5 ประการของจีนในการลงทุนในยุโรป
1. ยกระดับสินค้า
บริษัทจีนพยายามยกระดับสินค้าที่ผลิต เมื่อก่อนบริษัทจีนผลิตสินค้าเลียนแบบที่มีราคาถูก
เพื่อขายตลาดในประเทศ หลังจากนั้น ค่อยๆ ยกระดับสินค้าให้เป็นสินค้าขั้นสูง (sophisticated
product) และสินค้านวัตกรรม รวมถึงการบริการ และเริ่มส่งออกมากขึ้น
2. ขยายตลาด
จีนพยายามขยายตลาด จากที่เคยขายเฉพาะตลาดในประเทศ ก็ไปตีตลาดนอกประเทศมาก
ขึ้น นอกจากขยายไปตลาดนอกประเทศ ยังเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ เช่น Huawei ที่มี
สินค้าตั้งแต่ Tablet ถึง สมาร์ทโฟนและตีตลาดในยุโรปด้วย
3. การแสวงหาเทคโนโลยี
แสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งจะช่วยทาให้บริษัทของจีนมีอานาจทั้งในประเทศตนเองและช่วย
สร้างโอกาสในต่างประเทศ โดยบริษัทจีนจะแสวงหาเทคโนโลยีโดยการเข้าไปศึกษาแบบครูพักลักจา
4. อุตสาหกรรมบริการแบบตะวันออก
อีกยุทธศาสตร์หนึ่งที่จีนใช้คืออุตสาหกรรมการบริการแบบจีนหรือบางคนเรียกว่า Orientalist
รวมถึงการเข้าซื้อกิจการโรงแรมระดับหรูและแบรนด์บริการในยุโรป เพื่อนามาปรับให้เข้ากับกลุ่ม
ลูกค้าเอเชียที่กาลังเติบโตขึ้น โดยเฉพาะลูกค้าชาวจีน
5. รัฐวิสาหกิจ : ผู้นาในตลาดโลก
โมเดลนี้ รัฐวิสาหกิจของจีนจะได้รับการสนับสนุนทางการเงินและการเมืองจากรัฐบาลในการ
เข้าซื้อกิจการต่างๆ เพื่อหวังว่าจะช่วยนารัฐวิสาหกิจเหล่านั้นก้าวขึ้นไปเป็นผู้นาในตลาดโลก
ความท้าทายต่อยุโรปจากคลื่นการลงทุนของจีน
คลื่นการลงทุนจากจีนสร้างความท้าทายหลายอย่างต่อบริษัทและผู้กาหนดนโยบายของยุโรป
สาหรับบริษัท การเข้ามาลงทุนในยุโรปของผู้ลงทุนจีนที่กระหายและมีสถานะการเงินที่ดี
ส่งผลให้บริษัทข้ามชาติต่างๆ ต้องพยายามควบรวมกิจการเพื่อที่จะดารงการครอบครองตลาดของ
ตนไว้
ในด้านผู้กาหนดนโยบาย มีความท้าทายสองประเด็น ประเด็นแรกคือความไม่เท่าเทียมใน
อิสระการลงทุน กล่าวคือบริษัทจีนค่อนข้างจะมีอิสระในการเข้าซื้อบริษัทต่างๆ ในยุโรปโดยไร้
ข้อจากัด ในขณะที่บริษัทต่างชาติอื่น จะมีข้อจากัดในการลงทุนหรือถือหุ้นใหญ่ในบริษัทของจีน
ประเด็นที่สอง คือ สองสามปีที่ผ่านมา อานาจทางการเมืองของจีนในยุโรปนั้นเพิ่มขึ้นด้วยการ
ใช้กลยุทธ์แบ่งแยกแล้วปกครอง (divide and rule) คือ มีความสัมพันธ์กับ EU ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะ
น้อยได้ และมีความสัมพันธ์แบบทวิภาคีกับแต่ละประเทศให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และอีกหนึ่งกล
ยุทธ์คือสร้างความร่วมมือแบบพหุภาคีรูปแบบใหม่โดยรวมจีนเข้าไปด้วย ตัวอย่างเช่น 16+1 คือ
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความร่วมมือคล้ายกันกับประเทศยุโรปเหนือและยุโรปใต้แต่ถึงตอนนี้ยังไม่สาเร็จ จึงเกิดคาถามว่า
การเข้าไปลงทุนของจีนในยุโรปนั้นซ่อนประเด็นการเมืองเอาไว้หรือไม่และยุโรปควรรับมืออย่างไร?
ยุโรปควรมีขอบเขตการต้อนรับการลงทุนจากจีนแค่ไหน?
โครงการ OBOR ของจีน เพื่อต้องการจะเพิ่มการเชื่อมโยงระหว่างจีนกับยุโรป และแน่นอน
ต้องมีผลประโยชน์เรื่องเงินมาเกี่ยวข้อง แต่การเพิ่มการเชื่อมโยงดังกล่าว นามาด้วยการเพิ่มขึ้นของ
สินค้าของจีนที่หลั่งไหลเข้ามาในยุโรป โดยเฉพาะสินค้าราคาถูกจากจีน เช่น เหล็กและวัสดุก่อสร้าง
จึงมีข้อเสนอให้ยุโรปออกกฎหมายมาป้องกันการทุ่มตลาดของจีน แต่การที่จีนเข้าร่วม WTO ตั้งแต่
ปี 2001 และจีนกาลังจะเข้าสู่สถานะระบบเศรษฐกิจแบบตลาดของจีน (market economy status)
ในสิ้นปีนี้ ซึ่งสถานะที่ว่านี้ จะยิ่งทาให้ยุโรปกาหนดข้อกีดกันในการทุ่มตลาดของจีนได้ยากขึ้นอีก
คณะกรรมาธิการยุโรปกาลังเผชิญกับทางเลือกที่ละเอียดอ่อนระหว่างการยอมรับสถานะของ
จีน ซึ่งจะส่งผลเสียต่อนักธุรกิจชาวยุโรป หรือจะปฏิเสธสถานะของจีน ซึ่งการปฏิเสธนี้อาจทาให้เกิด
การตอบโต้ทางเศรษฐกิจจากจีน ทางสายกลางที่อาจเป็นไปได้คือยุโรปต้องยอมรับสถานะระบบ
เศรษฐกิจแบบตลาดของจีน แต่ต้องมีข้อกีดกันบางประการที่เป็นการปกป้องอุตสาหกรรมที่สาคัญ
ของยุโรปเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ข้อพิพาทนี้ เป็นจะจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ที่ยาวนานและซับซ้อน
ระหว่างยุโรปและการลงทุนของจีนในยุโรปที่เติบโตอย่างรวดเร็วแน่นอน
เอกสารอ้างอิง
Philippe Le Corre and Alain Sepulchre. China abroad : The long march to Europe.
Brookings. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/research/papers/2016/06/china-europe-
march-lecorre-sepulchre
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
China Institute of International Studies
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
Harmony
หลักการทูตของจีนในศตวรรษที่ 21
ในบทความเรื่อง Toward a New Type of Cooperative and Win-Win International Rela-
tions ของ Ruan Zongze นักวิจัยอาวุโสและรองประธานสถาบัน China Institute of International
Studies (CIIS) Think Tank ชั้นนาด้านการต่างประเทศของจีน ให้ภาพกว้างการต่างประเทศของจีนใน
ศตวรรษที่ 21 ว่าจะยึดหลักการสันติ การร่วมมือแบบได้ผลประโยชน์ร่วมกัน มากกว่าการเผชิญหน้า
แข่งขัน การเอาประโยชน์ฝ่ายเดียว (Zero-sum game) power politics หรือถ้าใช้คาแบบจีนก็ต้องบอก
ว่า Harmony
บทความนี้ย้าว่า การทูตของจีนในยุคนี้ คือยุคที่สีจิ้นผิงกุมบังเหียน เป็นหน้าใหม่ ยุคใหม่ของ
การทูตและการต่างประเทศจีน หมดยุคที่จีนทาการทูตแบบโลว์โปรไฟล์ ผู้นาจีนจะเงียบๆ ในเวทีโลก
ไม่ค่อยโดดเด่นในประชาคมระหว่างประเทศ สัมพันธ์เฉพาะกับบางประเทศแล้ว การต่างประเทศจีน
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จากนี้จีนจะเข้าไปเป็นผู้นา มีข้อเสนอ วิสัยทัศน์อะไรต่างๆ ให้ประชาคมโลก เสียงของจีนจะดังขึ้นใน
กิจการของโลก จีนจะทาการทูตแบบรอบทิศ ผูกมิตรรอบด้าน โดยไม่เลือกฝั่งไหน ค่ายใด อุดมการณ์
การเมือง ลัทธิทางศาสนาเป็นแบบใด ถ้ามีโอกาสที่ไหนจีนไปหมด “จีนจะแปรโอกาสของจีนให้เป็น
โอกาสของโลก และแปรโอกาสของโลกให้เป็นของจีน”
ไม่มียุคใดที่จีนจะใกล้ชิด เชื่อมโยง โยงใยผูกพันตนเองเข้ากับประชาคมระหว่างประเทศมาก
เท่ากับยุคนี้และต่อจากนี้อีกแล้ว คาว่าแปรโอกาสของจีนให้เป็นโอกาสของโลกนั้น จีนพูดถึงการเชื่อม
วิสัยทัศน์การพัฒนาตาม “ความฝันของจีน (Chinese Dream)” อันหมายถึงความรุ่งเรืองของ
ประชาชาติจีนกลับมาอีกครั้ง ให้เป็นโอกาสการพัฒนาของโลกด้วย จีนใช้คาว่าจีนจะอ้าแขนให้ชาติ
อื่นๆ เข้ามาร่วม พัฒนาโลกไปกับจีน ตัวอย่างรูปธรรมที่สาคัญ เช่น มหาโครงการแห่งศตวรรษอย่าง
OBOR จีนก็ยึดหลัก mutual construction, common construction and sharing โดยเวลานี้มีมากกว่า
30 ประเทศแล้วที่ลงนามในความร่วมมือกับ OBOR ของจีน
การต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ของจีนจะเป็นการทูตแบบรอบทิศ ไปทุกที่ที่มีโอกาส ไม่ให้
ค่ายขั้วทางอุดมการณ์หรืออะไรมากั้น จีนในยุคนี้จึงเป็นจีนที่มีเพื่อนไปทั่วโลกทุกทวีป ทั้งรัสเซีย ยุโรป
อาเซียน ออสเตรเลีย อเมริกาใต้ และแอฟริกา
กล่าวเฉพาะที่สาคัญ ความสัมพันธ์ของจีนกับสหรัฐ ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงย้าว่าการร่วมมือกัน
อย่างราบรื่นของจีนและอเมริกาเป็น “รากฐานของเสถียรภาพและสันติภาพของโลก” สีจิ้นผิงเดินทาง
เยือนสหรัฐอย่างเป็นทางการครั้งแรกในเดือนกันยายน ปี 2015 ซึ่งถือว่าเป็นการเยือนที่ประสบความ
อย่างดี ได้บรรลุข้อตกลงร่วมกันกว่า 50 ฉบับ และย้าความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่ร่วมมือกันระหว่าง
ชาติเบอร์หนึ่งและสองของโลก กับรัสเซีย สีจิ้นผิงเยือนรัสเซียสี่ครั้งแล้วตั้งแต่ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี
สองชาติอยู่ในสถานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่ใกล้ชิดต่อกัน กับยุโรป ความสัมพันธ์จีน-ยุโรป
พัฒนาขึ้นมากในทุกๆ ด้าน สีไปเยือนอังกฤษเมื่อตุลาคม 2015 และได้รับการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่
อลังการ อังกฤษต้องการจะเป็น “หุ้นส่วนตะวันตกที่ดีที่สุด” ของจีน แมร์เคิลแห่งเยอรมันและออลลองด์
แห่งฝรั่งเศสก็มาเยือนจีนในเวลาติดๆ กัน โดยรวมแล้ว กรอบใหญ่ของความสัมพันธ์จีน-ยุโรป อยู่ใน
การพยายามเชื่อมต่อยุทธศาสตร์ The Belt and Road ของจีนเข้ากับแผนการพัฒนาของยุโรปโดยรวม
(European Development Plan)
ประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาเซียน เป็นที่ที่จีนให้ความสาคัญเป็นพิเศษกับ
การทาความสัมพันธ์แบบ “ร่วมมือ และ Win-Win” ด้วยความที่จีนเป็นประเทศที่มีเพื่อนบ้านมากสุดใน
โลกเท่ากับรัสเซียคือ 14 ประเทศ จีนจึงรู้ดีว่าการไม่ทาให้เพื่อนบ้านรู้สึกว่าการเติบโตของจีนเป็นภัย
คุกคามนั้นเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง เพราะถ้าขัดแย้งกับเพื่อนบ้านจีนจะต้องเผชิญศึกรอบทิศ ในการ
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประชุมเรื่องนโยบายต่างประเทศต่อเพื่อนบ้านในเดือนตุลาคม 2013 สีจิ้นผิงย้าว่าจีนต้องทาการ
ต่างประเทศกับเพื่อนบ้านให้เกิดความรู้สึกเป็นมิตร จริงใจ ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน และเปิดกว้างให้กับ
การมีส่วนร่วม ชู The Belt and Road กับ ธนาคาร AIIB ขึ้นมาเป็นวิธีการเพื่อไปสู่เป้าหมายดังกล่าว
สาหรับเพื่อนบ้านทางตะวันออกอย่างเกาหลีและญี่ปุ่น แม้จะมีความขัดแย้งแต่การประชุมสุดยอดของ
ผู้นา จีน-เกาหลี-ญี่ปุ่น ก็ได้เพิ่งจัดขึ้นเมื่อปีที่ผ่านมาหลังจากไม่ได้จัดมาสามปี
นอกจากความสัมพันธ์กับชาติอื่นๆ จีนยังมีวิสัยทัศน์อันคมคายต่อระบบและระเบียบระหว่าง
ประเทศโดยรวมด้วย โดยใช้สายตาแบบนักประวัติศาสตร์ด้วย
จีนบอกว่าเวลานี้เป็นช่วงรอยต่อสาคัญที่ระบบและระเบียบระหว่างประเทศในปัจจุบัน (พูด
โดยทั่วไปคือ ระบบ UN) กาลังอยู่ในช่วงปฏิรูปเปลี่ยนผ่าน เพื่อให้สมดุลกับอานาจในโลกที่เปลี่ยนไป
มากจากตอนที่ตั้งขึ้นเมื่อ 70 ปีที่แล้วหลังสงครามโลกครั้งที่สอง จากน้าหนักที่เพิ่มขึ้นของชาติที่รุ่งเรือง
ขึ้นมาใหม่ (emerging economies) ที่ส่วนมากเป็นชาติตะวันออก จีนยังชี้ด้วยว่าที่ผ่านมาการปฏิรูป
ระเบียบระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นภายหลังสงครามใหญ่ แต่การปฏิรูประบบระหว่างประเทศในขณะนี้
เป็นการเปลี่ยนผ่านอย่างสันติครั้งแรกในประวัติศาสตร์ และโลกาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21 ทาให้การก่อ
สงครามใหญ่ระหว่างมหาอานาจแทบจะเป็นไม่ได้อีก การร่วมมือแบบ win-win จึงเป็นวิธีที่ดีกว่าในการ
ปกป้องและขยายประโยชน์แห่งชาติ
ในเวลาที่สังคมไทยกาลังพูดเรื่องปรองดอง จีนก็ต้องการที่จะสร้างโลก สร้างระบบระหว่าง
ประเทศที่ปรองดอง สมานฉันท์ ร่วมกันแก้ปัญหาเดินหน้าสู้ภัยร่วมกัน เพลาๆ การเป็นโลกที่ชาติต่างๆ
แบกฝ่ายแข่งขัน สร้างค่ายสร้างขั้ว แบ่งพันธมิตร สู้กันเองอย่างที่ผ่านมา
เอกสารอ้างอิง
Ruan Zongze. Toward a New Type of Cooperative and Win-Win International Relations.
China Institute of International Studies. ออนไลน์ Editor's%20Pick_CIS_2016.5-6%20
(1).pdf
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
 Carnegie Endowment for International Peace
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง
ในบทที่ 6 เรื่อง Greater Solidarity : GCC Unity amid Regional Turmoil เขียนโดย Su-
liman Al-Atiqi ในหนังสือออนไลน์ฉบับแรกของ Sada Journal เรื่อง The Middle East Unbal-
anced : Analysis from a Region in Turmoil มี Intissar Fakir เป็นบรรณาธิการ ซึ่งสถาบัน Carne-
gie Endowment for International Peace เผยแพร่เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ได้กล่าวถึง
สถานการณ์ของกลุ่มประเทศรอบอ่าวเปอร์เซีย อันได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
กาตาร์ บาห์เรน คูเวต และโอมาน ซึ่งรวมตัวกันภายใต้องค์กร Gulf Cooperation Council (GCC) ที่
Photo: http://atimes.com/2016/05/sochi-asean-summit-russia-eyes-economic-expansion-in-southeast-asia/
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เป็นองค์กรกลางของประเทศรอบอ่าว1
(เรียกง่ายๆ ว่ากลุ่มประเทศอ่าว) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของเหล่า
รัฐอาหรับที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์ มั่งคั่งจากการขายน้ามัน และเป็นพันธมิตรชิดใกล้ที่สาคัญของ
สหรัฐเสมอมาในการเดินเกมในตะวันออกกลาง โดยเฉพาะในการคานอานาจกับอิหร่าน มหาอานาจขั้ว
ตรงข้ามในภูมิภาค
แต่มาวันนี้กลุ่มประเทศรอบอ่าวกาลังรวมกลุ่มกันแน่นมากขึ้น พยายามดาเนินนโยบายการ
ต่างประเทศและความมั่นคงเป็นอิสระจากสหรัฐมากขึ้น เพื่อรับมือกับสภาพความเป็นจริงใหม่ที่ลูกพี่
ใหญ่หันนโยบายต่างประเทศออกจากตะวันออกกลาง
เมื่อสหรัฐกาลังจะจากไป...
การถอนตัวของสหรัฐออกจากภูมิภาคตะวันออกกลาง ในมุมมองของประเทศอ่าวนั้นก็คือการ
ทิ้งเพื่อนดีๆ นี่เอง เพราะที่ผ่านมาสหรัฐคือเสาหลักค้าจุนอานาจทางการเมืองของเหล่าราชวงศ์รอบอ่าว
และเป็นผู้สนับสนุนหลักด้านความมั่นคงแก่ประเทศเหล่านี้เพื่อถ่วงดุลอานาจกับอิหร่าน นอกจากนี้
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาที่ตะวันออกกลางวุ่นวายหนัก โดยเฉพาะหลังจากอาหรับสปริงส์เมื่อปี 2011
(ที่ประชาชนในหลายประเทศตะวันออกกลางลุกฮือโค่นล้มผู้นาที่ครองอานาจมายาวนาน มีทั้งที่ประสบ
ความสาเร็จอย่างในอียิปต์และไม่ประสบความสาเร็จอย่างในซีเรีย) ก็มีเหตุให้ประเทศอ่าวต้องหมางใจ
กับสหรัฐที่ไม่ยอม “ช่วยเพื่อน” ในหลายกรณี
เช่นคราวที่สหรัฐทิ้งประธานาธิบดีมูบารัคแห่งอียิปต์ ซึ่งบรรดากษัตริย์แห่งอ่าวเปอร์เซียถือเป็น
พันธมิตรสาคัญของตนในการคานอานาจกับอิหร่าน ซึ่งหากสหรัฐทิ้งมูบารัค พันธมิตรเกรดเอที่สหรัฐ
พึ่งพาได้อย่างดีมาตลอดหลายทศวรรษ ในยามที่ประชาชนอียิปต์ลุกฮือประท้วงได้ลง จะเหลืออะไร
สาหรับเหล่ากษัตริย์แห่งอ่าวเปอร์เซียถ้าหากวันหนึ่งถูกประชาชนลุกฮือขึ้นมาบ้าง
ข้อที่สอง ประเทศอ่าวมองการถอนทหารของสหรัฐออกจากอิรักในปี 2011 ว่าเร็วเกินไป เปิด
ช่องให้อิหร่านเข้ามาแทรกแซงการเมืองและความมั่นคงของอิรักมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังเกิดไอ
เอสขึ้นมาและไอเอสเข้ายึดเมืองโมซุล เมืองอันดับสองของอิรักไปในปี 2014 กองทัพอิหร่านได้มี
บทบาทมากในการเข้าไปช่วยฝึกทหารและกองกาลังติดอาวุธชีอะห์ในอิรักให้สู้กับไอเอส ทั้งหมดนี้ทา
ให้อิทธิพลอิหร่านในภูมิภาคขยายขึ้น คุกคามความมั่นคงของประเทศอ่าว
ข้อที่สาม ประเทศอ่าว โดยเฉพาะซาอุดิอาระเบียหมางใจจากการที่อเมริกาไม่รักษาสัญญาที่จะ
ส่งปฏิบัติการทางทหารของตนเข้าไปในซีเรีย หลังจากที่ขีดเส้นตายว่าจะทาเช่นนั้นทันทีหากรัฐบาล
อัซซาดใช้อาวุธเคมีกับฝ่ายกบฏ ซึ่งเป็นฝ่ายที่ประเทศอ่าวสนับสนุน เมื่อปี 2013 ทาให้ประเทศอ่าวเห็น
ถึงข้อจากัดของความช่วยเหลือที่สหรัฐพร้อมจะหยิบยื่นให้กับพันธมิตรของตนในยามคับขัน
1
ว่าตามภูมิศาสตร์นั้น อิรักเป็นประเทศที่เจ็ดที่อยู่รอบอ่าวเปอร์เซีย แต่ถ้าว่าในทางการเมืองโดยทั่วไป ไม่นับอิรักเป็น
หนึ่งใน “กลุ่มประเทศอ่าว” เพราะไม่ได้อยู่ใน GCC
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อสุดท้าย ซึ่งชัดเจนว่าเป็นข้อที่รุนแรงที่สุดสาหรับพันธมิตรระหว่างสหรัฐกับประเทศอ่าว คือ
การที่สหรัฐไปฟื้นความสัมพันธ์กับอิหร่าน อดีตศัตรู หลังจากสองฝ่ายตกลงกันได้ในเดือนกรกฏาคมปี
2015 ให้อิหร่านยอมจากัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์แลกกับการที่สหรัฐและพันธมิตรตะวันตกยกเลิก
การคว่าบาตรอิหร่าน ส่งผลให้ศักยภาพและอิทธิพลของอิหร่านในดินแดนอาหรับจากที่มีมากอยู่แล้ว
เพิ่มขึ้นไปอีก การที่ลูกพี่ใหญ่อย่างสหรัฐหันไปจับมือกับอดีตศัตรู โดยที่ไม่ปรึกษากับพันธมิตรร่วมศึก
อย่างกลุ่มประเทศอ่าว แน่นอนว่าทาให้ประเทศอ่าวไม่พอใจอย่างรุนแรง
ประเทศรอบอ่าวเตรียมตัวยืนด้วยลาแข้งของตนเอง
สิ่งเหล่านี้ผลักดันให้ต่อจากนี้กลุ่มประเทศรอบอ่าวต้องรวมตัวกันเป็นเอกภาพและพึ่งพาตัวเอง
ให้มากขึ้น โดยเฉพาะด้านการต่างประเทศและความมั่นคง ซึ่งได้เริ่มดาเนินการแล้วด้วยการเสริมเขี้ยว
เล็บด้านความมั่นคงแก่องค์กรกลางสาหรับความร่วมมือระดับภูมิภาคของพวกตนที่มีอยู่แล้ว คือ Gulf
Cooperation Council (GCC) กล่าวคือ ในการประชุมสุดยอดของ GCC ในเดือนธันวาคม 2013 ที่
ประชุมได้อนุมัติให้สร้างระบบความมั่นคงร่วม ด้วยการสร้างการบัญชาการทางทหารที่เป็นเอกภาพใน
หมู่ประเทศสมาชิก รวมทั้งแผนสร้างความร่วมมือของกิจการตารวจด้วย นอกจากนี้ ซาอุดิอาระเบียยัง
ถึงขั้นเสนอในที่ประชุมให้ GCC ยกระดับการรวมกลุ่มขึ้นเป็นสหภาพ (union) ซึ่งแม้จะไม่ผ่านการ
อนุมัติอย่างแน่นอน เพราะการเมืองของประเทศอ่าวแต่ละชาติมีความต่างกันอยู่มาก แต่ก็แสดงให้เห็น
ความเดือดเนื้อร้อนใจ อย่างน้อยก็ของซาอุดิอาระเบีย ในการเตรียมการว่าพวกตนจะอยู่อย่างไรต่อไป
ในวันที่ไม่มีสหรัฐหนุนหลังแล้ว
จุดสูงสุด (นับจนถึงเวลานี้) ที่แสดงเอกภาพและความเป็นอิสระของ GCC จากสหรัฐ เกิดขึ้นใน
เดือนมีนาคม 2015 ในภารกิจที่ซาอุดิอาระเบียนาปฏิบัติการทางอากาศ Operation Decisive Storm
ร่วมกับชาติอ่าวทั้งมวล ยกเว้นโอมาน (ซึ่งเป็นสมาชิก GCC ที่มีนโยบายเป็นกลางกับอิหร่านมาแต่ไหน
แต่ไร) ทิ้งระเบิดปราบปรามกองกาลังฮูทิ (Houthis) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากอิหร่าน โดยมิได้รับการ
เห็นชอบจากสหรัฐอเมริกาแต่อย่างใด ในปฏิบัติการครั้งนี้ ซาอุดิอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
(UAE) เป็นผู้รับผิดชอบหลัก บาห์เรนกับกาตาร์ส่งทหารเข้าร่วมปฏิบัติการ ส่วนคูเวตส่งเครื่องบินรบ
เข้าร่วม 15 ลา ภารกิจครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงความริเริ่ม ไม่เฉพาะในเชิงนโยบาย แต่ในการลงมือปฏิบัติการ
ทางการต่างประเทศและความมั่นคงกันเองของประเทศอ่าว โดยไม่มีสหรัฐอเมริกา
นอกจากนี้ การไม่เข้าร่วมในการประชุมสุดยอดสหรัฐกับประเทศอ่าวที่แคมป์ เดวิด ในเดือน
พฤษภาคม 2015 ของกษัตริย์ซาอุดิอาระเบีย กษัตริย์บาห์เรนและสุลต่านแห่งโอมาน ยังเป็นข้อที่
ชี้ให้เห็นถึงรอยแยกของพันธมิตรสองฝ่ายนี้
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทเรียนสาหรับประเทศ “พันธมิตร” อื่นๆ
สถานการณ์ที่ประเทศรอบอ่าวเผชิญอยู่เวลานี้ แทบจะเหมือนกับสถานการณ์ตอนกาเนิด
อาเซียนเมื่อสงครามเย็นเปลี่ยนกระแสทุกองค์ประกอบ ตอนนั้นพันธมิตรของสหรัฐในเอเชียอาคเนย์
ทั้งไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์และฟิลิปปินส์รู้ว่าสหรัฐเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศหันไปเป็น
มิตรกับศัตรูคือ จีน และกาลังจะถอนออกจากสงครามในอินโดจีน จึงมาร่วมกันตั้งอาเซียนเพื่อเป็น
ทางออกให้พวกตนอยู่รอดในสภาพแวดล้อมใหม่ที่ฝ่ายซ้ายขึ้นมามีอานาจเข้าไปครึ่งหนึ่งของภูมิภาค
ในครั้งนี้ประเทศรอบอ่าวก็แน่ใจว่าสหรัฐจะถอนออกจากภูมิภาคจริง และไม่สามารถหวังพึ่งให้
ความช่วยเหลือทางทหารแก่พวกตนได้อีก และสหรัฐหันกลับไปคืนดีกับศัตรูคืออิหร่าน และประเทศ
รอบอ่าวก็ต้องมานั่งคิดกันว่าจะอยู่อย่างไรในสภาพแวดล้อมใหม่ทางอานาจในภูมิภาค ซึ่งอิหร่าน
เข้มแข็งขึ้น และอเมริกากาลังถอยออก ถ้าสิ่งที่พวกเราทาเมื่อสี่สิบกว่าปีก่อนนั้นคือการสร้างองค์กร
กลางอย่างอาเซียนขึ้นมาเพื่อพึ่งพากันเอง สิ่งที่พวกเขาทาในตอนนี้ก็คือยกระดับองค์กรกลางของพวก
เขาที่มีอยู่แล้วอย่าง GCC ให้เป็นเอกภาพมากขึ้น เริ่มจากด้านความมั่นคงและการต่างประเทศก่อน
เป็นอันดับแรก
เอกสารอ้างอิง
Suliman Al-Atiqi.Chapter 6: Greater Solidarity: GCC Unity amid Regional Turmoil in The
Middle East Unbalanced: Analysis from a Region in Turmoil. Intissar Fakir ed.
Carnegie Endowment for International Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/
files/Sada_ebook_final.pdf
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทีวิชาการ
ครั้งที่ 11 เรื่อง ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ ในวันจันทร์ที่ 27
มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 -16.00 น. โดยแพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ เป็นวิทยากร
โดยได้พูดถึงประวัติความเป็นมาของยาปฏิชีวนะ ที่ได้มีการค้นพบในปี 1928 โดย
อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง และได้อธิบายสถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ว่ามีการใช้ยาที่ผิด
และเกินความจาเป็นกันอย่างแพร่หลาย ทาให้เกิดเชื้อดื้อยาขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบมากมายใน
อนาคตหากไม่มียาปฏิชีวนะตัวใดสามารถจะต่อต้านเชื้อโรคได้ เพราะแม้แต่กระดาษบาดก็สามารถ
ทาให้ติดเชื้อและเสียชีวิตได้ รวมถึงการผ่าตัด หรือการรักษาโดยใช้คีโม ก็จะไม่สามารถทาได้อีก
ต่อไป
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ดังนั้น จึงอยากให้ทุกคนช่วยกันตระหนักถึงผลร้ายแรงที่กาลังจะตามมา หากมีเชื้อโรคตัวใหม่ที่ยา
ปฏิชีวนะไม่สามารถยับยั้งได้ โดยเริ่มปฏิวัติที่ตัวเราก่อนคือ ต้องรักษาความสะอาด ล้างมือ ส่วนภาครัฐ
ต้องให้ความรู้แก่ประชาชนในการรักษาสุขภาพและดูแลตัวเอง รวมถึงความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ
ข้อดี ข้อเสีย และผลที่จะตามมาหากใช้ยาผิดหรือเกินความจาเป็น สุดท้าย ทุกครั้งที่จะใช้ยาปฏิชีวนะ
ขอให้ทุกคนตระหนักถึงผลกระทบต่อบุคคลอื่น เพราะหากเกิดเชื้อดื้อยาเมื่อใด ผู้ที่จะได้รับผลกระทบก่อน
คือผู้ที่มีภูมิต้านทานต่าซึ่งได้แก่ คนชรา และเด็กนั่นเอง
ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
เกษตรกรไม่จาเป็นต้องจน เกษตรกรก็สามารถทาให้ตัวเองรวยได้ และทาได้ไม่ยากด้วย หลัก
สาคัญคือ ต้องทาสินค้าให้เป็นระดับคุณภาพพรีเมียม เจาะตลาดกลุ่ม niche ทาไม่ต้องเยอะแต่
ทาให้ดี ต้องการันตีคุณภาพได้ เมื่อนั้นจะกาหนดราคาเท่าไรก็ได้ คนจะยอมจ่าย ถ้ามันคุ้มค่า
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นี่คือข้อเสนอของ “ก้อง” หรือ คุณสุพจน์ กรณ์ประสิทธิวัฒน์ ผู้ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชน
กาแฟ Gong Coffee ในเวทีประชุมวิชาการเรื่อง “ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณี
วิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee” จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 12.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมคลัง
ปัญญา อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ลาดพร้าว กทม.
คุณก้อง ผู้เรียกตัวเองว่า เกษตรกรอินดี้ เป็นผู้เริ่มสร้างกาแฟแบรนด์ Gong Coffee
ยกระดับกาแฟแถบระนอง ชุมพรให้เป็นกาแฟโรบัสต้าพรีเมียม ภายในเวลา 6 ปี ปัจจุบันเป็นเจ้าของ
อาณาจักร Gong Valley “วิสาหกิจชุมชน” กาแฟที่ อ. กระบุรี จ. ระนอง ซึ่งมีนักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยม
ชมปีละราวสี่หมื่นคน และเป็นผู้แปรรูปกาแฟ Gong Coffee กาแฟโรบัสต้าคั่วสดจากเมล็ดกาแฟ
แถบระนองชุมพร ซึ่งปัจจุบันส่งขายราวสิบตันต่อปี มีตลาดทั้งในและต่างประเทศ
ขยายความ ก้องบอกว่า ถ้าเกษตรกรอยากจะรวย อยากขายราคาสูง ก็ต้องรู้จัก “เพิ่มมูลค่า”
ให้สินค้าตัวเอง เป็นหลักเหตุผลง่ายๆ ธรรมดาๆ และนั่นก็ต้องเริ่มต้นที่เลิกคิดแค่ว่า งานของ
เกษตรกรคือแค่ปลูกวัตถุดิบแล้วจบที่ขายให้พ่อค้าคนกลางเอาไปแปรรูปเท่านั้น เกษตรกรอาจจะเป็น
คนแปรรูปเองก็ได้ คาว่า “เกษตรกร” ของก้องนั้นไม่จาเป็นต้องเป็นแต่ผู้ปลูกและขายเมล็ดกาแฟดิบ
(ในกรณีกาแฟ) ป้อนโรงงานอย่างเดียว แต่เกษตรกรสามารถทาได้ครบวงจร หรือจะเลือกทาส่วน
ปลูกหรือจะทาส่วนแปรรูปและหาและจัดการตลาดก็เรียกว่าเกษตรกรทั้งนั้น ส่วนคากล่าวว่า “ทาไม่
ต้องเยอะ แต่ทาให้ดี” ของก้องนั้น หัวใจสาคัญคือการตลาด สร้างแบรนด์ โดยการเติมเรื่องราวเข้าไป
ในสินค้า ยกระดับสินค้าจากผลิตขั้นเดียวแล้วขาย ให้ “พิเศษ” ขึ้นมา เพื่อเรียกราคา “พิเศษ” และก็
ต้องควบคุมคุณภาพของสินค้าให้ได้ตามเกณฑ์ที่ดีที่เราสัญญาไว้กับลูกค้า เมื่อนั้นลูกค้าก็ยอมจ่าย
ราคา “พิเศษ” ให้แก่สินค้าของเรา
หลักการนี้ “ก้อง” บอกว่า ทาได้ง่ายที่สุด เป็นเรื่องง่ายๆ ใช้คอมมอนส์เซ็นส์ปกติ และที่
สาคัญคือปรับใช้ได้ทั่วไปไม่เฉพาะกับกาแฟ แต่จะเป็นข้าว ลองกอง ทุเรียน สินค้าเกษตรอื่นๆ หรือ
แม้แต่ “ของ” อะไรก็ได้ ที่ต้องการขายและขายให้ได้ราคาดี หัวใจสาคัญของผู้ประกอบการที่จะ
ประสบความสาเร็จ ที่จะรวยในยุคนี้คือ ทาสินค้าเน้นคุณภาพ ไม่ใช่เน้นที่ปริมาณ เจาะตลาดลูกค้า
เฉพาะกลุ่ม ทาสินค้าให้ดีได้ตามที่สัญญากับลูกค้า แล้วลูกค้าก็จะยอมจ่ายเรา ตามราคาที่เรากาหนด
เอง “เกษตรกร” ก็สามารถเป็น “ผู้ประกอบการ” อย่างที่กล่าวมาได้เช่นกัน...
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่เผยแพร่: กรกฎาคม 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Destacado

การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 

Destacado (17)

การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...Klangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
 

World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม BROOKINGS จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม 2559 BRUEGEL  สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด? CARNEGIE  ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง BROOKINGS  พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป สถาบันคลังปัญญาฯ  ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย: กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีเดือนกรกฎาคมค่ะท่านผู้อ่าน และแล้วเวลาที่ผ่านไปก็ได้นาพาเราก้าวสู่ครึ่งหลังของ ปี 2016 เป็นที่เรียบร้อย สาหรับหนึ่งเดือนที่ผ่านมานั้นได้เกิดสถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ขึ้นมากมาย แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่ทั่วโลกต่างจับตามองคงไม่พ้นสถานการณ์ Brexit ของ อังกฤษที่ผลการลงประชามติของประชาชนนาไปสู่การก้าวพ้นออกจากสหภาพยุโรปอย่างเป็น ทางการ ในเดือนนี้ World Think Tank Monitors จึงขอเกาะติดสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ผลกระทบและท่าทีของฝ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลัง Brexit นอกจากนี้ยังยินดีจะนาเสนอประเด็นของ ภูมิภาคต่างๆ ที่น่าสนใจอีกหลากหลาย อาทิ หลักการทูตแบบ Harmony ของจีนในศตวรรษที่ 21 การลงทุนของจีนในยุโรป รวมถึงความร่วมมือของกลุ่มประเทศอ่าวเพื่อเตรียมรับมือกับการถอยทัพ ของสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้จัดการประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง ทางออก และอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee โดยในการนี้ได้รับเกียรติ จากคุณสุพจน์ กรณ์ประสิทธิวัฒน์ ผู้ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนกาแฟชื่อดังจากจังหวัดระนองมาถ่ายทอด ประสบการณ์และแนวทางการพัฒนาธุรกิจและเกษตรกรรมด้วยวิธีแปลกใหม่ซึ่งช่วยยกระดับ คุณภาพของสินค้าตลอดจนรายได้ของเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิผล ส่วนการประชุมอีกเวทีที่ น่าสนใจไม่แพ้กัน คือเรื่องยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ โดย แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ ที่ชี้ให้เห็นถึงข้อเสียและผลกระทบของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง ไม่ถูกต้อง สุดท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับการอ่านนะคะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป BRUEGEL สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด? 1 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป 3 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย China Institute of International Studies หลักการทูตของจีนในศตวรรษที่ 21 6 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง Carnegie Endowment for International Peace ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” 9 รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee 13 ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ 14
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป Bruegel เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย สหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปจะแยกจากกันอย่างสมบูรณ์เมื่อใด? จากกรณีของ Brexit ว่าด้วยเรื่องการลงประชามติในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ที่ผ่านมา ซึ่งผลปรากฏว่าประชาชนส่วนใหญ่เลือกลงคะแนนเสียงออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพ ยุโรปนั้น นับเป็นเหตุการณ์สาคัญที่หลายฝ่ายคาดการณ์ว่าอาจเป็นจุดเปลี่ยนสู่การถดถอยของ สหภาพยุโรป แต่อย่างไรก็ตาม การออกจากสหภาพยุโรปซึ่งอังกฤษเป็นสมาชิกมานานหลายสิบปี เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยเวลาในการดาเนินการ ฉะนั้น ในทางปฏิบัติแล้วการสิ้นสุดสมาชิกภาพนี้จึงมี ลักษณะค่อยเป็นค่อยไปมากกว่าที่จะเกิดขึ้นแบบทันที Nicolas Véron ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและการลงทุนต่างประเทศของสถาบัน Bruegel ได้ วิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นภายหลังการลงประชามติออกจากสหภาพยุโรปของสหราช อาณาจักร โดยมองว่าการเปลี่ยนแปลงอันดับแรกที่จะเกิดขึ้นคือ นับจากนี้ไปการจัดอภิปรายระหว่าง รัฐบาลของสหภาพยุโรปจะดาเนินต่อไปโดยไม่มีผู้แทนจากรัฐบาลสหราชอาณาจักรอีก แม้ว่าจะยังคง รักษาสมาชิกภาพไว้ในลักษณะคู่ขนานตามธรรมเนียมก็ตาม ทว่าความยุ่งยากก็เกิดขึ้นเนื่องจากสอง Photo by: http://www.aljazeera.com/programmes/headtohead/2016/04/norman-lamont-brexit-au-revoir-europe-160427074
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผลการลงประชามติในสกอตแลนด์ที่ฝั่ง Remain มีคะแนนนาโด่ง อีกทั้งนายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ ยังระบุว่าการออกจากสหภาพยุโรปนั้นขัดกับเจตจานงของสกอตแลนด์อย่างสิ้นเชิงและยืนยันที่จะอยู่ เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรปต่อไป อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาตามหลักการลงประชามติอย่าง เคร่งครัด มติจากประชาชนย่อมถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุด แม้รัฐสภาของสหราชอาณาจักรจะเป็น หน่วยงานที่มีอานาจปกครองสูงสุดแต่ก็ไม่มีอานาจที่จะเปลี่ยนแปลงคาตัดสินของประชาชนเสียงข้าง มากตามกระบวนการประชาธิปไตยได้ สาหรับการดาเนินการต่อไปของสหภาพยุโรปภายหลังการลงประชามติในครั้งนี้ได้ถูก บัญญัติไว้อย่างชัดเจนใน “Article 50” ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์อย่างเป็นทางการว่าด้วยการออกจาก การเป็นสมาชิกที่ระบุไว้ในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (the Treaty on the European Union: TUE) โดยในลาดับแรกกาหนดให้รัฐสมาชิกที่ตัดสินใจจะถอนตัวออกแจ้งความจานงต่อคณะมนตรี ยุโรป (European Council) หลังจากนั้นรัฐสมาชิกทั้งหมดจะต้องหารือกันเพื่อสร้างข้อตกลงในการ แยกตัวให้แล้วเสร็จภายในสองปี ซึ่งเมื่อครบกาหนดเวลา หากยังหาข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกันไม่ได้ และไม่มีฝ่ายใดขอขยายเวลาในการเจรจาต่อรองให้ถือว่าคาขอถอนตัวดังกล่าวถูกยกเลิกโดยปริยาย และด้วยเหตุที่รัฐต่างๆ ในสหราชอาณาจักรมีความต้องการที่ไม่ตรงกันนี่เอง อาจทาให้ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องจะต้องทางานอย่างหนักเพื่อหาข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกัน ด้านความเคลื่อนไหวของรัฐบาลอังกฤษจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น นายกรัฐมนตรี David Cameron ซึ่งสนับสนุนให้อังกฤษอยู่กับสหภาพยุโรปมาตลอดไปประกาศลาออกจากตาแหน่ง พร้อมทั้งระบุว่า นายกรัฐมนตรีคนใหม่ตัวแทนจากพรรคอนุรักษ์นิยมซึ่งจะเข้ารับตาแหน่งในเดือน ตุลาคมจะเริ่มต้นกระบวนการเจรจากับสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการภายใต้เงื่อนไขของ Article 50 เพื่อให้การถอนตัวเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนดต่อไป ขณะที่ด้านสหภาพ ยุโรปเองได้แถลงการณ์แสดงความพร้อมที่จะเปิ ดการเจรจาโดยเร็วที่สุดกับสหราช อาณาจักรเกี่ยวกับข้อกาหนดและเงื่อนไขของถอนตัว ทั้งนี้ สาเหตุที่ผู้นาสหภาพยุโรปเร่งให้การ ดาเนินการทั้งหมดเกิดขึ้นโดยเร็ว ชัดเจน และโปร่งใสเพราะต้องการลดแรงกดดันและความกังวล ของรัฐสมาชิกที่มองว่าประเด็นการถอนตัวของ สหราชอาณาจักรยังมีความไม่ชัดเจนและอาจจะ ส่งผลให้สหภาพยุโรปต้องสั่นคลอน ผู้นาสหภาพยุโรปจึงพยายามจะผลักดันให้กรณีของสหราช อาณาจักรเป็นแบบอย่างที่แสดงว่าสหภาพยุโรปยังคงมีความมั่นคงและพร้อมที่จะอยู่ต่อได้แม้ไม่มีส หราชอาณาจักร ซึ่งหลายฝ่ายมองว่า ท่าทีดังกล่าวของสหภาพยุโรปนั้นเป็นการสื่อสารอย่างมี นัยสาคัญต่อสหราชอาณาจักรว่า “ยินดีที่จะไม่ลงโทษ แต่ไม่พร้อมที่จะให้อภัย” เอกสารอ้างอิง Nicolas Véron. The UK / EU separation: how fast does it happen? Bruegel. ออนไลน์: http://bruegel.org/2016/06/the-uk-eu-separation-how-fast-does-it-happen/
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย พาเหรดนักลงทุนจีนสู่ยุโรป (China abroad : The long march to Europe) Photo By: https://libraryeuroparl.files.wordpress.com/2015/07/fotolia_84715924_subscription_xxl.jpg?w=350&h=200&crop=1 เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่งานวิจัยเรื่อง China abroad : The long march to Europe ซึ่งพูดถึงการเข้าไปลงทุนของจีนในยุโรปว่า หลายปีที่ผ่านมา จีน เป็นเป้าหมายการลงทุนของบริษัทข้ามชาติต่างๆ แต่ปัจจุบัน จีนกลายเป็นผู้ที่ออกไปลงทุนภายนอก ประเทศเสียมากกว่า โดยเฉพาะการเข้าไปลงทุนในยุโรปซึ่งมีความโดดเด่นมาก เหตุผลที่นักลงทุน จีนนิยมเข้าไปลงทุนในยุโรปมากกว่าสหรัฐอเมริกามี 2 ข้อ ดังนี้ 1. ในยุโรป จีนได้รับอิสระมากกว่า ในขณะที่สหรัฐอเมริกาจะกีดกันจีนด้วยเหตุผลทาง การเมืองและความมั่นคง โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจของจีน 2. ยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจปี 2008 ทาให้กลายเป็นผู้หิวกระหาย เงินลงทุนจากจีน ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐานและการอุ้มบริษัทที่ล้มละลาย เมื่อพิจารณาจากการลงทุนของจีนในยุโรปช่วงทศวรรษที่ผ่านมา พบว่าจีนใช้ยุทธศาสตร์หลัก 5 ข้อในการเข้าไปลงทุน
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ยุทธศาสตร์ 5 ประการของจีนในการลงทุนในยุโรป 1. ยกระดับสินค้า บริษัทจีนพยายามยกระดับสินค้าที่ผลิต เมื่อก่อนบริษัทจีนผลิตสินค้าเลียนแบบที่มีราคาถูก เพื่อขายตลาดในประเทศ หลังจากนั้น ค่อยๆ ยกระดับสินค้าให้เป็นสินค้าขั้นสูง (sophisticated product) และสินค้านวัตกรรม รวมถึงการบริการ และเริ่มส่งออกมากขึ้น 2. ขยายตลาด จีนพยายามขยายตลาด จากที่เคยขายเฉพาะตลาดในประเทศ ก็ไปตีตลาดนอกประเทศมาก ขึ้น นอกจากขยายไปตลาดนอกประเทศ ยังเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ เช่น Huawei ที่มี สินค้าตั้งแต่ Tablet ถึง สมาร์ทโฟนและตีตลาดในยุโรปด้วย 3. การแสวงหาเทคโนโลยี แสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งจะช่วยทาให้บริษัทของจีนมีอานาจทั้งในประเทศตนเองและช่วย สร้างโอกาสในต่างประเทศ โดยบริษัทจีนจะแสวงหาเทคโนโลยีโดยการเข้าไปศึกษาแบบครูพักลักจา 4. อุตสาหกรรมบริการแบบตะวันออก อีกยุทธศาสตร์หนึ่งที่จีนใช้คืออุตสาหกรรมการบริการแบบจีนหรือบางคนเรียกว่า Orientalist รวมถึงการเข้าซื้อกิจการโรงแรมระดับหรูและแบรนด์บริการในยุโรป เพื่อนามาปรับให้เข้ากับกลุ่ม ลูกค้าเอเชียที่กาลังเติบโตขึ้น โดยเฉพาะลูกค้าชาวจีน 5. รัฐวิสาหกิจ : ผู้นาในตลาดโลก โมเดลนี้ รัฐวิสาหกิจของจีนจะได้รับการสนับสนุนทางการเงินและการเมืองจากรัฐบาลในการ เข้าซื้อกิจการต่างๆ เพื่อหวังว่าจะช่วยนารัฐวิสาหกิจเหล่านั้นก้าวขึ้นไปเป็นผู้นาในตลาดโลก ความท้าทายต่อยุโรปจากคลื่นการลงทุนของจีน คลื่นการลงทุนจากจีนสร้างความท้าทายหลายอย่างต่อบริษัทและผู้กาหนดนโยบายของยุโรป สาหรับบริษัท การเข้ามาลงทุนในยุโรปของผู้ลงทุนจีนที่กระหายและมีสถานะการเงินที่ดี ส่งผลให้บริษัทข้ามชาติต่างๆ ต้องพยายามควบรวมกิจการเพื่อที่จะดารงการครอบครองตลาดของ ตนไว้ ในด้านผู้กาหนดนโยบาย มีความท้าทายสองประเด็น ประเด็นแรกคือความไม่เท่าเทียมใน อิสระการลงทุน กล่าวคือบริษัทจีนค่อนข้างจะมีอิสระในการเข้าซื้อบริษัทต่างๆ ในยุโรปโดยไร้ ข้อจากัด ในขณะที่บริษัทต่างชาติอื่น จะมีข้อจากัดในการลงทุนหรือถือหุ้นใหญ่ในบริษัทของจีน ประเด็นที่สอง คือ สองสามปีที่ผ่านมา อานาจทางการเมืองของจีนในยุโรปนั้นเพิ่มขึ้นด้วยการ ใช้กลยุทธ์แบ่งแยกแล้วปกครอง (divide and rule) คือ มีความสัมพันธ์กับ EU ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะ น้อยได้ และมีความสัมพันธ์แบบทวิภาคีกับแต่ละประเทศให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และอีกหนึ่งกล ยุทธ์คือสร้างความร่วมมือแบบพหุภาคีรูปแบบใหม่โดยรวมจีนเข้าไปด้วย ตัวอย่างเช่น 16+1 คือ
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความร่วมมือคล้ายกันกับประเทศยุโรปเหนือและยุโรปใต้แต่ถึงตอนนี้ยังไม่สาเร็จ จึงเกิดคาถามว่า การเข้าไปลงทุนของจีนในยุโรปนั้นซ่อนประเด็นการเมืองเอาไว้หรือไม่และยุโรปควรรับมืออย่างไร? ยุโรปควรมีขอบเขตการต้อนรับการลงทุนจากจีนแค่ไหน? โครงการ OBOR ของจีน เพื่อต้องการจะเพิ่มการเชื่อมโยงระหว่างจีนกับยุโรป และแน่นอน ต้องมีผลประโยชน์เรื่องเงินมาเกี่ยวข้อง แต่การเพิ่มการเชื่อมโยงดังกล่าว นามาด้วยการเพิ่มขึ้นของ สินค้าของจีนที่หลั่งไหลเข้ามาในยุโรป โดยเฉพาะสินค้าราคาถูกจากจีน เช่น เหล็กและวัสดุก่อสร้าง จึงมีข้อเสนอให้ยุโรปออกกฎหมายมาป้องกันการทุ่มตลาดของจีน แต่การที่จีนเข้าร่วม WTO ตั้งแต่ ปี 2001 และจีนกาลังจะเข้าสู่สถานะระบบเศรษฐกิจแบบตลาดของจีน (market economy status) ในสิ้นปีนี้ ซึ่งสถานะที่ว่านี้ จะยิ่งทาให้ยุโรปกาหนดข้อกีดกันในการทุ่มตลาดของจีนได้ยากขึ้นอีก คณะกรรมาธิการยุโรปกาลังเผชิญกับทางเลือกที่ละเอียดอ่อนระหว่างการยอมรับสถานะของ จีน ซึ่งจะส่งผลเสียต่อนักธุรกิจชาวยุโรป หรือจะปฏิเสธสถานะของจีน ซึ่งการปฏิเสธนี้อาจทาให้เกิด การตอบโต้ทางเศรษฐกิจจากจีน ทางสายกลางที่อาจเป็นไปได้คือยุโรปต้องยอมรับสถานะระบบ เศรษฐกิจแบบตลาดของจีน แต่ต้องมีข้อกีดกันบางประการที่เป็นการปกป้องอุตสาหกรรมที่สาคัญ ของยุโรปเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ข้อพิพาทนี้ เป็นจะจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ที่ยาวนานและซับซ้อน ระหว่างยุโรปและการลงทุนของจีนในยุโรปที่เติบโตอย่างรวดเร็วแน่นอน เอกสารอ้างอิง Philippe Le Corre and Alain Sepulchre. China abroad : The long march to Europe. Brookings. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/research/papers/2016/06/china-europe- march-lecorre-sepulchre
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย China Institute of International Studies เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย Harmony หลักการทูตของจีนในศตวรรษที่ 21 ในบทความเรื่อง Toward a New Type of Cooperative and Win-Win International Rela- tions ของ Ruan Zongze นักวิจัยอาวุโสและรองประธานสถาบัน China Institute of International Studies (CIIS) Think Tank ชั้นนาด้านการต่างประเทศของจีน ให้ภาพกว้างการต่างประเทศของจีนใน ศตวรรษที่ 21 ว่าจะยึดหลักการสันติ การร่วมมือแบบได้ผลประโยชน์ร่วมกัน มากกว่าการเผชิญหน้า แข่งขัน การเอาประโยชน์ฝ่ายเดียว (Zero-sum game) power politics หรือถ้าใช้คาแบบจีนก็ต้องบอก ว่า Harmony บทความนี้ย้าว่า การทูตของจีนในยุคนี้ คือยุคที่สีจิ้นผิงกุมบังเหียน เป็นหน้าใหม่ ยุคใหม่ของ การทูตและการต่างประเทศจีน หมดยุคที่จีนทาการทูตแบบโลว์โปรไฟล์ ผู้นาจีนจะเงียบๆ ในเวทีโลก ไม่ค่อยโดดเด่นในประชาคมระหว่างประเทศ สัมพันธ์เฉพาะกับบางประเทศแล้ว การต่างประเทศจีน
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จากนี้จีนจะเข้าไปเป็นผู้นา มีข้อเสนอ วิสัยทัศน์อะไรต่างๆ ให้ประชาคมโลก เสียงของจีนจะดังขึ้นใน กิจการของโลก จีนจะทาการทูตแบบรอบทิศ ผูกมิตรรอบด้าน โดยไม่เลือกฝั่งไหน ค่ายใด อุดมการณ์ การเมือง ลัทธิทางศาสนาเป็นแบบใด ถ้ามีโอกาสที่ไหนจีนไปหมด “จีนจะแปรโอกาสของจีนให้เป็น โอกาสของโลก และแปรโอกาสของโลกให้เป็นของจีน” ไม่มียุคใดที่จีนจะใกล้ชิด เชื่อมโยง โยงใยผูกพันตนเองเข้ากับประชาคมระหว่างประเทศมาก เท่ากับยุคนี้และต่อจากนี้อีกแล้ว คาว่าแปรโอกาสของจีนให้เป็นโอกาสของโลกนั้น จีนพูดถึงการเชื่อม วิสัยทัศน์การพัฒนาตาม “ความฝันของจีน (Chinese Dream)” อันหมายถึงความรุ่งเรืองของ ประชาชาติจีนกลับมาอีกครั้ง ให้เป็นโอกาสการพัฒนาของโลกด้วย จีนใช้คาว่าจีนจะอ้าแขนให้ชาติ อื่นๆ เข้ามาร่วม พัฒนาโลกไปกับจีน ตัวอย่างรูปธรรมที่สาคัญ เช่น มหาโครงการแห่งศตวรรษอย่าง OBOR จีนก็ยึดหลัก mutual construction, common construction and sharing โดยเวลานี้มีมากกว่า 30 ประเทศแล้วที่ลงนามในความร่วมมือกับ OBOR ของจีน การต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ของจีนจะเป็นการทูตแบบรอบทิศ ไปทุกที่ที่มีโอกาส ไม่ให้ ค่ายขั้วทางอุดมการณ์หรืออะไรมากั้น จีนในยุคนี้จึงเป็นจีนที่มีเพื่อนไปทั่วโลกทุกทวีป ทั้งรัสเซีย ยุโรป อาเซียน ออสเตรเลีย อเมริกาใต้ และแอฟริกา กล่าวเฉพาะที่สาคัญ ความสัมพันธ์ของจีนกับสหรัฐ ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงย้าว่าการร่วมมือกัน อย่างราบรื่นของจีนและอเมริกาเป็น “รากฐานของเสถียรภาพและสันติภาพของโลก” สีจิ้นผิงเดินทาง เยือนสหรัฐอย่างเป็นทางการครั้งแรกในเดือนกันยายน ปี 2015 ซึ่งถือว่าเป็นการเยือนที่ประสบความ อย่างดี ได้บรรลุข้อตกลงร่วมกันกว่า 50 ฉบับ และย้าความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่ร่วมมือกันระหว่าง ชาติเบอร์หนึ่งและสองของโลก กับรัสเซีย สีจิ้นผิงเยือนรัสเซียสี่ครั้งแล้วตั้งแต่ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี สองชาติอยู่ในสถานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่ใกล้ชิดต่อกัน กับยุโรป ความสัมพันธ์จีน-ยุโรป พัฒนาขึ้นมากในทุกๆ ด้าน สีไปเยือนอังกฤษเมื่อตุลาคม 2015 และได้รับการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ อลังการ อังกฤษต้องการจะเป็น “หุ้นส่วนตะวันตกที่ดีที่สุด” ของจีน แมร์เคิลแห่งเยอรมันและออลลองด์ แห่งฝรั่งเศสก็มาเยือนจีนในเวลาติดๆ กัน โดยรวมแล้ว กรอบใหญ่ของความสัมพันธ์จีน-ยุโรป อยู่ใน การพยายามเชื่อมต่อยุทธศาสตร์ The Belt and Road ของจีนเข้ากับแผนการพัฒนาของยุโรปโดยรวม (European Development Plan) ประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาเซียน เป็นที่ที่จีนให้ความสาคัญเป็นพิเศษกับ การทาความสัมพันธ์แบบ “ร่วมมือ และ Win-Win” ด้วยความที่จีนเป็นประเทศที่มีเพื่อนบ้านมากสุดใน โลกเท่ากับรัสเซียคือ 14 ประเทศ จีนจึงรู้ดีว่าการไม่ทาให้เพื่อนบ้านรู้สึกว่าการเติบโตของจีนเป็นภัย คุกคามนั้นเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง เพราะถ้าขัดแย้งกับเพื่อนบ้านจีนจะต้องเผชิญศึกรอบทิศ ในการ
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประชุมเรื่องนโยบายต่างประเทศต่อเพื่อนบ้านในเดือนตุลาคม 2013 สีจิ้นผิงย้าว่าจีนต้องทาการ ต่างประเทศกับเพื่อนบ้านให้เกิดความรู้สึกเป็นมิตร จริงใจ ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน และเปิดกว้างให้กับ การมีส่วนร่วม ชู The Belt and Road กับ ธนาคาร AIIB ขึ้นมาเป็นวิธีการเพื่อไปสู่เป้าหมายดังกล่าว สาหรับเพื่อนบ้านทางตะวันออกอย่างเกาหลีและญี่ปุ่น แม้จะมีความขัดแย้งแต่การประชุมสุดยอดของ ผู้นา จีน-เกาหลี-ญี่ปุ่น ก็ได้เพิ่งจัดขึ้นเมื่อปีที่ผ่านมาหลังจากไม่ได้จัดมาสามปี นอกจากความสัมพันธ์กับชาติอื่นๆ จีนยังมีวิสัยทัศน์อันคมคายต่อระบบและระเบียบระหว่าง ประเทศโดยรวมด้วย โดยใช้สายตาแบบนักประวัติศาสตร์ด้วย จีนบอกว่าเวลานี้เป็นช่วงรอยต่อสาคัญที่ระบบและระเบียบระหว่างประเทศในปัจจุบัน (พูด โดยทั่วไปคือ ระบบ UN) กาลังอยู่ในช่วงปฏิรูปเปลี่ยนผ่าน เพื่อให้สมดุลกับอานาจในโลกที่เปลี่ยนไป มากจากตอนที่ตั้งขึ้นเมื่อ 70 ปีที่แล้วหลังสงครามโลกครั้งที่สอง จากน้าหนักที่เพิ่มขึ้นของชาติที่รุ่งเรือง ขึ้นมาใหม่ (emerging economies) ที่ส่วนมากเป็นชาติตะวันออก จีนยังชี้ด้วยว่าที่ผ่านมาการปฏิรูป ระเบียบระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นภายหลังสงครามใหญ่ แต่การปฏิรูประบบระหว่างประเทศในขณะนี้ เป็นการเปลี่ยนผ่านอย่างสันติครั้งแรกในประวัติศาสตร์ และโลกาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21 ทาให้การก่อ สงครามใหญ่ระหว่างมหาอานาจแทบจะเป็นไม่ได้อีก การร่วมมือแบบ win-win จึงเป็นวิธีที่ดีกว่าในการ ปกป้องและขยายประโยชน์แห่งชาติ ในเวลาที่สังคมไทยกาลังพูดเรื่องปรองดอง จีนก็ต้องการที่จะสร้างโลก สร้างระบบระหว่าง ประเทศที่ปรองดอง สมานฉันท์ ร่วมกันแก้ปัญหาเดินหน้าสู้ภัยร่วมกัน เพลาๆ การเป็นโลกที่ชาติต่างๆ แบกฝ่ายแข่งขัน สร้างค่ายสร้างขั้ว แบ่งพันธมิตร สู้กันเองอย่างที่ผ่านมา เอกสารอ้างอิง Ruan Zongze. Toward a New Type of Cooperative and Win-Win International Relations. China Institute of International Studies. ออนไลน์ Editor's%20Pick_CIS_2016.5-6%20 (1).pdf
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง  Carnegie Endowment for International Peace เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย ประเทศอ่าว “รวมกันเราอยู่” รับมือสหรัฐออกจากตะวันออกกลาง ในบทที่ 6 เรื่อง Greater Solidarity : GCC Unity amid Regional Turmoil เขียนโดย Su- liman Al-Atiqi ในหนังสือออนไลน์ฉบับแรกของ Sada Journal เรื่อง The Middle East Unbal- anced : Analysis from a Region in Turmoil มี Intissar Fakir เป็นบรรณาธิการ ซึ่งสถาบัน Carne- gie Endowment for International Peace เผยแพร่เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ได้กล่าวถึง สถานการณ์ของกลุ่มประเทศรอบอ่าวเปอร์เซีย อันได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ บาห์เรน คูเวต และโอมาน ซึ่งรวมตัวกันภายใต้องค์กร Gulf Cooperation Council (GCC) ที่ Photo: http://atimes.com/2016/05/sochi-asean-summit-russia-eyes-economic-expansion-in-southeast-asia/
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นองค์กรกลางของประเทศรอบอ่าว1 (เรียกง่ายๆ ว่ากลุ่มประเทศอ่าว) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของเหล่า รัฐอาหรับที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์ มั่งคั่งจากการขายน้ามัน และเป็นพันธมิตรชิดใกล้ที่สาคัญของ สหรัฐเสมอมาในการเดินเกมในตะวันออกกลาง โดยเฉพาะในการคานอานาจกับอิหร่าน มหาอานาจขั้ว ตรงข้ามในภูมิภาค แต่มาวันนี้กลุ่มประเทศรอบอ่าวกาลังรวมกลุ่มกันแน่นมากขึ้น พยายามดาเนินนโยบายการ ต่างประเทศและความมั่นคงเป็นอิสระจากสหรัฐมากขึ้น เพื่อรับมือกับสภาพความเป็นจริงใหม่ที่ลูกพี่ ใหญ่หันนโยบายต่างประเทศออกจากตะวันออกกลาง เมื่อสหรัฐกาลังจะจากไป... การถอนตัวของสหรัฐออกจากภูมิภาคตะวันออกกลาง ในมุมมองของประเทศอ่าวนั้นก็คือการ ทิ้งเพื่อนดีๆ นี่เอง เพราะที่ผ่านมาสหรัฐคือเสาหลักค้าจุนอานาจทางการเมืองของเหล่าราชวงศ์รอบอ่าว และเป็นผู้สนับสนุนหลักด้านความมั่นคงแก่ประเทศเหล่านี้เพื่อถ่วงดุลอานาจกับอิหร่าน นอกจากนี้ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาที่ตะวันออกกลางวุ่นวายหนัก โดยเฉพาะหลังจากอาหรับสปริงส์เมื่อปี 2011 (ที่ประชาชนในหลายประเทศตะวันออกกลางลุกฮือโค่นล้มผู้นาที่ครองอานาจมายาวนาน มีทั้งที่ประสบ ความสาเร็จอย่างในอียิปต์และไม่ประสบความสาเร็จอย่างในซีเรีย) ก็มีเหตุให้ประเทศอ่าวต้องหมางใจ กับสหรัฐที่ไม่ยอม “ช่วยเพื่อน” ในหลายกรณี เช่นคราวที่สหรัฐทิ้งประธานาธิบดีมูบารัคแห่งอียิปต์ ซึ่งบรรดากษัตริย์แห่งอ่าวเปอร์เซียถือเป็น พันธมิตรสาคัญของตนในการคานอานาจกับอิหร่าน ซึ่งหากสหรัฐทิ้งมูบารัค พันธมิตรเกรดเอที่สหรัฐ พึ่งพาได้อย่างดีมาตลอดหลายทศวรรษ ในยามที่ประชาชนอียิปต์ลุกฮือประท้วงได้ลง จะเหลืออะไร สาหรับเหล่ากษัตริย์แห่งอ่าวเปอร์เซียถ้าหากวันหนึ่งถูกประชาชนลุกฮือขึ้นมาบ้าง ข้อที่สอง ประเทศอ่าวมองการถอนทหารของสหรัฐออกจากอิรักในปี 2011 ว่าเร็วเกินไป เปิด ช่องให้อิหร่านเข้ามาแทรกแซงการเมืองและความมั่นคงของอิรักมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังเกิดไอ เอสขึ้นมาและไอเอสเข้ายึดเมืองโมซุล เมืองอันดับสองของอิรักไปในปี 2014 กองทัพอิหร่านได้มี บทบาทมากในการเข้าไปช่วยฝึกทหารและกองกาลังติดอาวุธชีอะห์ในอิรักให้สู้กับไอเอส ทั้งหมดนี้ทา ให้อิทธิพลอิหร่านในภูมิภาคขยายขึ้น คุกคามความมั่นคงของประเทศอ่าว ข้อที่สาม ประเทศอ่าว โดยเฉพาะซาอุดิอาระเบียหมางใจจากการที่อเมริกาไม่รักษาสัญญาที่จะ ส่งปฏิบัติการทางทหารของตนเข้าไปในซีเรีย หลังจากที่ขีดเส้นตายว่าจะทาเช่นนั้นทันทีหากรัฐบาล อัซซาดใช้อาวุธเคมีกับฝ่ายกบฏ ซึ่งเป็นฝ่ายที่ประเทศอ่าวสนับสนุน เมื่อปี 2013 ทาให้ประเทศอ่าวเห็น ถึงข้อจากัดของความช่วยเหลือที่สหรัฐพร้อมจะหยิบยื่นให้กับพันธมิตรของตนในยามคับขัน 1 ว่าตามภูมิศาสตร์นั้น อิรักเป็นประเทศที่เจ็ดที่อยู่รอบอ่าวเปอร์เซีย แต่ถ้าว่าในทางการเมืองโดยทั่วไป ไม่นับอิรักเป็น หนึ่งใน “กลุ่มประเทศอ่าว” เพราะไม่ได้อยู่ใน GCC
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อสุดท้าย ซึ่งชัดเจนว่าเป็นข้อที่รุนแรงที่สุดสาหรับพันธมิตรระหว่างสหรัฐกับประเทศอ่าว คือ การที่สหรัฐไปฟื้นความสัมพันธ์กับอิหร่าน อดีตศัตรู หลังจากสองฝ่ายตกลงกันได้ในเดือนกรกฏาคมปี 2015 ให้อิหร่านยอมจากัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์แลกกับการที่สหรัฐและพันธมิตรตะวันตกยกเลิก การคว่าบาตรอิหร่าน ส่งผลให้ศักยภาพและอิทธิพลของอิหร่านในดินแดนอาหรับจากที่มีมากอยู่แล้ว เพิ่มขึ้นไปอีก การที่ลูกพี่ใหญ่อย่างสหรัฐหันไปจับมือกับอดีตศัตรู โดยที่ไม่ปรึกษากับพันธมิตรร่วมศึก อย่างกลุ่มประเทศอ่าว แน่นอนว่าทาให้ประเทศอ่าวไม่พอใจอย่างรุนแรง ประเทศรอบอ่าวเตรียมตัวยืนด้วยลาแข้งของตนเอง สิ่งเหล่านี้ผลักดันให้ต่อจากนี้กลุ่มประเทศรอบอ่าวต้องรวมตัวกันเป็นเอกภาพและพึ่งพาตัวเอง ให้มากขึ้น โดยเฉพาะด้านการต่างประเทศและความมั่นคง ซึ่งได้เริ่มดาเนินการแล้วด้วยการเสริมเขี้ยว เล็บด้านความมั่นคงแก่องค์กรกลางสาหรับความร่วมมือระดับภูมิภาคของพวกตนที่มีอยู่แล้ว คือ Gulf Cooperation Council (GCC) กล่าวคือ ในการประชุมสุดยอดของ GCC ในเดือนธันวาคม 2013 ที่ ประชุมได้อนุมัติให้สร้างระบบความมั่นคงร่วม ด้วยการสร้างการบัญชาการทางทหารที่เป็นเอกภาพใน หมู่ประเทศสมาชิก รวมทั้งแผนสร้างความร่วมมือของกิจการตารวจด้วย นอกจากนี้ ซาอุดิอาระเบียยัง ถึงขั้นเสนอในที่ประชุมให้ GCC ยกระดับการรวมกลุ่มขึ้นเป็นสหภาพ (union) ซึ่งแม้จะไม่ผ่านการ อนุมัติอย่างแน่นอน เพราะการเมืองของประเทศอ่าวแต่ละชาติมีความต่างกันอยู่มาก แต่ก็แสดงให้เห็น ความเดือดเนื้อร้อนใจ อย่างน้อยก็ของซาอุดิอาระเบีย ในการเตรียมการว่าพวกตนจะอยู่อย่างไรต่อไป ในวันที่ไม่มีสหรัฐหนุนหลังแล้ว จุดสูงสุด (นับจนถึงเวลานี้) ที่แสดงเอกภาพและความเป็นอิสระของ GCC จากสหรัฐ เกิดขึ้นใน เดือนมีนาคม 2015 ในภารกิจที่ซาอุดิอาระเบียนาปฏิบัติการทางอากาศ Operation Decisive Storm ร่วมกับชาติอ่าวทั้งมวล ยกเว้นโอมาน (ซึ่งเป็นสมาชิก GCC ที่มีนโยบายเป็นกลางกับอิหร่านมาแต่ไหน แต่ไร) ทิ้งระเบิดปราบปรามกองกาลังฮูทิ (Houthis) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากอิหร่าน โดยมิได้รับการ เห็นชอบจากสหรัฐอเมริกาแต่อย่างใด ในปฏิบัติการครั้งนี้ ซาอุดิอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) เป็นผู้รับผิดชอบหลัก บาห์เรนกับกาตาร์ส่งทหารเข้าร่วมปฏิบัติการ ส่วนคูเวตส่งเครื่องบินรบ เข้าร่วม 15 ลา ภารกิจครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงความริเริ่ม ไม่เฉพาะในเชิงนโยบาย แต่ในการลงมือปฏิบัติการ ทางการต่างประเทศและความมั่นคงกันเองของประเทศอ่าว โดยไม่มีสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ การไม่เข้าร่วมในการประชุมสุดยอดสหรัฐกับประเทศอ่าวที่แคมป์ เดวิด ในเดือน พฤษภาคม 2015 ของกษัตริย์ซาอุดิอาระเบีย กษัตริย์บาห์เรนและสุลต่านแห่งโอมาน ยังเป็นข้อที่ ชี้ให้เห็นถึงรอยแยกของพันธมิตรสองฝ่ายนี้
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทเรียนสาหรับประเทศ “พันธมิตร” อื่นๆ สถานการณ์ที่ประเทศรอบอ่าวเผชิญอยู่เวลานี้ แทบจะเหมือนกับสถานการณ์ตอนกาเนิด อาเซียนเมื่อสงครามเย็นเปลี่ยนกระแสทุกองค์ประกอบ ตอนนั้นพันธมิตรของสหรัฐในเอเชียอาคเนย์ ทั้งไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์และฟิลิปปินส์รู้ว่าสหรัฐเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศหันไปเป็น มิตรกับศัตรูคือ จีน และกาลังจะถอนออกจากสงครามในอินโดจีน จึงมาร่วมกันตั้งอาเซียนเพื่อเป็น ทางออกให้พวกตนอยู่รอดในสภาพแวดล้อมใหม่ที่ฝ่ายซ้ายขึ้นมามีอานาจเข้าไปครึ่งหนึ่งของภูมิภาค ในครั้งนี้ประเทศรอบอ่าวก็แน่ใจว่าสหรัฐจะถอนออกจากภูมิภาคจริง และไม่สามารถหวังพึ่งให้ ความช่วยเหลือทางทหารแก่พวกตนได้อีก และสหรัฐหันกลับไปคืนดีกับศัตรูคืออิหร่าน และประเทศ รอบอ่าวก็ต้องมานั่งคิดกันว่าจะอยู่อย่างไรในสภาพแวดล้อมใหม่ทางอานาจในภูมิภาค ซึ่งอิหร่าน เข้มแข็งขึ้น และอเมริกากาลังถอยออก ถ้าสิ่งที่พวกเราทาเมื่อสี่สิบกว่าปีก่อนนั้นคือการสร้างองค์กร กลางอย่างอาเซียนขึ้นมาเพื่อพึ่งพากันเอง สิ่งที่พวกเขาทาในตอนนี้ก็คือยกระดับองค์กรกลางของพวก เขาที่มีอยู่แล้วอย่าง GCC ให้เป็นเอกภาพมากขึ้น เริ่มจากด้านความมั่นคงและการต่างประเทศก่อน เป็นอันดับแรก เอกสารอ้างอิง Suliman Al-Atiqi.Chapter 6: Greater Solidarity: GCC Unity amid Regional Turmoil in The Middle East Unbalanced: Analysis from a Region in Turmoil. Intissar Fakir ed. Carnegie Endowment for International Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/ files/Sada_ebook_final.pdf
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทีวิชาการ ครั้งที่ 11 เรื่อง ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ ในวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 -16.00 น. โดยแพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ เป็นวิทยากร โดยได้พูดถึงประวัติความเป็นมาของยาปฏิชีวนะ ที่ได้มีการค้นพบในปี 1928 โดย อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง และได้อธิบายสถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ว่ามีการใช้ยาที่ผิด และเกินความจาเป็นกันอย่างแพร่หลาย ทาให้เกิดเชื้อดื้อยาขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบมากมายใน อนาคตหากไม่มียาปฏิชีวนะตัวใดสามารถจะต่อต้านเชื้อโรคได้ เพราะแม้แต่กระดาษบาดก็สามารถ ทาให้ติดเชื้อและเสียชีวิตได้ รวมถึงการผ่าตัด หรือการรักษาโดยใช้คีโม ก็จะไม่สามารถทาได้อีก ต่อไป
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ดังนั้น จึงอยากให้ทุกคนช่วยกันตระหนักถึงผลร้ายแรงที่กาลังจะตามมา หากมีเชื้อโรคตัวใหม่ที่ยา ปฏิชีวนะไม่สามารถยับยั้งได้ โดยเริ่มปฏิวัติที่ตัวเราก่อนคือ ต้องรักษาความสะอาด ล้างมือ ส่วนภาครัฐ ต้องให้ความรู้แก่ประชาชนในการรักษาสุขภาพและดูแลตัวเอง รวมถึงความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ ข้อดี ข้อเสีย และผลที่จะตามมาหากใช้ยาผิดหรือเกินความจาเป็น สุดท้าย ทุกครั้งที่จะใช้ยาปฏิชีวนะ ขอให้ทุกคนตระหนักถึงผลกระทบต่อบุคคลอื่น เพราะหากเกิดเชื้อดื้อยาเมื่อใด ผู้ที่จะได้รับผลกระทบก่อน คือผู้ที่มีภูมิต้านทานต่าซึ่งได้แก่ คนชรา และเด็กนั่นเอง ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณีวิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย เกษตรกรไม่จาเป็นต้องจน เกษตรกรก็สามารถทาให้ตัวเองรวยได้ และทาได้ไม่ยากด้วย หลัก สาคัญคือ ต้องทาสินค้าให้เป็นระดับคุณภาพพรีเมียม เจาะตลาดกลุ่ม niche ทาไม่ต้องเยอะแต่ ทาให้ดี ต้องการันตีคุณภาพได้ เมื่อนั้นจะกาหนดราคาเท่าไรก็ได้ คนจะยอมจ่าย ถ้ามันคุ้มค่า
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นี่คือข้อเสนอของ “ก้อง” หรือ คุณสุพจน์ กรณ์ประสิทธิวัฒน์ ผู้ก่อตั้งวิสาหกิจชุมชน กาแฟ Gong Coffee ในเวทีประชุมวิชาการเรื่อง “ทางออกและอนาคตของเกษตรกรไทย : กรณี วิสาหกิจชุมชนกาแฟ Gong Coffee” จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 12.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมคลัง ปัญญา อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ลาดพร้าว กทม. คุณก้อง ผู้เรียกตัวเองว่า เกษตรกรอินดี้ เป็นผู้เริ่มสร้างกาแฟแบรนด์ Gong Coffee ยกระดับกาแฟแถบระนอง ชุมพรให้เป็นกาแฟโรบัสต้าพรีเมียม ภายในเวลา 6 ปี ปัจจุบันเป็นเจ้าของ อาณาจักร Gong Valley “วิสาหกิจชุมชน” กาแฟที่ อ. กระบุรี จ. ระนอง ซึ่งมีนักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยม ชมปีละราวสี่หมื่นคน และเป็นผู้แปรรูปกาแฟ Gong Coffee กาแฟโรบัสต้าคั่วสดจากเมล็ดกาแฟ แถบระนองชุมพร ซึ่งปัจจุบันส่งขายราวสิบตันต่อปี มีตลาดทั้งในและต่างประเทศ ขยายความ ก้องบอกว่า ถ้าเกษตรกรอยากจะรวย อยากขายราคาสูง ก็ต้องรู้จัก “เพิ่มมูลค่า” ให้สินค้าตัวเอง เป็นหลักเหตุผลง่ายๆ ธรรมดาๆ และนั่นก็ต้องเริ่มต้นที่เลิกคิดแค่ว่า งานของ เกษตรกรคือแค่ปลูกวัตถุดิบแล้วจบที่ขายให้พ่อค้าคนกลางเอาไปแปรรูปเท่านั้น เกษตรกรอาจจะเป็น คนแปรรูปเองก็ได้ คาว่า “เกษตรกร” ของก้องนั้นไม่จาเป็นต้องเป็นแต่ผู้ปลูกและขายเมล็ดกาแฟดิบ (ในกรณีกาแฟ) ป้อนโรงงานอย่างเดียว แต่เกษตรกรสามารถทาได้ครบวงจร หรือจะเลือกทาส่วน ปลูกหรือจะทาส่วนแปรรูปและหาและจัดการตลาดก็เรียกว่าเกษตรกรทั้งนั้น ส่วนคากล่าวว่า “ทาไม่ ต้องเยอะ แต่ทาให้ดี” ของก้องนั้น หัวใจสาคัญคือการตลาด สร้างแบรนด์ โดยการเติมเรื่องราวเข้าไป ในสินค้า ยกระดับสินค้าจากผลิตขั้นเดียวแล้วขาย ให้ “พิเศษ” ขึ้นมา เพื่อเรียกราคา “พิเศษ” และก็ ต้องควบคุมคุณภาพของสินค้าให้ได้ตามเกณฑ์ที่ดีที่เราสัญญาไว้กับลูกค้า เมื่อนั้นลูกค้าก็ยอมจ่าย ราคา “พิเศษ” ให้แก่สินค้าของเรา หลักการนี้ “ก้อง” บอกว่า ทาได้ง่ายที่สุด เป็นเรื่องง่ายๆ ใช้คอมมอนส์เซ็นส์ปกติ และที่ สาคัญคือปรับใช้ได้ทั่วไปไม่เฉพาะกับกาแฟ แต่จะเป็นข้าว ลองกอง ทุเรียน สินค้าเกษตรอื่นๆ หรือ แม้แต่ “ของ” อะไรก็ได้ ที่ต้องการขายและขายให้ได้ราคาดี หัวใจสาคัญของผู้ประกอบการที่จะ ประสบความสาเร็จ ที่จะรวยในยุคนี้คือ ทาสินค้าเน้นคุณภาพ ไม่ใช่เน้นที่ปริมาณ เจาะตลาดลูกค้า เฉพาะกลุ่ม ทาสินค้าให้ดีได้ตามที่สัญญากับลูกค้า แล้วลูกค้าก็จะยอมจ่ายเรา ตามราคาที่เรากาหนด เอง “เกษตรกร” ก็สามารถเป็น “ผู้ประกอบการ” อย่างที่กล่าวมาได้เช่นกัน...
  • 19. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่เผยแพร่: กรกฎาคม 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064