SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 6 : พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2558 นับว่าเป็นเดือนที่สถาบันวิจัยนโยบายเกือบทุกแห่งในสหรัฐ
และยุโรป ต่างจับจ้องรายงานข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับภูมิภาคตะวันออกกลางมากเป็นพิเศษ โดย
เฉพาะที่เกี่ยวข้องกลุ่ม ISIS สร้างความหวาดหวั่นให้กับโลกอย่างมากคือ เหตุการณ์การโจมตีที่
กรุงปารีสจนมีผู้เสียชีวิตจานวนมาก ในส่วนยุโรปเอง นอกจากเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจที่ผ่านมา
เวลานี้ยังซ้าเติมด้วยปัญหาความมั่นคง และปัญหาวิกฤตผู้ลี้ภัยจากซีเรียอย่างมหาศาล
นอกกจากนี้ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง พบว่า สถาบัน Carnegie Middle East ในกรุง
เบรุต เป็นสถาบันวิจัยนโยบายหนึ่งที่น่าสนใจที่เน้น การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ในตะวันออก
กลาง ในเดือนนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ก็ได้นาบทวิเคราะห์เรื่อง The Crisis of the Arab Nation-
State มานาเสนอ
ในภูมิภาคเอเชีย มีรายงานจาก CASS ที่น่าสนใจคือ จีนเริ่มหันมาจัดอันดับ Think Tank
ของโลกด้วยตนเอง ผลการประเมินพบว่า จาก 31 ประเทศทั่วโลก 3 อันดับแรกตกเป็นของ สถาบัน
The Carnegie Endowment for International Peace ของสหรัฐอเมริกา สถาบัน Bruegel จากเบล
เยี่ยม และสถาบัน Heritage Foundation ของสหรัฐ ตามลาดับ จะต่างจากที่มีการจัดอันดับโดย
สถาบันในสหรัฐอเมริกา โดยมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ก่อนหน้านี้
สาหรับผลงานของสถาบันคลังปัญญาฯ เอง ก็ให้น้าหนักในเรื่องที่เชื่อมโยงกับประเทศใน
ตะวันออกกลางไม่น้อย รวมทั้งบทบาทของตุรกี และการทาความเข้าใจเรื่องกลุ่ม ISIS
รายละเอียดต่างๆ สามารถติดตามอ่านเนื้อหาสรุปได้ใน World Think Tank ฉบับเดือน
พฤศจิกายน 2558 นี้
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1
 CHATHAM HOUSE 1
 EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 2
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 4
 RAND 4
 BROOKINGS 5
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ด้านภูมิภาคตะวันออกกลาง 7
 CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 11
 CARNEGIE-TSINGHUA CENTER 11
 CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS) 13
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 14
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT) 14
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
CHATHAM HOUSE
การโจมตีปารีส: ธรรมาภิบาลคือหนทางในการโค่นล้มกลุ่ม ISIS
เหตุการณ์โศกนาฏกรรมที่กลุ่มผู้ก่อการร้าย ISIS ได้โจมตีกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสในวันที่
13 พฤศจิกายนที่ผ่านมาจนเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตกว่าร้อยรายนั้นได้สร้างความโกรธแค้นให้แก่
รัฐบาลฝรั่งเศสรวมถึงประเทศพันธมิตรเป็นอย่างมาก โดยล่าสุดฝรั่งเศสได้ตอบโต้อย่างทันควันด้วย
การส่งเครื่องบินรบโจมตีทางอากาศไปยังเมือง Raqqa ทางตอนเหนือของซีเรียซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของ
กลุ่ม ISIS
อย่างไรก็ตาม Dr. Neil Quilliam หัวหน้า Middle East and North Africa Programme ของ
สถาบัน Chatham House กลับมีความเห็นว่า การโจมตีทางอากาศและทาลายทรัพยากรในพื้นที่เพื่อ
ตัดแหล่งเงินทุนของกลุ่มผู้ก่อการร้ายอาจไม่เพียงพอที่จะทาให้สามารถโค่นล้มกลุ่ม ISIS ลงได้อย่าง
ถาวร ทั้งนี้การจะปราบปรามและป้องกันภัยคุกคามจากการก่อการร้ายต่อภูมิภาคยุโรปได้ในระยะ
ยาวจาเป็นต้องอาศัยธรรมาภิบาลหรือการกากับดูและที่ดี (Governance) เป็นเครื่องมือหลัก
ควบคู่กับการสนับสนุนจากประชาคมระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ผู้นาโลกตะวันตกจะต้อง
ทาความเข้าใจถึงเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดกลุ่ม ISIS รวมไปถึงการดารงอยู่ของภาคประชาชนในพื้นที่ซีเรีย
และอิรักจานวนมากที่ให้การสนับสนุน ISIS เพื่อแลกกับความคุ้มครองและบริการสาธารณะ โดย
นอกจากการก่อความไม่สงบแล้ว ISIS ยังดาเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างจริงจังในซีเรียและอิรัก
ซึ่งถือเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มโดยการโน้มน้าวให้ประชาชนในพื้นที่รู้สึกว่าการเมืองและรัฐบาลใน
ปัจจุบันอ่อนแอและเปราะบาง และ ISIS เป็นเพียงทางเลือกเดียวที่จะช่วยคุ้มครองประชาชนได้ จึง
ไม่น่าแปลกใจที่ชาวมุสลิมซึ่งให้การสนับสนุนกลุ่ม ISIS มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น วิธีการเดียวที่โลกตะวันตกจะสามารถบั่นทอนความมั่นคงของ ISIS ในซีเรียและอิรักลง
ได้คือการทาให้ประชาชนซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ ISIS เล็งเห็นถึงทางเลือกที่น่าเชื่อถือและ
มั่นคงกว่าที่เป็นอยู่โดยการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนในระดับท้องถิ่นพร้อมทั้งเสนอบริการ
สาธารณะที่ดีกว่า ซึ่งโลกตะวันตกจะต้องให้ความสาคัญกับการส่งเสริมแนวคิดท้องถิ่นปกครองตนเอง
ควบคู่กับการเสริมพลังความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้พึ่งพากลุ่ม ISIS น้อยลง
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
การเดินหน้าแก้ไขปัญหาในยุโรป
เหตุการณ์ก่อการร้ายที่เกิดขึ้นในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสเป็นเสมือนจุดแตกหักสาคัญที่
นาไปสู่การเริ่มต้นสงครามครั้งใหม่ระหว่างโลกตะวันตกกับกับกลุ่มก่อการร้ายในรัฐอิสลามขึ้นอย่าง
จริงจัง การโจมตีกรุงปารีสครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้นแตกต่างจากการก่อการร้ายที่เคยผ่านมาที่เน้นโจมตี
สถานที่สาคัญของรัฐดังเช่นเหตุการณ์ 9/11 ที่เคยเกิดขึ้นกับสหรัฐอเมริกา แต่ครั้งนี้กลุ่ม ISIS กลับ
พุ่งเป้าหมายไปยังสนามฟุตบอล ร้านกาแฟและเวทีแสดงคอนเสิร์ตซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์ที่สะท้อนถึง
วิถีชีวิตของชาวฝรั่งเศสแทน ซึ่งวิธีการดังกล่าวได้กระจายความหวาดกลัวไปยังประชาชนได้มากขึ้น
เป็นเท่าทวีคูณ
แต่อย่างไรก็ตาม การประกาศสงครามและตอบโต้กลุ่มก่อการร้ายด้วยวิธีทางการทหารซึ่ง
ฝรั่งเศสและประเทศพันธมิตรเลือกใช้มาตลอดอาจจะยิ่งนาไปสู่ความสูญเสียที่มากขึ้น เนื่องจากใน
ปัจจุบันกลุ่ม ISIS ซึ่งได้ขยายเครือข่ายไปอย่างกว้างขวางก็มีศักยภาพในการทาสงครามไม่น้อยไม่
น้อยไปกว่าประชาคมยุโรปเช่นกัน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องใช้วิธีการทางการทูตเป็นหลักในเพื่อจัดการ
ปัญหาดังกล่าวและควบคุมให้มีการโจมตีเท่าที่จาเป็นเพื่อเป็นการรักษาสวัสดิภาพของประชาชนชาว
ซีเรียอีกจานวนมากซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้ง และการแทรกแซงทางการทหารของ
ยุโรปควรผ่านกระบวนการประนีประนอมและความเห็นชอบจากประเทศต่างๆในภูมิภาค นอกจากนี้
ยังควรผลักดันให้ UN กลายเป็นกลไกหลักที่ประชาคมระหว่างประเทศสามารถใช้คว่าบาตรหรือ
ดาเนินนโยบายโดดเดี่ยวรัฐบาลรัฐอิสลามซึ่งให้การช่วยเหลือแก่กลุ่ม ISIS
สิ่งหนึ่งที่ยุโรปต้องทาความเข้าใจสาหรับกรณีที่เกิดขึ้นคือท่าทีของตัวแสดงในระดับภูมิภาค
ไม่ว่าจะเป็นอิหร่านและซาอุดิอาระเบียซึ่งเป็นรัฐอิสลามที่มีจุดยืนตรงข้ามกับยุโรปอย่างชัดเจน รวม
ไปถึงมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาซึ่งครอบครองกาลังทหารไว้มหาศาล ในขณะที่รัสเซียก็เป็นอีก
หนึ่งประเทศที่พยายามเข้ามามีบทบาทในเหตุการณ์ครั้งนี้ ประชาคมยุโรปต้องพยายามสร้าง
กฎเกณฑ์ทางการทูตใหม่โดยสร้างความร่วมมือที่เป็นเอกภาพระหว่างประเทศที่มีเครื่องมือทาง
การทหารที่เข้มแข็งในขณะที่ประเทศอื่นๆ ก็ต้องร่วมกันสร้างกระบวนการประนีประนอมให้เกิดขึ้นใน
ซีเรีย
สาหรับปัญหาผู้ลี้ภัยที่หลั่งไหลเข้ามาสู่เป็นจานวนมากในขณะนี้กาลังทาให้ประชาคมยุโรป
ต้องเผชิญกับวิกฤตประชากรล้นเกินกว่าที่ศักยภาพของแต่ละประเทศจะรองรับได้ ยุโรปจึงควร
แก้ปัญหาด้วยการกระจายผู้ลี้ภัยไปยังพื้นที่อื่น โดยสนับสนุนให้ประเทศที่ยังมีขีดความสามารถ
รองรับผู้ลี้ภัยได้เช่นประเทศมุสลิมอย่างเลบานอนรับผู้ลี้ภัยไปอยู่ภายการดูแลมากขึ้น
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กล่าวโดยสรุป จากกรณีปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้น นักวิชาการของ ECFR ต่างมีความเห็นพ้องถึง
ความจาเป็นในการกาหนดนโยบายที่สามารถตอบสนองกับความท้าทายที่ยุโรปกาลังเผชิญนั่นคือการ
ร่วมมือกันสร้างมาตรการความปลอดภัยควบคู่กับการเดินหน้าทางการทูตตามวิถีประชาธิปไตยเพื่อ
ยุติปัญหาซีเรียและการก่อการร้ายให้สิ้นสุด
เอกสารอ้างอิง
ECFR Paris Staff. Forging a European resolve. European Council on Foreign Relations.
ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commentary_forging_a_european_resolve5014
Neil Quilliam. Paris Attacks: Governance, Not Airstrikes, Will Topple ISIS in Syria.
Chathum House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/paris-attacks-
governance-not-airstrikes-will-topple-isis-syria
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
RAND
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
RAND
วัดกำลัง จีน : สหรัฐ ใครแน่กว่ำกัน..?
กว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ที่กองทัพปลดแอกประชาชนจีน ได้ทาการเปลี่ยนตัวเองจากกองทัพ
ที่มีความยิ่งใหญ่แต่ล้าหลังสู่กองทัพที่มีความร่วมสมัยมากขึ้น ถึงแม้จะยังล้าหลังกว่าสหรัฐอเมริกา
ทั้งในเรื่องของอุปกรณ์และทักษะการดาเนินงาน แต่ก็ได้มีการปรับปรุงในพื้นที่สาคัญหลายพื้นที่ ซึ่ง
RAND ได้ประมวลดัชนีระหว่างกองทัพของสหรัฐอเมริกาและจีน ในด้านกองกาลัง ภูมิศาสตร์ และ
การพัฒนาการถ่วงดุลอานาจไว้ โดยประเมินจากการโจมตีทางอากาศของจีนที่ได้มีการพัฒนา
ขีปนาวุธที่มีประสิทธิภาพและแข็งแกร่งมากขึ้น การแข่งขันกันเป็นจ้าวทางอากาศระหว่างจีนและ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งทั้งสองประเทศได้แข่งกันปรับปรุง พัฒนากองทัพอากาศและเครื่องบินรบของตน
และความสามารถในการบุกและโจมตีน่านฟ้าจีนของสหรัฐอเมริกา ในบริเวณข้อพิพาทไต้หวันและ
หมู่เกาะสแปรตลีย์ ที่ในช่วงหลังมานี้จีนแข็งแกร่งขึ้น และกลายเป็นอุปสรรคท้าทายสหรัฐอเมริกา แต่
สหรัฐอเมริกาก็ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตนยังเหนือกว่าจีน
นอกจากนี้ยังมีเรื่องการต่อต้านการรบภาคพื้นดินของจีน ที่ระหว่างปี 1996 – 2015 จานวน
เรือดาน้ารุ่นใหม่ของจีนได้พุ่งทยานจาก 2 ลา เป็น 41 ลา และในจานวนนี้ มี 37 ลาที่ติดตั้งเครื่องยิง
จรวด หรือ ตอปิโด ด้านสหรัฐอเมริกาที่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กลับมาให้ความสนใจในการพัฒนา
ขีปนาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง ที่สามารถทาลายศัตรูได้ทั้งใต้น้าและบนบก และการตอบโต้ใน
อวกาศของสหรัฐอเมริกาและจีน ในเรื่องนี้สหรัฐอเมริกามีความได้เปรียบจีน เนื่องจากมีดาวเทียม
กว่า 500 ดวงในขณะที่จีนมีเพียง 100 กว่าดวง แต่จีนก็พยายามเร่งเพื่อที่จะตามให้ทัน นอกจากนี้
ยังมีสงครามไซเบอร์ระหว่างสองประเทศ ซึ่งจีนได้จัดตั้งหน่วยงานด้านไซเบอร์ตั้งเเต่ช่วงปลายปี
1990 ขณะที่สหรัฐอเมริกานั้น ได้จัดตั้งกองบัญชาการไซเบอร์ในปี 2009 อย่างไรก็ตามภายใต้
เงื่อนไขของช่วงเวลาสงคราม สหรัฐอเมริกานั้นอาจไม่ได้อ่อนเเอด้านไซเบอร์อย่างที่หลายฝ่ายคาด
กองบัญชาการไซเบอร์นั้นได้ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยงานความมั่นคงอย่างจริงจังด้วยเครื่องมือ
อันทันสมัยที่มีความซับซ้อนอย่างยิ่ง และสุดท้ายคือความมั่นคงด้านนิวเคลียร์ ที่ตั้งแต่ปี 1996 เป็น
ต้นมา จีนมีการพัฒนานิวเคลียร์ของตนให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มว่าในปี 2017 ทั้งจีนและสหรัฐอเมริกา จะสะสมอาวุธนิวเคลียร์ลดลง แต่หัวรบ
ของสหรัฐก็ยังถือว่ามีมากอยู่ดี แต่ถึงอย่างนั้นผู้นาในทุกประเทศก็ไม่ควรที่จะประมาทความสามารถ
ด้านนิวเคลียร์ของจีน
BROOKINGS
กำรตอบโต้ ISIS ด้วยพลังของโซเชียลมีเดีย
Brookings ได้ตั้งข้อสังเกตว่าทุกครั้งก่อนที่ ISIS จะก่อการร้าย จะมีการปล่อยสื่อมัลติมีเดียทาง
โซเชียลมีเดีย ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการก่อการร้ายที่เกิดขึ้น ดังตัวอย่าง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2558
14 วันก่อนการโจมตีปารีส ISIS ปล่อยวีดีโอสนับสนุนคนหนุ่มสาวในฝรั่งเศสให้เข้าร่วมกับกลุ่มก่อการ
ร้าย คล้ายๆ กับสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อ 26 มิถุนายน พ.ศ.2558 ที่ ISIS โจมตีเมืองลียง หนึ่งเดือนก่อนหน้า
นั้น ISIS ได้ปล่อยวีดีโอลงบนโซเชียลมีเดียสนับสนุนให้คนฝรั่งเศสรุ่นใหม่เข้าร่วมกับการก่อการร้าย
และสุดท้าย หนึ่งเดือนก่อนเหตุการณ์โจมตีออฟฟิศของ Charlie Hebdo เมื่อวันที่ 7 มกราคม
พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา ISIS ได้ปล่อยวีดีโอที่กลุ่มคนฝรั่งเศสรุ่นใหม่ได้ขอเข้าร่วมกลุ่มก่อการร้าย
ข้อเท็จจริงนี้มีความสาคัญมากกว่าที่เคย ในการวิเคราะห์และทาความเข้าใจบทบาทของการใช้
สื่อมัลติมีเดียในการปลุกระดมผู้ก่อการร้ายและเป็นแนวทางตอบโต้การก่อการร้ายอย่างมีประสิทธิภาพ
ในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558 หน่วย Delta ของสหรัฐอเมริกาถูกฆ่าระหว่างการโจมตีเพื่อ
ช่วยเหลือตัวประกันชาวเคิร์ด 70 คน จาก ISIS ในอิรัก การปฏิบัติการทางทหารครั้งนี้ได้ช่วยชีวิตตัว
ประกันได้ 70 คน ในเวลาเดียวกัน การโจมตีได้ทาให้เห็นถึงแนวทางและกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพมาก
ขึ้นในการเอาชนะ ISIS ซึ่งไม่เพียงแต่ในสมรภูมิรบแต่ยังหมายถึงในทางโซเชียลมีเดียและความ
คิดเห็นของประชาชนอีกด้วย
การปฏิบัติการช่วยเหลือถูกถ่ายทาผ่านกล้องที่ติดไว้บนหมวกทหารของทหารชาวเคิร์ดคนหนึ่ง
ที่อยู่ในกลุ่มปฏิบัติการนั้นด้วย สองวันหลังการปฏิบัติการ ภาพถูกปล่อยออกมาในโซเชียลมีเดียของ
ชาวเคิร์ดที่ชื่อว่า Rudaw และวีดีโอนี้ได้กลายเป็นปรากฏการณ์ที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วในโซเชียลมีเดีย
มีผู้เข้าชมมากกว่า 1.2 ล้านครั้งในเวลาเพียง 5 วันเท่านั้น ซึ่งมากกว่าจานวนผู้เข้าชมวีดีโอของ
กระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่ทาไว้เมื่อปี 2557 เพื่อตอบโต้ ISIS ถึง 10 เท่า
วีดีโอนี้ได้แสดงภาพของการช่วยเหลือโดยมีองค์ประกอบหลักที่ทาให้ถูกเผยแพร่ไปอย่าง
รวดเร็วในโซเชียลมีเดีย คือ ความยาว 4 นาที เป็นภาพที่น่าตกใจ สะท้อนวัฒนธรรม และเป็นเรื่องจริง
ที่สะเทือนอารมณ์
ความสาเร็จของแคมเปญนี้ คือ วีดีโอดังกล่าวถูกโพสต์ผ่าน 6 ทวิตเตอร์ โดยเฉพาะเพื่อการ
โต้ตอบกลุ่ม ISIS ในโซเชียลมีเดีย ซึ่งมีผู้เล่นทวิตเตอร์กว่า 711,313 คน ที่เข้าถึงโพสต์ดังกล่าวนี้
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การโจมตีในอิรัก เป็นบทเรียนสาคัญสาหรับสหรัฐอเมริกาและประเทศพันธมิตรถึงวิธีต่อสู้กับ
ISIS ด้วยสื่อดิจิตอล ซึ่งในอนาคตกองกาลังทหารต่างๆ การเมืองหรือ หน่วยการสืบราชการลับ ควรที่
จะนาวิธีนี้ไปพิจารณาใช้ โดยบทเรียนดังกล่าว แบ่งออกเป็น 4 ประการ ดังนี้
1. การปฏิบัติงานของกองทัพในการต่อสู้กับการก่อการร้ายควรมาพร้อมกับกลยุทธ์การสื่อสาร
แบบดิจิตอล ที่มีการเผยแพร่ในโซเชียลมีเดีย
2. การเล่าเรื่องควรอ้างอิงจากเรื่องของชาวอาหรับและชาวมุสลิมที่เผชิญกับความเจ็บปวดจาก
ISIS
3. วีดีโอจะมีคนสนใจมากยิ่งขึ้นเมื่อถูกเผยแพร่ผ่านช่องที่ไม่ใช่ของรัฐบาล
4. วีดีโอและภาพ จากเหตุการณ์จริงในปฏิบัติการตอบโต้ ISIS เป็นที่ต้องการอย่างมาก
นี่เป็นครั้งแรกที่ ISIS ได้รับความพ่ายแพ้จากโซเชียลมีเดีย ซึ่งถือเป็นการเติบโตที่สาคัญมาก
ของการสื่อสารและโซเชียลมีเดียในการใช้เป็นกลยุทธ์เพื่อเอาชนะการก่อการร้าย
เอกสารอ้างอิง
Eric Heginbotham, Michael Nixon, Forrest E. Morgan, Jacob Heim, Jeff Hagen, Sheng
Li, Jeffrey Engstrom, Martin C. Libicki, Paul DeLuca, David A. Shlapak, David R.
Frelinger, Burgess Laird, Kyle Brady, Lyle J. Morris, “An Interactive Look at the U.S.-
China Military Scorecard”. http://www.rand.org/paf/projects/us-china-scorecard.html
Javier Lesaca, “Fight against ISIS reveals power of social media”. http://
www.brookings.edu/blogs/techtank/posts/2015/11/19-isis-social-media-power-lesaca
Jonah Blank, Jennifer D. P. Moroney, Angel Rabasa, Bonny Lin, “Look East, Cross Black
Waters India's Interest in Southeast Asia”. http://www.rand.org/pubs/research_reports/
RR1021.html
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER
วิกฤตของรัฐชาติสมัยใหม่ในอาหรับ
“รัฐอาหรับตามแบบแปลนเก่านั้น ไม่สามารถฟื้นฟูขึ้นมาได้อีกแล้ว แม้ว่ามหาอานาจ
ภายนอกพยายามจะทามากแค่ไหนก็ตาม”
นี่เป็นบทสรุปที่ Yezid Sayigh นักวิชาการชาวเลบานอน จากสถาบัน Carnegie Middle East
ในกรุงเบรุตบอกไว้ในบทความของเขาเรื่อง The Crisis of the Arab Nation-State
ใจความสาคัญที่เขาจะบอกคือ สิ่งที่บ่อนทาลายระบอบรัฐชาติสมัยใหม่ของอาหรับมากที่สุดใน
เวลานี้ ไม่ได้มีเพียง IS หรือการเข้ามาแทรกแซงของสหรัฐและยุโรปเท่านั้น แต่คือ การ
พังทลายจากภายใน ของรูปแบบการจัดสังคมการเมืองที่เรียกว่า “รัฐชาติ (nation-state)”
เพราะไม่อาจตอบสนองต่อแรงกดดันที่เพิ่มมากขึ้นในสังคม นี่เป็นสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นกับรัฐชาติ
อาหรับแต่ละรัฐเวลานี้ จากอิยิปต์ ถึงตูนิเซีย จากซีเรียถึงซาอุดิอาระเบีย ทั่วไปทั้งดินแดนตะวันออก
กลาง
ทาไม “รัฐชาติ” จึงไม่ประสบความสาเร็จ ไม่สาเร็จแบบถึงขั้นกาลังจะพังทลายในสังคมอาหรับ?
ตอบสั้นที่สุดในความหมายของผู้เขียนบทความนี้ก็คงจะเป็นว่า รัฐชาติสมัยใหม่ เป็นของของตะวันตก
ที่เป็นสิ่งแปลกปลอม ไม่สามารถอยู่ในสังคมอาหรับได้อีกต่อไป
แล้วทาไมรัฐชาติในอาหรับต้องมาพังในเวลานี้ ทั้งๆที่อยู่มาได้ก็ตั้งนานหลายทศวรรษ ตั้งแต่
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นต้นมา หลังอาณาจักรกาหลิบแห่งออตโตมาน ซึ่งอยู่ในรูปแบบจักรวรรดิ
อิสลามได้ล่มสลายไป Yezid ได้ให้คาตอบไว้ว่า เป็นเพราะระยะราวสองทศวรรษที่ผ่านมานี้ ภายใต้
สภาพที่ “เหล่ารัฐชาติ” ในตะวันออกกลาง เป็นรัฐชาติของเผด็จการทหารนั้น มีความเปลี่ยนแปลงใน
สังคมสะสมก่อตัวขึ้นจนเป็นแรงกดดันทางสังคมอันมหาศาล ซึ่งรัฐชาติแต่ละรัฐในอาหรับไม่อาจแบกรับ
หรือปรับตัวแก้ปัญหาได้ทันอีกต่อไปแล้ว
Yezid วิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้นไว้ว่ามีสามประการ อย่างแรกที่มีผลกระทบใหญ่หลวงที่สุดกับ
รัฐชาติคือ การเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลของประชากรในแถบตะวันออกกลาง ที่เขาใช้คาว่า “ระเบิด” ขึ้น
(explosion of population) เกิดคนรุ่นใหม่ขึ้นจานวนมาก ผลที่ตามมาในทางเศรษฐกิจก็คือจานวน
แรงงานที่มากขึ้น อัตราการว่างงาน โอกาสในตลาดแรงงานที่ไม่เท่าเทียมกัน ผลในทางการเมืองก็คือ
กลุ่มคนรุ่นใหม่ก็มีทัศนคติทางการเมืองแตกต่างหลากหลาย ซึ่งส่วนหนึ่งก็เป็นผลจากช่องทางการรับ
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สื่อ ข่าวสาร ข้อมูลที่หลากหลายมากขึ้นด้วย เหล่านี้รวมกันเป็นแรงกดดันทางสังคม
ปัจจัยต่อมาคือ ช่องว่างทางรายได้ในสังคม ซึ่งมีสูงมากอยู่แล้ว จากระบบเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยมอุปถัมภ์ (crony economic liberalization) ที่ความมั่งคั่งอยู่ในมือของกลุ่มชนชั้นนาจานวน
น้อย ก็ยิ่งกว้างขึ้นอีก ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจนี้ยิ่งถูกซ้าเติมลงเมื่อรายได้หลักของรัฐ
เหล่านี้ที่มาจากการขายน้ามันลดลงอย่างมากในช่วงปีสองปีที่ผ่านมา
ข้อสุดท้ายคือ การเสื่อมสลายของสายสัมพันธ์แบบจารีตในสังคมอาหรับ จากสาเหตุหลายๆ
ประการรวมๆกัน เช่น ระบบเศรษฐกิจที่เป็นทุนนิยมมากขึ้น ส่งผลต่อวิถีชีวิต ความไม่สงบ ความ
รุนแรง จากการสู้รบและสงครามน้อยใหญ่ในภูมิภาคตลอดทศวรรษที่ผ่านมาก็ย่อมส่งผลเช่นกัน
ปัญหาเหล่านี้เกิดจากหลายสาเหตุและสะสมบ่มเพาะมาในระยะเวลาที่ยาวนาน เมื่อรัฐ
อาหรับต่างตกอยู่ใต้ระบอบเผด็จการที่ยากต่อการเปิดรับการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงค่อนข้าง
ช้า ก็เลยกลายเป็นรัฐที่ล้มเหลวไปตามๆกัน และเปิดช่องให้แก่อานาจอื่นเข้ามาอ้างความสามารถใน
การจัดการสังคมที่ดีกว่าให้ประชาชน รวมทั้งเสนออุดมการณ์หลอมรวมภายใต้ศาสนาอิสลาม ซึ่ง
ถึงแม้จะบิดเบือน แต่ก็เป็นอะไรที่เข้าถึงผู้คนและสังคมอาหรับอย่างทรงพลังกว่าแนวคิดเรื่องรัฐสมัย
ใหม่ ประชาธิปไตย ความทันสมัย หรือค่านิยมอื่นๆแบบตะวันตก อัลกออิดะห์ และโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง IS คืออานาจอื่นที่ว่านั้น
รากเหง้าของวิกฤตผู้ลี้ภัยในยุโรป
ในบทความเรื่อง The Roots of Europe’s Refugee Crisis ของสถาบัน Carnegie (Europe)
ที่รวมความเห็นจากนักวิชาการของสถาบัน Carnegie ทั่วโลก Maha Yahya นักวิชาการจากสถาบัน
Carnegie Middle East ประจากรุงเบรุต ประเทศเลบานอน ได้ให้ความเห็นที่น่าสนใจในเรื่องที่เป็น
พื้นฐานของปัญหา ดังนี้
ทาไมผู้อพยพจากตะวันออกกลางถึงต้องอพยพ?
ทาไมต้องอพยพไปยุโรป?
คลื่นผู้อพยพเปลี่ยนแปลงหน้าตาของตะวันออกกลางอย่างไร?
ทาไมผู้อพยพจากตะวันออกกลางถึงต้องอพยพ?
การอพยพระลอกนี้ถือเป็นปัญหาผู้อพยพที่ใหญ่ที่สุดที่ยุโรปเจอหลังจากสงครามโลกครั้งที่
สอง (ครั้งนั้นชาวยิวอพยพหนีนาซีเยอรมัน) สงครามในซีเรียเป็นตัวกระตุ้นหลัก สี่ปีที่ผ่านมามีผู้ชาว
ซีเรียอพยพออกจากประเทศของตนแล้ว 12 ล้านคน คิดเป็นหนึ่งในห้าของผู้อพยพในโลกนี้
สงคราม ที่ต่อเนื่องมาถึงสี่ปี นับแต่ปี 2011 ที่เริ่มจากการกบฏล้มรัฐบาลอัซซาด มาถึงตอนนี้ก็ยังไม่
สาเร็จ และนอกจากจะล้มอัซซาดไม่ได้แล้ว ยังมี IS โผล่ขึ้นมาอีก ยังไม่นับกองทัพต่างชาติทั้ง สหรัฐ
ยุโรป รัสเซียที่เข้ามาพัวพันในสงคราม สงครามไม่มีทีท่าจะจบเลยในเวลาอันใกล้ ไม่มีสัญญาณที่ดี
ทั้งด้านการทหาร การทูต หรือวิธีใดในการยุติปัญหาในซีเรียเลย
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การอพยพนั้นมีมากโดยเฉพาะในกลุ่มชนชั้นกลางของซีเรีย ชายหนุ่มซีเรียก็อพยพเพราะไม่
อยากถูกบังคับเกณฑ์ทหารเข้ากองทัพซีเรีย ซึ่งไม่เคยมีการบังคับก่อนหน้านี้
นอกจากชาวซีเรีย ก็ยังมีผู้อพยพจากชาติอื่นในแถบตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ทั้ง
ชาวอิรักกว่า 4 ล้านคน และจากอัฟกานิสถาน ลิเบีย ซูดาน โซมาเลีย เยเมน คนเหล่านี้ก็อพยพหนี
การสู้รบการก่อการร้าย ความรุนแรง ในประเทศของตนมาเช่นกัน
ทาไมต้องอพยพไปยุโรป?
ทาไมต้องเป็นยุโรป นี่คือคาถามสาคัญซึ่งไม่ค่อยมีคนถามกันอย่างจริงจัง บทความนี้บอกว่า
การลี้ภัยไปที่ประเทศอื่นที่ดูสงบ ปลอดภัยกว่าในภูมิภาค เช่น เลบานอน จอร์แดน ตุรกี ซึ่งเปิดรับผู้
ลี้ภัยนั้นก็มีจานวนมาก นับเป็นจานวนถึงหนึ่งในสามของผู้อพยพในโลกนี้ แต่ชีวิตของผู้อพยพใน
ประเทศเหล่านี้ก็ไม่ดีนัก คือ ต้องอาศัยอยู่ในค่ายผู้อพยพตามชายแดน ซึ่งรัฐบาลควบคุมอย่าง
เข้มงวด ประมาณค่ายผู้อพยพชาวกะเหรี่ยงตามชายแดนไทย-พม่า ชีวิตคนในค่ายเหล่านี้ “เหมือน
คนพิการ” คือ ไม่สามารถหางานทาเองได้อย่างอิสระ ไม่สามารถเดินทางไปไหนได้อย่างอิสระ ชีวิต
ต้องขึ้นอยู่กับความช่วยเหลือจากผู้อื่น เพียงแค่ความช่วยเหลือลดลงไปหรือขาดช่วงก็อาจส่งผล
กระทบต่อชีวิตของผู้ลี้ภัยที่อยู่ในค่ายได้ทันที สุดท้ายจึงเป็นไปไม่ได้เลยสาหรับผู้อพยพที่อาศัยอยู่ใน
ค่ายเหล่านี้ที่จะวางแผนเกี่ยวกับอนาคตของตนหรือครอบครัวของตน
ส่วนประเทศอื่นในตะวันออกกลางที่ดูมีศักยภาพ คือพวกประเทศอ่าวที่ร่ารวย เช่น
ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ คูเวต ก็ไม่เต็มใจที่จะเปิดรับประเทศแก่ผู้ลี้ภัยหรือแม้แต่ให้เงินช่วยเหลือทาง
มนุษยธรรม
เมื่ออพยพไปประเทศอื่นที่ดีกว่าในภูมิภาคไม่ได้ หรือไปแล้วก็มีชีวิตที่ไม่ดี ไม่มีอนาคต ไม่
มั่นคง จึงเป็นเหตุผลที่ผู้อพยพจึงตัดสินใจไปยุโรป ซึ่งนอกจากจะเป็นที่ๆ ปลอดภัย (โดยเฉพาะก่อน
การโจมตีในปารีส) มีเศรษฐกิจที่ดีกว่า การเมืองก็มีเสถียรภาพกว่าแน่ๆแล้ว ยังไม่ไกลหรือแม้แต่ใกล้
กว่าเดินทางไปประเทศอ่าวเปอร์เซียด้วยซ้า เพราะจากซีเรีย ขึ้นเหนือสู่ตุรกี ก็ต่อไปยังกรีซ ประตูสู่
ยุโรปได้แล้ว นอกจากนั้น ยังมีข้อมูลว่า ค่าเดินทางของการอพยพสู่ยุโรปก็ลดลงด้วยจากประมาณ
5,000-6,000 เป็น 2,000-3,000 ดอลลาร์
คลื่นผู้อพยพเปลี่ยนแปลงหน้าตาของตะวันออกกลางอย่างไร?
Maha Yahya ชี้ให้เห็นตัวอย่างว่า เมื่อมองในภาพรวมดีๆแล้ว วิกฤตผู้อพยพก็มีมุมที่สร้าง
ปัญหาในระดับสังคมด้วย เช่น การที่มีคนตะวันออกกลางในประเทศต่างๆที่กล่าวมา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งชาวซีเรียและอิรัก อพยพย้ายถิ่นฐานไปสู่ประเทศอื่นในภูมิภาคหรือออกสู่ยุโรป ก็จะ
เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมือง (political landscape) ของซีเรีย อิรัก และแต่ละประเทศใน
ตะวันออกกลางอื่นๆ เช่น เลบานอนจอร์แดน และตุรกีซึ่งเป็นประเทศผู้รับผู้อพยพไปโดยสิ้นเชิง ทั้ง
ในระยะสั้นและระยะยาว
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มองในทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันคนซีเรียเกือบร้อยละ 80 กลายเป็นคนยากจน เทียบกับซีเรียไม่กี่
ปีก่อนหน้านี้ก่อนสงครามกลางเมืองและ IS ที่ถือว่าร่ารวยในภูมิภาค คนซีเรียเกือบสิบล้านคนมีอาหาร
ไม่พอประทังชีวิต และเด็กราวสองล้านคนไม่ได้ไปโรงเรียน นอกจากนี้ สาหรับประเทศผู้รับในภูมิภาค
ตะวันออกกลาง ผู้อพยพที่ยากจนที่หนีสงครามมาก็ยังไปแย่งทรัพยากรคนประเทศนั้นๆ ด้วย
ปัญหาเหล่านี้ไม่ค่อยได้รับความสนใจจากผู้ติดตามเรื่องภูมิภาคตะวันออกกลางส่วนใหญ่ใน
เวลานี้ ซึ่งมุ่งไปที่ปัญหาเฉพาะหน้า คือเรื่องการทหาร ความมั่นคง การเมืองภายในและการเมือง
ระหว่างประเทศเป็นหลัก แต่มันเป็นอีกมุมหนึ่งของปัญหาที่ได้เกิดขึ้นแล้ว และจะมีผลกระทบใหญ่
หลวงอย่างแน่นอนต่อภูมิภาคตะวันกลางเอง รวมทั้งภูมิภาคอื่นที่เกี่ยวข้องในระยะยาว
เอกสารอ้างอิง
Yezid Sayigh. The Crisis of the Arab Nation-State. Carnegie Middle East Center.ออนไลน์:
http://carnegie-mec.org/2015/11/19/crisis-of-arab-nation-state/im36
Maha Yahya. The Roots of Europe’s Refugee Crisis. Carnegie Europe ออนไลน์: http://
carnegieeurope.eu/2015/10/01/roots-of-europe-s-refugee-crisis/iie3
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
CARNEGIE-TSINGHUA CENTER
CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
CARNEGIE-TSINGHUA CENTER
ปารีส อียู กับนโยบายต่างประเทศของจีน
ในบทความเรื่อง Paris, The EU, and China’s Foreign Policy ของสถาบัน Carnegie-
Tsinghua ประจากรุงปักกิ่ง ซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสาร The diplomat ด้วยนั้น ได้เสนอว่า จีนควรยืนอยู่
ข้างยุโรปในเวลาที่เป็นช่วง”รับกรรม”นี้ และร่วมถกเถียงเกี่ยวกับอนาคตของยุโรป
ปี 2015 นี้เป็นปีที่สภาพแวดล้อมในการต่างประเทศของจีนซับซ้อนขึ้นมาก หลายประเด็น
เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลกระทบต่อจีน การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ของจีนกับสหรัฐเข้มข้นขึ้นในเอเชีย
โดยเฉพาะในทะเลจีนใต้ วิกฤตการเงินยูโรโซนเมื่อช่วงต้นปีถึงกลางปี ก็กระทบกับการส่งออกสินค้า
ของจีนไปยุโรป ความวุ่นวายในตะวันออกกลาง ได้แก่สงครามซีเรียเป็นหลัก ก็อาจจะก่อปัญหาให้การ
เติบโตทางเศรษฐกิจของจีนได้ เพราะตะวันออกกลางเป็นแหล่งนาเข้าน้ามันหลักของจีน และอย่าลืมว่า
ระเบียบทางสังคมการเมืองในจีนปัจจุบันนั้น ยึดโยงกับการมีอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง เรื่อง
นี้จึงไม่ใช่ว่าจะไม่สามารถส่งผลมาถึง “ความสงบสุขในบ้านเมืองจีน” อีกเรื่องที่ชัดเจนกว่าก็คือ การ
ผงาดขึ้นมาอย่างเข้มแข็งของกลุ่มอิสลามหัวรุนแรงในโลกช่วงสามสี่ปีมานี้ เป็นภัยโดยตรงต่อความ
มั่นคงของปักกิ่งในซินเจียง
การโจมตีปารีสเมื่อวันที่ 13 พ.ย.ที่ผ่านมายิ่งเพิ่มความซับซ้อนให้สภาพแวดล้อมการ
ต่างประเทศของจีนขึ้นไปอีก บทความดังกล่าวมองในมุมที่ว่า การโจมตีปารีสจะเปลี่ยนโฉมยุโรปหรืออี
ยูจากการเป็นยุโรปที่เปิดกว้างยอมรับความแตกต่าง เน้นหลักความร่วมมือ เดินทางเชื่อมกันโดยเสรี
ให้เป็นยุโรปที่เป็นป้อมปราการ ยุโรปที่หวาดระแวง ยุโรปที่มีมาตรการตรวจสอบควบคุมการเดินทาง
ของคนและสิ่งของอย่างเข้มงวด ซึ่งเป็นสิ่งที่แน่นอนว่าจีนไม่ได้คาดไว้ หรืออยากให้เป็นในโครงการ
เชื่อมต่อจีนผ่านเอเชียกลางเข้าสู่ยุโรป หรือ One Belt, One Road ที่รัฐบาลสีจิ้นผิงหวังจะสร้างให้เป็น
งานชิ้นโบว์แดงของตน
อย่างไรก็ดี บทความนี้ชี้ให้เห็นอีกด้านว่า ยุโรปที่อ่อนกาลังลง ยุโรปที่ต้องทุ่มเทสรรพกาลัง
หัวสมอง คนเก่งไปกับการ “การาบ” ตะวันออกกลาง ก็อาจเป็นผลดีกับจีน ประมาณว่าถ้ามองในด้านที่
ยุโรปเป็นคู่แข่งกับจีน ยุโรปตอนนี้ก็ต้องไปจมปลักอยู่กับตะวันออกกลาง ตามๆสหรัฐไป จีนก็จะ
สามารถเพิ่มบทบาทตัวเองขึ้นมาในเวทีโลกได้ง่ายขึ้น
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ยุโรป จาก “เศรษฐกิจนา” สู่ “ความมั่นคงนา”
นอกจากนี้ บทความดังกล่าวยังขยายความว่ายุโรปหรืออียูที่เคยขับเคลื่อนด้วยการใช้
“เศรษฐกิจนา” ยุโรปที่สลายพรมแดนทางการเมืองลง ยุโรปที่เปลี่ยนอัตลักษณ์ของตนจากทวีปที่เคย
ก่อกาเนิดสงครามโลกมาสองครั้ง มาเป็นยุโรปที่รวมกันเป็นหนึ่งเดียว อย่างสันติ ภายใต้การใช้
เศรษฐกิจระบบตลาดเดียวเป็นตัวนา ยุโรปแบบนี้ได้กลายเป็นอดีต
ยุโรปจากนี้คือ ยุโรปที่เศรษฐกิจพัง ชะงักงัน ด้วยนโยบายการเงินการคลังที่ผิดพลาด อัน
เป็นผลจากการรวมตลาดให้เป็นหนึ่งเดียว ระหว่างประเทศศูนย์กลางที่เศรษฐกิจเติบโต กับประเทศ
ชายขอบของยุโรปที่เศรษฐกิจไม่ดีเท่า
และเป็นยุโรปที่ผิดพลาดทางนโยบายการต่างประเทศมาตลอด โดยเฉพาะกับตะวันออก
กลาง ที่ไปเดินตามสหรัฐ ไล่ล้มระบอบเผด็จการในยุคอาหรับสปริง โดยไม่ระวังผลเรื่องเสถียรภาพ
ของสังคมซึ่งขบวนการประชาธิปไตยยังไม่เข้มแข็งและสุดท้ายก็ถูก “ปาดหน้า” ไปด้วยกลุ่มหัว
รุนแรง ในส่วนของยุโรปคือนโยบายที่เป็นตัวนาหลักในการล้มระบอบในลิเบียและซีเรีย ซึ่งไปสร้าง
ให้เกิด “ช่องว่างทางอานาจ” เมื่อระบอบเผด็จการที่เคยปกครองประเทศมาหลายทศวรรษถูกอานาจ
ต่างชาติล้มไปอย่างกะทันหัน เปิดโอกาสให้ IS เข้ามาเสียบแทน
ยุโรปทุกวันนี้จึงเป็นยุโรปที่ใช้ “ความมั่นคงนา” ไม่ใช่ “เศรษฐกิจนา” อีกต่อไป เป็นยุโรปที่
ความสาคัญลาดับแรกกลายเป็นการหาทางเอาตัวรอด รักษาความปลอดภัยในชีวิต แทนที่จะมุ่งการ
เติบโตทางเศรษฐกิจอีกแล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งระดับรัฐบาลของชาติต่างๆและระดับอียูโดยรวม
ท่าทีเชิงรุกของจีน
ตอนท้าย บทความนี้เสนอว่าจีนควรตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใดๆก็ตามในยุโรปอย่าง
ใกล้ชิด รอบคอบ มองผลในระยะยาว และโดยเฉพาะอย่างยิ่งควรตอบสนองด้วยการทูตแบบเชิงรุก
เช่น จีนน่าจะใช้โอกาสที่เศรษฐกิจยุโรปตกต่า เข้าไปลงทุนเพื่อสร้างงานให้คนยุโรป อันจะเป็นการได้
ทั้งสองฝ่าย จีนจะได้ทั้งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ กระชับความสัมพันธ์กับยุโรปให้แน่นแฟ้น และได้
ใจคนยุโรป คนยุโรปก็จะได้มีงานทา อันจะช่วยรักษาเสถียรภาพทางสังคม ลดโอกาสที่ยุโรปจะถลา
ไปสู่สังคมขวาจัด
ต่อประเด็นตะวันออกกลาง โดยเฉพาะความวุ่นวายในซีเรีย บทความดังกล่าวเสนอให้จีน
ร่วมมือกับอียูอย่างใกล้ชิดในการ “หาทางออก” ต่อปัญหาตะวันออกกลาง แต่ให้ร่วมมือโดยยึด
หลักการที่ว่า “ตะวันออกกลางที่สงบสุขและเจริญก้าวหน้าเป็นสิ่งที่ดีต่อโลกใบนี้ และสิ่งนี้
จะต้องเป็นความสาคัญลาดับแรกของการเข้าแทรกแซงใดๆในภูมิภาค ถ้าจีนจะร่วมด้วย
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS)
จีนจัดอันดับ Think Tank โลก
สถาบัน The Chinese Evaluation Center for Humanities and Social Sciences
(CECHSS) สังกัด the Chinese Academy of Social Sciences (CASS) Think Tank ชั้นนาด้าน
สังคมศาสตร์ของจีน ได้ประกาศการจัดอันดับสถาบัน Think Tank ชั้นนาของโลก 100 อันดับแรก
โดยสถาบันทางวิชาการของจีนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 พ.ย. 2558 ที่กรุงปักกิ่ง
ในการจัดอันดับของ CASS นี้ มีสถาบัน Think Tank ที่ติดอันดับจากประเทศต่างๆทั่วโลก
31 ประเทศ 3 อันดับแรกตกเป็นของ สถาบัน The Carnegie Endowment for International
Peace ของสหรัฐอเมริกา สถาบัน Bruegel จากเบลเยี่ยม และสถาบัน Heritage Foundation ของ
สหรัฐ ตามลาดับ
ตามมาด้วย สถาบัน Chatham House (Royal Institute of International Affairs) ของ
ประเทศอังกฤษ the Stockholm International Peace Research Institute ของสวีเดน และ
Brookings ของสหรัฐ ส่วนสถาบัน Konrad-Adenauer-Stiftung สานักงานปักกิ่ง ของประเทศ
เยอรมันนี และ Development Research Center of the State Council of China (DRC) ของจีน
ก็ติดอยู่ใน 10 อันดับแรกด้วย
ในการจัดอันดับนี้ได้ตัดสถาบัน CASS ซึ่งเป็น Think Tank ด้านสังคมศาสตร์ อันดับหนึ่ง
ของจีนออก เพื่อแสดงความโปร่งใส เกณฑ์หลักที่ใช้ในการประเมินมี 3 ประการคือ ความน่าดึงดูด
น่าสนใจ การบริหารจัดการองค์กร และผลกระทบที่สถาบันนั้นสร้างขึ้น (attraction power, man-
agement power and impact) วัตถุประสงค์หลักของการจัดอันดับ Think Tank โลกครั้งนี้ Gao
Xiang เลขาธิการของ CASS กล่าวว่าคือ การแสดงออกว่าวงวิชาการจีนให้ความสาคัญกับการ
ยกระดับระบบประเมิน Think Tank โลกให้โปร่งใสเป็นธรรมมากขึ้น และเป็นการเพิ่มพลังทางวาท
กรรมของวงวิชาการจีนในวงวิชาการระดับระหว่างประเทศ
เอกสารอ้างอิง
Shi Zhiqin, Lai Suetyi, Vasilis Trigkas. Paris, The EU, and China’s Foreign Policy. Carne-
gie-Tsinghua. ออนไลน์: http://carnegietsinghua.org/2015/11/20/paris-eu-and-china-s-
foreign-policy/im7d
Zhong Zhe. Rankings offer reference for global think tank construction.Chinese Acad-
emy of Social Science. ออนไลน์: http://casseng.cssn.cn/news_events/news_events_
news_briefing/201511/t20151123_2708801.html.
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ KLANGPANYA IN-
STITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ
การประชุมเวที เครือข่ายนักวิจัยคลังปัญญา
มีผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมเพื่อให้ความคิดเห็น ดังนี้
1. ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
2. ศาสตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม
3. รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์
4. อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์
โดยมีประเด็นที่น่าสนใจดังนี้
บทบำทของประเทศตุรกีในพื้นที่สำมจังหวัดชำยแดนภำคใต้
นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ จากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ลงพื้นที่ศึกษา
บทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน
การพัฒนาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของ
ประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้กับประเทศมุสลิมอื่นๆ โดยขณะนี้ ความก้าวหน้า
ของงานวิจัย พบว่า มีองค์กรและหน่วยงานจากตุรกีที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือในไทย ซึ่งเข้ามาให้
ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน สร้างอาคารที่พักและมัสยิดให้กับเด็กกาพร้า จัดรถรับส่งเด็ก
กาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน ให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน
รวมถึงการสนับสนุนทุนการศึกษาและการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี
ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำสู่ปี ค.ศ. 2030
ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระแสบูรพำภิวัตน์
อาจารย์ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย
รังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษานโยบายของ
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ พบว่า ทั้งสองประเทศได้ยอมรับในกระแสบูรพาภิวัตน์ ทั้งทางการทูต
การค้า นวัตกรรมเมืองและวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา หรือแม้แต่นวัตกรรมการเกษตร ล้วน
เป็นไปตามกระแสบูรพาภิวัตน์และหันหน้าเข้าสู่เอเชีย แม้ว่าด้านความมั่นคงจะอิงทางฝั่งตะวันตกก็
ตาม ยิ่งเมื่อศึกษานโยบายทางเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ยิ่งเห็นชัดว่าทั้งสองประเทศ
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กาลังมุ่งเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งในเอเชีย โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้ประมาณการใน Australia in the
Asian Century ว่าในปี 2025 กระแสศตวรรษของเอเชียจะสมบูรณ์และจะเปลี่ยนเศรษฐกิจโลก เมื่อดู
สถิติการค้าระหว่างออสเตรเลียกับเอเชีย พบว่า ยอดการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรระหว่างจีนกับ
ออสเตรเลียเพิ่มจากปีละ 800 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียในปี 1990 เป็น 2,500 ล้านดอลลาร์
ออสเตรเลียในปี 2000 และในปี 2010 มียอดซื้อขายถึง 4,800 ล้านดอลลาร์ ส่วนอาเซียนในปี 1990
ยอดซื้อขายอยู่ที่ 1,400 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และในปี 2010 เพิ่มขึ้นเป็น 7,000 ล้านดอลลาร์
ออสเตรเลีย และญี่ปุ่นเพิ่มจาก 3,000 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียในปี 1990 เป็น 4,100 ล้านดอลลาร์
ออสเตรเลียในปี 2010 ในขณะที่กับประเทศตะวันตกต่างถดถอยอย่างเห็นได้ชัด
ส่วนรัฐบาลนิวซีแลนด์ที่ได้ประมาณการใน Our Future with Asia ว่ากระแสบูรพาภิวัฒน์จะ
สมบูรณ์ในปี 2035 เมื่อพิจารณาจากการค้าระหว่างเอเชียกับนิวซีแลนด์ พบว่ายอดนาเข้าสินค้าจาก
จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย เพิ่มจากเดิม 4,000
ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 1990 เป็น 15,000 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 2005 และยอดส่งออก
เพิ่มจาก 4,100 ดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 1990 เป็น 9,500 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 2005 ด้าน
ท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวจากจีนเพิ่มจาก 84,368 คน เป็น 258,570 คน ในระยะเวลา 10 ปี รวมถึงมี
นักท่องเที่ยวอินเดียเพิ่มจาก 15,694 คน เป็น 42,790 คน
ขบวนกำรรัฐอิสลำม (Islamic State ; IS) ในฐำนะตัวแสดงระหว่ำงประเทศ
: นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษา
ขบวนการรัฐอิสลาม หรือ IS ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
และไทย ซึ่งตัวแสดงระหว่างประเทศแบ่งเป็นตัวแสดงที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐ โดยในโลกยุคปัจจุบัน ตัว
แสดงที่มิใช่รัฐได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยสาเหตุสาคัญจากกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งโลกยุคหลัง
9/11 ตัวแสดงที่มิใช่รัฐที่มีบทบาทโดดเด่นขึ้นมา คือ ขบวนการก่อการร้าย โดยเฉพาะกลุ่มอัลกออิ
ดะห์ แต่ในช่วงราวๆ 5 ปีที่ผ่านมา (ค.ศ.2010-2015) ขบวนการก่อการร้ายที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทและ
มีผู้คนให้ความสนใจอย่างมากจากความโหดเหี้ยมที่สามารถเขย่าขวัญคนทั่วโลกได้ก็คือ ขบวนการ
รัฐอิสลาม
ซึ่งงานชิ้นนี้ได้กล่าวถึงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับขบวนการรัฐอิสลาม เพื่อสร้างความเข้าใจ
เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวแสดงที่กาลังมีอิทธิพลสาคัญในการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในภูมิภาค
ตะวันออกกลาง และกาลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนเพื่อสร้างความ
เข้าใจที่ถูกต้องต่อความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดอุดมการณ์ของขบวนการรัฐอิสลาม กับแนวคิดของ
ศาสนาอิสลามตามแก่นแท้ อันจะช่วยขจัดทรรศนะคติที่เหมารวม รวมถึงมายาคติของการหวาดกลัว
อิสลาม (Islamophobia) ที่เป็นปัจจัยขวางกั้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ซึ่งขณะนี้อยู่
ระหว่างการเก็บข้อมูลทั้งเชิงเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึก
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กำรเปลี่ยนผ่ำนไปสู่กำรเป็น “อำนำจขนำดกลำง”
กรณีศึกษำประเทศ อินโดนีเซีย ตุรกี และบรำซิล
อาจารย์จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูตและการต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษากรณี
ประเทศตุรกี พบว่า ตุรกีได้วางตาแหน่งของตนภายใต้กรอบประเทศอานาจขนาดกลางมาตั้งแต่
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัต
ของการเมืองภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพ
ทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดรัฐประหารแม้จะมีกองกาลังขนาดใหญ่และมี
อุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง โดยปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนว
หน้าของประเทศในตะวันออกกลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจาการทั้งหมดประมาณ
678,617 คน(Hürriyet, 2013, March 5)
ทางด้านเศรษฐกิจ ตุรกีถือว่าเป็นประเทศมุสลิมที่มีสถานภาพและอัตราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจที่ดีและมีเสถียรภาพมาก จากข้อมูลของ CIA ตุรกีเป็นประเทศมุสลิมหนึ่งเดียวที่ถูก
ยกระดับให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ส่วนด้านการดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกี ค่อนข้างมี
ความเป็นอิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือใน
ประเด็นใดก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จาเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านก็จะแสดงจุดยืนอย่าง
แข็งกร้าว แต่ถึงแม้ตุรกีจะประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมืองระหว่าง
ประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
17
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ติดต่อเรา
 วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัด
ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558

  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2558 นับว่าเป็นเดือนที่สถาบันวิจัยนโยบายเกือบทุกแห่งในสหรัฐ และยุโรป ต่างจับจ้องรายงานข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับภูมิภาคตะวันออกกลางมากเป็นพิเศษ โดย เฉพาะที่เกี่ยวข้องกลุ่ม ISIS สร้างความหวาดหวั่นให้กับโลกอย่างมากคือ เหตุการณ์การโจมตีที่ กรุงปารีสจนมีผู้เสียชีวิตจานวนมาก ในส่วนยุโรปเอง นอกจากเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจที่ผ่านมา เวลานี้ยังซ้าเติมด้วยปัญหาความมั่นคง และปัญหาวิกฤตผู้ลี้ภัยจากซีเรียอย่างมหาศาล นอกกจากนี้ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง พบว่า สถาบัน Carnegie Middle East ในกรุง เบรุต เป็นสถาบันวิจัยนโยบายหนึ่งที่น่าสนใจที่เน้น การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ในตะวันออก กลาง ในเดือนนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ก็ได้นาบทวิเคราะห์เรื่อง The Crisis of the Arab Nation- State มานาเสนอ ในภูมิภาคเอเชีย มีรายงานจาก CASS ที่น่าสนใจคือ จีนเริ่มหันมาจัดอันดับ Think Tank ของโลกด้วยตนเอง ผลการประเมินพบว่า จาก 31 ประเทศทั่วโลก 3 อันดับแรกตกเป็นของ สถาบัน The Carnegie Endowment for International Peace ของสหรัฐอเมริกา สถาบัน Bruegel จากเบล เยี่ยม และสถาบัน Heritage Foundation ของสหรัฐ ตามลาดับ จะต่างจากที่มีการจัดอันดับโดย สถาบันในสหรัฐอเมริกา โดยมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ก่อนหน้านี้ สาหรับผลงานของสถาบันคลังปัญญาฯ เอง ก็ให้น้าหนักในเรื่องที่เชื่อมโยงกับประเทศใน ตะวันออกกลางไม่น้อย รวมทั้งบทบาทของตุรกี และการทาความเข้าใจเรื่องกลุ่ม ISIS รายละเอียดต่างๆ สามารถติดตามอ่านเนื้อหาสรุปได้ใน World Think Tank ฉบับเดือน พฤศจิกายน 2558 นี้ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1  CHATHAM HOUSE 1  EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 2 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 4  RAND 4  BROOKINGS 5 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ด้านภูมิภาคตะวันออกกลาง 7  CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 11  CARNEGIE-TSINGHUA CENTER 11  CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS) 13 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 14  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT) 14
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย CHATHAM HOUSE การโจมตีปารีส: ธรรมาภิบาลคือหนทางในการโค่นล้มกลุ่ม ISIS เหตุการณ์โศกนาฏกรรมที่กลุ่มผู้ก่อการร้าย ISIS ได้โจมตีกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสในวันที่ 13 พฤศจิกายนที่ผ่านมาจนเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตกว่าร้อยรายนั้นได้สร้างความโกรธแค้นให้แก่ รัฐบาลฝรั่งเศสรวมถึงประเทศพันธมิตรเป็นอย่างมาก โดยล่าสุดฝรั่งเศสได้ตอบโต้อย่างทันควันด้วย การส่งเครื่องบินรบโจมตีทางอากาศไปยังเมือง Raqqa ทางตอนเหนือของซีเรียซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของ กลุ่ม ISIS อย่างไรก็ตาม Dr. Neil Quilliam หัวหน้า Middle East and North Africa Programme ของ สถาบัน Chatham House กลับมีความเห็นว่า การโจมตีทางอากาศและทาลายทรัพยากรในพื้นที่เพื่อ ตัดแหล่งเงินทุนของกลุ่มผู้ก่อการร้ายอาจไม่เพียงพอที่จะทาให้สามารถโค่นล้มกลุ่ม ISIS ลงได้อย่าง ถาวร ทั้งนี้การจะปราบปรามและป้องกันภัยคุกคามจากการก่อการร้ายต่อภูมิภาคยุโรปได้ในระยะ ยาวจาเป็นต้องอาศัยธรรมาภิบาลหรือการกากับดูและที่ดี (Governance) เป็นเครื่องมือหลัก ควบคู่กับการสนับสนุนจากประชาคมระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ผู้นาโลกตะวันตกจะต้อง ทาความเข้าใจถึงเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดกลุ่ม ISIS รวมไปถึงการดารงอยู่ของภาคประชาชนในพื้นที่ซีเรีย และอิรักจานวนมากที่ให้การสนับสนุน ISIS เพื่อแลกกับความคุ้มครองและบริการสาธารณะ โดย นอกจากการก่อความไม่สงบแล้ว ISIS ยังดาเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างจริงจังในซีเรียและอิรัก ซึ่งถือเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มโดยการโน้มน้าวให้ประชาชนในพื้นที่รู้สึกว่าการเมืองและรัฐบาลใน ปัจจุบันอ่อนแอและเปราะบาง และ ISIS เป็นเพียงทางเลือกเดียวที่จะช่วยคุ้มครองประชาชนได้ จึง ไม่น่าแปลกใจที่ชาวมุสลิมซึ่งให้การสนับสนุนกลุ่ม ISIS มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น วิธีการเดียวที่โลกตะวันตกจะสามารถบั่นทอนความมั่นคงของ ISIS ในซีเรียและอิรักลง ได้คือการทาให้ประชาชนซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ ISIS เล็งเห็นถึงทางเลือกที่น่าเชื่อถือและ มั่นคงกว่าที่เป็นอยู่โดยการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนในระดับท้องถิ่นพร้อมทั้งเสนอบริการ สาธารณะที่ดีกว่า ซึ่งโลกตะวันตกจะต้องให้ความสาคัญกับการส่งเสริมแนวคิดท้องถิ่นปกครองตนเอง ควบคู่กับการเสริมพลังความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้พึ่งพากลุ่ม ISIS น้อยลง
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS การเดินหน้าแก้ไขปัญหาในยุโรป เหตุการณ์ก่อการร้ายที่เกิดขึ้นในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสเป็นเสมือนจุดแตกหักสาคัญที่ นาไปสู่การเริ่มต้นสงครามครั้งใหม่ระหว่างโลกตะวันตกกับกับกลุ่มก่อการร้ายในรัฐอิสลามขึ้นอย่าง จริงจัง การโจมตีกรุงปารีสครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้นแตกต่างจากการก่อการร้ายที่เคยผ่านมาที่เน้นโจมตี สถานที่สาคัญของรัฐดังเช่นเหตุการณ์ 9/11 ที่เคยเกิดขึ้นกับสหรัฐอเมริกา แต่ครั้งนี้กลุ่ม ISIS กลับ พุ่งเป้าหมายไปยังสนามฟุตบอล ร้านกาแฟและเวทีแสดงคอนเสิร์ตซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์ที่สะท้อนถึง วิถีชีวิตของชาวฝรั่งเศสแทน ซึ่งวิธีการดังกล่าวได้กระจายความหวาดกลัวไปยังประชาชนได้มากขึ้น เป็นเท่าทวีคูณ แต่อย่างไรก็ตาม การประกาศสงครามและตอบโต้กลุ่มก่อการร้ายด้วยวิธีทางการทหารซึ่ง ฝรั่งเศสและประเทศพันธมิตรเลือกใช้มาตลอดอาจจะยิ่งนาไปสู่ความสูญเสียที่มากขึ้น เนื่องจากใน ปัจจุบันกลุ่ม ISIS ซึ่งได้ขยายเครือข่ายไปอย่างกว้างขวางก็มีศักยภาพในการทาสงครามไม่น้อยไม่ น้อยไปกว่าประชาคมยุโรปเช่นกัน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องใช้วิธีการทางการทูตเป็นหลักในเพื่อจัดการ ปัญหาดังกล่าวและควบคุมให้มีการโจมตีเท่าที่จาเป็นเพื่อเป็นการรักษาสวัสดิภาพของประชาชนชาว ซีเรียอีกจานวนมากซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้ง และการแทรกแซงทางการทหารของ ยุโรปควรผ่านกระบวนการประนีประนอมและความเห็นชอบจากประเทศต่างๆในภูมิภาค นอกจากนี้ ยังควรผลักดันให้ UN กลายเป็นกลไกหลักที่ประชาคมระหว่างประเทศสามารถใช้คว่าบาตรหรือ ดาเนินนโยบายโดดเดี่ยวรัฐบาลรัฐอิสลามซึ่งให้การช่วยเหลือแก่กลุ่ม ISIS สิ่งหนึ่งที่ยุโรปต้องทาความเข้าใจสาหรับกรณีที่เกิดขึ้นคือท่าทีของตัวแสดงในระดับภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นอิหร่านและซาอุดิอาระเบียซึ่งเป็นรัฐอิสลามที่มีจุดยืนตรงข้ามกับยุโรปอย่างชัดเจน รวม ไปถึงมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาซึ่งครอบครองกาลังทหารไว้มหาศาล ในขณะที่รัสเซียก็เป็นอีก หนึ่งประเทศที่พยายามเข้ามามีบทบาทในเหตุการณ์ครั้งนี้ ประชาคมยุโรปต้องพยายามสร้าง กฎเกณฑ์ทางการทูตใหม่โดยสร้างความร่วมมือที่เป็นเอกภาพระหว่างประเทศที่มีเครื่องมือทาง การทหารที่เข้มแข็งในขณะที่ประเทศอื่นๆ ก็ต้องร่วมกันสร้างกระบวนการประนีประนอมให้เกิดขึ้นใน ซีเรีย สาหรับปัญหาผู้ลี้ภัยที่หลั่งไหลเข้ามาสู่เป็นจานวนมากในขณะนี้กาลังทาให้ประชาคมยุโรป ต้องเผชิญกับวิกฤตประชากรล้นเกินกว่าที่ศักยภาพของแต่ละประเทศจะรองรับได้ ยุโรปจึงควร แก้ปัญหาด้วยการกระจายผู้ลี้ภัยไปยังพื้นที่อื่น โดยสนับสนุนให้ประเทศที่ยังมีขีดความสามารถ รองรับผู้ลี้ภัยได้เช่นประเทศมุสลิมอย่างเลบานอนรับผู้ลี้ภัยไปอยู่ภายการดูแลมากขึ้น
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวโดยสรุป จากกรณีปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้น นักวิชาการของ ECFR ต่างมีความเห็นพ้องถึง ความจาเป็นในการกาหนดนโยบายที่สามารถตอบสนองกับความท้าทายที่ยุโรปกาลังเผชิญนั่นคือการ ร่วมมือกันสร้างมาตรการความปลอดภัยควบคู่กับการเดินหน้าทางการทูตตามวิถีประชาธิปไตยเพื่อ ยุติปัญหาซีเรียและการก่อการร้ายให้สิ้นสุด เอกสารอ้างอิง ECFR Paris Staff. Forging a European resolve. European Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commentary_forging_a_european_resolve5014 Neil Quilliam. Paris Attacks: Governance, Not Airstrikes, Will Topple ISIS in Syria. Chathum House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/paris-attacks- governance-not-airstrikes-will-topple-isis-syria
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา RAND BROOKINGS เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย RAND วัดกำลัง จีน : สหรัฐ ใครแน่กว่ำกัน..? กว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ที่กองทัพปลดแอกประชาชนจีน ได้ทาการเปลี่ยนตัวเองจากกองทัพ ที่มีความยิ่งใหญ่แต่ล้าหลังสู่กองทัพที่มีความร่วมสมัยมากขึ้น ถึงแม้จะยังล้าหลังกว่าสหรัฐอเมริกา ทั้งในเรื่องของอุปกรณ์และทักษะการดาเนินงาน แต่ก็ได้มีการปรับปรุงในพื้นที่สาคัญหลายพื้นที่ ซึ่ง RAND ได้ประมวลดัชนีระหว่างกองทัพของสหรัฐอเมริกาและจีน ในด้านกองกาลัง ภูมิศาสตร์ และ การพัฒนาการถ่วงดุลอานาจไว้ โดยประเมินจากการโจมตีทางอากาศของจีนที่ได้มีการพัฒนา ขีปนาวุธที่มีประสิทธิภาพและแข็งแกร่งมากขึ้น การแข่งขันกันเป็นจ้าวทางอากาศระหว่างจีนและ สหรัฐอเมริกา ซึ่งทั้งสองประเทศได้แข่งกันปรับปรุง พัฒนากองทัพอากาศและเครื่องบินรบของตน และความสามารถในการบุกและโจมตีน่านฟ้าจีนของสหรัฐอเมริกา ในบริเวณข้อพิพาทไต้หวันและ หมู่เกาะสแปรตลีย์ ที่ในช่วงหลังมานี้จีนแข็งแกร่งขึ้น และกลายเป็นอุปสรรคท้าทายสหรัฐอเมริกา แต่ สหรัฐอเมริกาก็ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตนยังเหนือกว่าจีน นอกจากนี้ยังมีเรื่องการต่อต้านการรบภาคพื้นดินของจีน ที่ระหว่างปี 1996 – 2015 จานวน เรือดาน้ารุ่นใหม่ของจีนได้พุ่งทยานจาก 2 ลา เป็น 41 ลา และในจานวนนี้ มี 37 ลาที่ติดตั้งเครื่องยิง จรวด หรือ ตอปิโด ด้านสหรัฐอเมริกาที่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กลับมาให้ความสนใจในการพัฒนา ขีปนาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง ที่สามารถทาลายศัตรูได้ทั้งใต้น้าและบนบก และการตอบโต้ใน อวกาศของสหรัฐอเมริกาและจีน ในเรื่องนี้สหรัฐอเมริกามีความได้เปรียบจีน เนื่องจากมีดาวเทียม กว่า 500 ดวงในขณะที่จีนมีเพียง 100 กว่าดวง แต่จีนก็พยายามเร่งเพื่อที่จะตามให้ทัน นอกจากนี้ ยังมีสงครามไซเบอร์ระหว่างสองประเทศ ซึ่งจีนได้จัดตั้งหน่วยงานด้านไซเบอร์ตั้งเเต่ช่วงปลายปี 1990 ขณะที่สหรัฐอเมริกานั้น ได้จัดตั้งกองบัญชาการไซเบอร์ในปี 2009 อย่างไรก็ตามภายใต้ เงื่อนไขของช่วงเวลาสงคราม สหรัฐอเมริกานั้นอาจไม่ได้อ่อนเเอด้านไซเบอร์อย่างที่หลายฝ่ายคาด กองบัญชาการไซเบอร์นั้นได้ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยงานความมั่นคงอย่างจริงจังด้วยเครื่องมือ อันทันสมัยที่มีความซับซ้อนอย่างยิ่ง และสุดท้ายคือความมั่นคงด้านนิวเคลียร์ ที่ตั้งแต่ปี 1996 เป็น ต้นมา จีนมีการพัฒนานิวเคลียร์ของตนให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มว่าในปี 2017 ทั้งจีนและสหรัฐอเมริกา จะสะสมอาวุธนิวเคลียร์ลดลง แต่หัวรบ ของสหรัฐก็ยังถือว่ามีมากอยู่ดี แต่ถึงอย่างนั้นผู้นาในทุกประเทศก็ไม่ควรที่จะประมาทความสามารถ ด้านนิวเคลียร์ของจีน BROOKINGS กำรตอบโต้ ISIS ด้วยพลังของโซเชียลมีเดีย Brookings ได้ตั้งข้อสังเกตว่าทุกครั้งก่อนที่ ISIS จะก่อการร้าย จะมีการปล่อยสื่อมัลติมีเดียทาง โซเชียลมีเดีย ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการก่อการร้ายที่เกิดขึ้น ดังตัวอย่าง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2558 14 วันก่อนการโจมตีปารีส ISIS ปล่อยวีดีโอสนับสนุนคนหนุ่มสาวในฝรั่งเศสให้เข้าร่วมกับกลุ่มก่อการ ร้าย คล้ายๆ กับสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อ 26 มิถุนายน พ.ศ.2558 ที่ ISIS โจมตีเมืองลียง หนึ่งเดือนก่อนหน้า นั้น ISIS ได้ปล่อยวีดีโอลงบนโซเชียลมีเดียสนับสนุนให้คนฝรั่งเศสรุ่นใหม่เข้าร่วมกับการก่อการร้าย และสุดท้าย หนึ่งเดือนก่อนเหตุการณ์โจมตีออฟฟิศของ Charlie Hebdo เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา ISIS ได้ปล่อยวีดีโอที่กลุ่มคนฝรั่งเศสรุ่นใหม่ได้ขอเข้าร่วมกลุ่มก่อการร้าย ข้อเท็จจริงนี้มีความสาคัญมากกว่าที่เคย ในการวิเคราะห์และทาความเข้าใจบทบาทของการใช้ สื่อมัลติมีเดียในการปลุกระดมผู้ก่อการร้ายและเป็นแนวทางตอบโต้การก่อการร้ายอย่างมีประสิทธิภาพ ในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558 หน่วย Delta ของสหรัฐอเมริกาถูกฆ่าระหว่างการโจมตีเพื่อ ช่วยเหลือตัวประกันชาวเคิร์ด 70 คน จาก ISIS ในอิรัก การปฏิบัติการทางทหารครั้งนี้ได้ช่วยชีวิตตัว ประกันได้ 70 คน ในเวลาเดียวกัน การโจมตีได้ทาให้เห็นถึงแนวทางและกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพมาก ขึ้นในการเอาชนะ ISIS ซึ่งไม่เพียงแต่ในสมรภูมิรบแต่ยังหมายถึงในทางโซเชียลมีเดียและความ คิดเห็นของประชาชนอีกด้วย การปฏิบัติการช่วยเหลือถูกถ่ายทาผ่านกล้องที่ติดไว้บนหมวกทหารของทหารชาวเคิร์ดคนหนึ่ง ที่อยู่ในกลุ่มปฏิบัติการนั้นด้วย สองวันหลังการปฏิบัติการ ภาพถูกปล่อยออกมาในโซเชียลมีเดียของ ชาวเคิร์ดที่ชื่อว่า Rudaw และวีดีโอนี้ได้กลายเป็นปรากฏการณ์ที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วในโซเชียลมีเดีย มีผู้เข้าชมมากกว่า 1.2 ล้านครั้งในเวลาเพียง 5 วันเท่านั้น ซึ่งมากกว่าจานวนผู้เข้าชมวีดีโอของ กระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่ทาไว้เมื่อปี 2557 เพื่อตอบโต้ ISIS ถึง 10 เท่า วีดีโอนี้ได้แสดงภาพของการช่วยเหลือโดยมีองค์ประกอบหลักที่ทาให้ถูกเผยแพร่ไปอย่าง รวดเร็วในโซเชียลมีเดีย คือ ความยาว 4 นาที เป็นภาพที่น่าตกใจ สะท้อนวัฒนธรรม และเป็นเรื่องจริง ที่สะเทือนอารมณ์ ความสาเร็จของแคมเปญนี้ คือ วีดีโอดังกล่าวถูกโพสต์ผ่าน 6 ทวิตเตอร์ โดยเฉพาะเพื่อการ โต้ตอบกลุ่ม ISIS ในโซเชียลมีเดีย ซึ่งมีผู้เล่นทวิตเตอร์กว่า 711,313 คน ที่เข้าถึงโพสต์ดังกล่าวนี้
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การโจมตีในอิรัก เป็นบทเรียนสาคัญสาหรับสหรัฐอเมริกาและประเทศพันธมิตรถึงวิธีต่อสู้กับ ISIS ด้วยสื่อดิจิตอล ซึ่งในอนาคตกองกาลังทหารต่างๆ การเมืองหรือ หน่วยการสืบราชการลับ ควรที่ จะนาวิธีนี้ไปพิจารณาใช้ โดยบทเรียนดังกล่าว แบ่งออกเป็น 4 ประการ ดังนี้ 1. การปฏิบัติงานของกองทัพในการต่อสู้กับการก่อการร้ายควรมาพร้อมกับกลยุทธ์การสื่อสาร แบบดิจิตอล ที่มีการเผยแพร่ในโซเชียลมีเดีย 2. การเล่าเรื่องควรอ้างอิงจากเรื่องของชาวอาหรับและชาวมุสลิมที่เผชิญกับความเจ็บปวดจาก ISIS 3. วีดีโอจะมีคนสนใจมากยิ่งขึ้นเมื่อถูกเผยแพร่ผ่านช่องที่ไม่ใช่ของรัฐบาล 4. วีดีโอและภาพ จากเหตุการณ์จริงในปฏิบัติการตอบโต้ ISIS เป็นที่ต้องการอย่างมาก นี่เป็นครั้งแรกที่ ISIS ได้รับความพ่ายแพ้จากโซเชียลมีเดีย ซึ่งถือเป็นการเติบโตที่สาคัญมาก ของการสื่อสารและโซเชียลมีเดียในการใช้เป็นกลยุทธ์เพื่อเอาชนะการก่อการร้าย เอกสารอ้างอิง Eric Heginbotham, Michael Nixon, Forrest E. Morgan, Jacob Heim, Jeff Hagen, Sheng Li, Jeffrey Engstrom, Martin C. Libicki, Paul DeLuca, David A. Shlapak, David R. Frelinger, Burgess Laird, Kyle Brady, Lyle J. Morris, “An Interactive Look at the U.S.- China Military Scorecard”. http://www.rand.org/paf/projects/us-china-scorecard.html Javier Lesaca, “Fight against ISIS reveals power of social media”. http:// www.brookings.edu/blogs/techtank/posts/2015/11/19-isis-social-media-power-lesaca Jonah Blank, Jennifer D. P. Moroney, Angel Rabasa, Bonny Lin, “Look East, Cross Black Waters India's Interest in Southeast Asia”. http://www.rand.org/pubs/research_reports/ RR1021.html
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER วิกฤตของรัฐชาติสมัยใหม่ในอาหรับ “รัฐอาหรับตามแบบแปลนเก่านั้น ไม่สามารถฟื้นฟูขึ้นมาได้อีกแล้ว แม้ว่ามหาอานาจ ภายนอกพยายามจะทามากแค่ไหนก็ตาม” นี่เป็นบทสรุปที่ Yezid Sayigh นักวิชาการชาวเลบานอน จากสถาบัน Carnegie Middle East ในกรุงเบรุตบอกไว้ในบทความของเขาเรื่อง The Crisis of the Arab Nation-State ใจความสาคัญที่เขาจะบอกคือ สิ่งที่บ่อนทาลายระบอบรัฐชาติสมัยใหม่ของอาหรับมากที่สุดใน เวลานี้ ไม่ได้มีเพียง IS หรือการเข้ามาแทรกแซงของสหรัฐและยุโรปเท่านั้น แต่คือ การ พังทลายจากภายใน ของรูปแบบการจัดสังคมการเมืองที่เรียกว่า “รัฐชาติ (nation-state)” เพราะไม่อาจตอบสนองต่อแรงกดดันที่เพิ่มมากขึ้นในสังคม นี่เป็นสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นกับรัฐชาติ อาหรับแต่ละรัฐเวลานี้ จากอิยิปต์ ถึงตูนิเซีย จากซีเรียถึงซาอุดิอาระเบีย ทั่วไปทั้งดินแดนตะวันออก กลาง ทาไม “รัฐชาติ” จึงไม่ประสบความสาเร็จ ไม่สาเร็จแบบถึงขั้นกาลังจะพังทลายในสังคมอาหรับ? ตอบสั้นที่สุดในความหมายของผู้เขียนบทความนี้ก็คงจะเป็นว่า รัฐชาติสมัยใหม่ เป็นของของตะวันตก ที่เป็นสิ่งแปลกปลอม ไม่สามารถอยู่ในสังคมอาหรับได้อีกต่อไป แล้วทาไมรัฐชาติในอาหรับต้องมาพังในเวลานี้ ทั้งๆที่อยู่มาได้ก็ตั้งนานหลายทศวรรษ ตั้งแต่ หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นต้นมา หลังอาณาจักรกาหลิบแห่งออตโตมาน ซึ่งอยู่ในรูปแบบจักรวรรดิ อิสลามได้ล่มสลายไป Yezid ได้ให้คาตอบไว้ว่า เป็นเพราะระยะราวสองทศวรรษที่ผ่านมานี้ ภายใต้ สภาพที่ “เหล่ารัฐชาติ” ในตะวันออกกลาง เป็นรัฐชาติของเผด็จการทหารนั้น มีความเปลี่ยนแปลงใน สังคมสะสมก่อตัวขึ้นจนเป็นแรงกดดันทางสังคมอันมหาศาล ซึ่งรัฐชาติแต่ละรัฐในอาหรับไม่อาจแบกรับ หรือปรับตัวแก้ปัญหาได้ทันอีกต่อไปแล้ว Yezid วิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้นไว้ว่ามีสามประการ อย่างแรกที่มีผลกระทบใหญ่หลวงที่สุดกับ รัฐชาติคือ การเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลของประชากรในแถบตะวันออกกลาง ที่เขาใช้คาว่า “ระเบิด” ขึ้น (explosion of population) เกิดคนรุ่นใหม่ขึ้นจานวนมาก ผลที่ตามมาในทางเศรษฐกิจก็คือจานวน แรงงานที่มากขึ้น อัตราการว่างงาน โอกาสในตลาดแรงงานที่ไม่เท่าเทียมกัน ผลในทางการเมืองก็คือ กลุ่มคนรุ่นใหม่ก็มีทัศนคติทางการเมืองแตกต่างหลากหลาย ซึ่งส่วนหนึ่งก็เป็นผลจากช่องทางการรับ
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สื่อ ข่าวสาร ข้อมูลที่หลากหลายมากขึ้นด้วย เหล่านี้รวมกันเป็นแรงกดดันทางสังคม ปัจจัยต่อมาคือ ช่องว่างทางรายได้ในสังคม ซึ่งมีสูงมากอยู่แล้ว จากระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมอุปถัมภ์ (crony economic liberalization) ที่ความมั่งคั่งอยู่ในมือของกลุ่มชนชั้นนาจานวน น้อย ก็ยิ่งกว้างขึ้นอีก ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจนี้ยิ่งถูกซ้าเติมลงเมื่อรายได้หลักของรัฐ เหล่านี้ที่มาจากการขายน้ามันลดลงอย่างมากในช่วงปีสองปีที่ผ่านมา ข้อสุดท้ายคือ การเสื่อมสลายของสายสัมพันธ์แบบจารีตในสังคมอาหรับ จากสาเหตุหลายๆ ประการรวมๆกัน เช่น ระบบเศรษฐกิจที่เป็นทุนนิยมมากขึ้น ส่งผลต่อวิถีชีวิต ความไม่สงบ ความ รุนแรง จากการสู้รบและสงครามน้อยใหญ่ในภูมิภาคตลอดทศวรรษที่ผ่านมาก็ย่อมส่งผลเช่นกัน ปัญหาเหล่านี้เกิดจากหลายสาเหตุและสะสมบ่มเพาะมาในระยะเวลาที่ยาวนาน เมื่อรัฐ อาหรับต่างตกอยู่ใต้ระบอบเผด็จการที่ยากต่อการเปิดรับการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงค่อนข้าง ช้า ก็เลยกลายเป็นรัฐที่ล้มเหลวไปตามๆกัน และเปิดช่องให้แก่อานาจอื่นเข้ามาอ้างความสามารถใน การจัดการสังคมที่ดีกว่าให้ประชาชน รวมทั้งเสนออุดมการณ์หลอมรวมภายใต้ศาสนาอิสลาม ซึ่ง ถึงแม้จะบิดเบือน แต่ก็เป็นอะไรที่เข้าถึงผู้คนและสังคมอาหรับอย่างทรงพลังกว่าแนวคิดเรื่องรัฐสมัย ใหม่ ประชาธิปไตย ความทันสมัย หรือค่านิยมอื่นๆแบบตะวันตก อัลกออิดะห์ และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง IS คืออานาจอื่นที่ว่านั้น รากเหง้าของวิกฤตผู้ลี้ภัยในยุโรป ในบทความเรื่อง The Roots of Europe’s Refugee Crisis ของสถาบัน Carnegie (Europe) ที่รวมความเห็นจากนักวิชาการของสถาบัน Carnegie ทั่วโลก Maha Yahya นักวิชาการจากสถาบัน Carnegie Middle East ประจากรุงเบรุต ประเทศเลบานอน ได้ให้ความเห็นที่น่าสนใจในเรื่องที่เป็น พื้นฐานของปัญหา ดังนี้ ทาไมผู้อพยพจากตะวันออกกลางถึงต้องอพยพ? ทาไมต้องอพยพไปยุโรป? คลื่นผู้อพยพเปลี่ยนแปลงหน้าตาของตะวันออกกลางอย่างไร? ทาไมผู้อพยพจากตะวันออกกลางถึงต้องอพยพ? การอพยพระลอกนี้ถือเป็นปัญหาผู้อพยพที่ใหญ่ที่สุดที่ยุโรปเจอหลังจากสงครามโลกครั้งที่ สอง (ครั้งนั้นชาวยิวอพยพหนีนาซีเยอรมัน) สงครามในซีเรียเป็นตัวกระตุ้นหลัก สี่ปีที่ผ่านมามีผู้ชาว ซีเรียอพยพออกจากประเทศของตนแล้ว 12 ล้านคน คิดเป็นหนึ่งในห้าของผู้อพยพในโลกนี้ สงคราม ที่ต่อเนื่องมาถึงสี่ปี นับแต่ปี 2011 ที่เริ่มจากการกบฏล้มรัฐบาลอัซซาด มาถึงตอนนี้ก็ยังไม่ สาเร็จ และนอกจากจะล้มอัซซาดไม่ได้แล้ว ยังมี IS โผล่ขึ้นมาอีก ยังไม่นับกองทัพต่างชาติทั้ง สหรัฐ ยุโรป รัสเซียที่เข้ามาพัวพันในสงคราม สงครามไม่มีทีท่าจะจบเลยในเวลาอันใกล้ ไม่มีสัญญาณที่ดี ทั้งด้านการทหาร การทูต หรือวิธีใดในการยุติปัญหาในซีเรียเลย
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การอพยพนั้นมีมากโดยเฉพาะในกลุ่มชนชั้นกลางของซีเรีย ชายหนุ่มซีเรียก็อพยพเพราะไม่ อยากถูกบังคับเกณฑ์ทหารเข้ากองทัพซีเรีย ซึ่งไม่เคยมีการบังคับก่อนหน้านี้ นอกจากชาวซีเรีย ก็ยังมีผู้อพยพจากชาติอื่นในแถบตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ทั้ง ชาวอิรักกว่า 4 ล้านคน และจากอัฟกานิสถาน ลิเบีย ซูดาน โซมาเลีย เยเมน คนเหล่านี้ก็อพยพหนี การสู้รบการก่อการร้าย ความรุนแรง ในประเทศของตนมาเช่นกัน ทาไมต้องอพยพไปยุโรป? ทาไมต้องเป็นยุโรป นี่คือคาถามสาคัญซึ่งไม่ค่อยมีคนถามกันอย่างจริงจัง บทความนี้บอกว่า การลี้ภัยไปที่ประเทศอื่นที่ดูสงบ ปลอดภัยกว่าในภูมิภาค เช่น เลบานอน จอร์แดน ตุรกี ซึ่งเปิดรับผู้ ลี้ภัยนั้นก็มีจานวนมาก นับเป็นจานวนถึงหนึ่งในสามของผู้อพยพในโลกนี้ แต่ชีวิตของผู้อพยพใน ประเทศเหล่านี้ก็ไม่ดีนัก คือ ต้องอาศัยอยู่ในค่ายผู้อพยพตามชายแดน ซึ่งรัฐบาลควบคุมอย่าง เข้มงวด ประมาณค่ายผู้อพยพชาวกะเหรี่ยงตามชายแดนไทย-พม่า ชีวิตคนในค่ายเหล่านี้ “เหมือน คนพิการ” คือ ไม่สามารถหางานทาเองได้อย่างอิสระ ไม่สามารถเดินทางไปไหนได้อย่างอิสระ ชีวิต ต้องขึ้นอยู่กับความช่วยเหลือจากผู้อื่น เพียงแค่ความช่วยเหลือลดลงไปหรือขาดช่วงก็อาจส่งผล กระทบต่อชีวิตของผู้ลี้ภัยที่อยู่ในค่ายได้ทันที สุดท้ายจึงเป็นไปไม่ได้เลยสาหรับผู้อพยพที่อาศัยอยู่ใน ค่ายเหล่านี้ที่จะวางแผนเกี่ยวกับอนาคตของตนหรือครอบครัวของตน ส่วนประเทศอื่นในตะวันออกกลางที่ดูมีศักยภาพ คือพวกประเทศอ่าวที่ร่ารวย เช่น ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ คูเวต ก็ไม่เต็มใจที่จะเปิดรับประเทศแก่ผู้ลี้ภัยหรือแม้แต่ให้เงินช่วยเหลือทาง มนุษยธรรม เมื่ออพยพไปประเทศอื่นที่ดีกว่าในภูมิภาคไม่ได้ หรือไปแล้วก็มีชีวิตที่ไม่ดี ไม่มีอนาคต ไม่ มั่นคง จึงเป็นเหตุผลที่ผู้อพยพจึงตัดสินใจไปยุโรป ซึ่งนอกจากจะเป็นที่ๆ ปลอดภัย (โดยเฉพาะก่อน การโจมตีในปารีส) มีเศรษฐกิจที่ดีกว่า การเมืองก็มีเสถียรภาพกว่าแน่ๆแล้ว ยังไม่ไกลหรือแม้แต่ใกล้ กว่าเดินทางไปประเทศอ่าวเปอร์เซียด้วยซ้า เพราะจากซีเรีย ขึ้นเหนือสู่ตุรกี ก็ต่อไปยังกรีซ ประตูสู่ ยุโรปได้แล้ว นอกจากนั้น ยังมีข้อมูลว่า ค่าเดินทางของการอพยพสู่ยุโรปก็ลดลงด้วยจากประมาณ 5,000-6,000 เป็น 2,000-3,000 ดอลลาร์ คลื่นผู้อพยพเปลี่ยนแปลงหน้าตาของตะวันออกกลางอย่างไร? Maha Yahya ชี้ให้เห็นตัวอย่างว่า เมื่อมองในภาพรวมดีๆแล้ว วิกฤตผู้อพยพก็มีมุมที่สร้าง ปัญหาในระดับสังคมด้วย เช่น การที่มีคนตะวันออกกลางในประเทศต่างๆที่กล่าวมา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวซีเรียและอิรัก อพยพย้ายถิ่นฐานไปสู่ประเทศอื่นในภูมิภาคหรือออกสู่ยุโรป ก็จะ เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมือง (political landscape) ของซีเรีย อิรัก และแต่ละประเทศใน ตะวันออกกลางอื่นๆ เช่น เลบานอนจอร์แดน และตุรกีซึ่งเป็นประเทศผู้รับผู้อพยพไปโดยสิ้นเชิง ทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มองในทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันคนซีเรียเกือบร้อยละ 80 กลายเป็นคนยากจน เทียบกับซีเรียไม่กี่ ปีก่อนหน้านี้ก่อนสงครามกลางเมืองและ IS ที่ถือว่าร่ารวยในภูมิภาค คนซีเรียเกือบสิบล้านคนมีอาหาร ไม่พอประทังชีวิต และเด็กราวสองล้านคนไม่ได้ไปโรงเรียน นอกจากนี้ สาหรับประเทศผู้รับในภูมิภาค ตะวันออกกลาง ผู้อพยพที่ยากจนที่หนีสงครามมาก็ยังไปแย่งทรัพยากรคนประเทศนั้นๆ ด้วย ปัญหาเหล่านี้ไม่ค่อยได้รับความสนใจจากผู้ติดตามเรื่องภูมิภาคตะวันออกกลางส่วนใหญ่ใน เวลานี้ ซึ่งมุ่งไปที่ปัญหาเฉพาะหน้า คือเรื่องการทหาร ความมั่นคง การเมืองภายในและการเมือง ระหว่างประเทศเป็นหลัก แต่มันเป็นอีกมุมหนึ่งของปัญหาที่ได้เกิดขึ้นแล้ว และจะมีผลกระทบใหญ่ หลวงอย่างแน่นอนต่อภูมิภาคตะวันกลางเอง รวมทั้งภูมิภาคอื่นที่เกี่ยวข้องในระยะยาว เอกสารอ้างอิง Yezid Sayigh. The Crisis of the Arab Nation-State. Carnegie Middle East Center.ออนไลน์: http://carnegie-mec.org/2015/11/19/crisis-of-arab-nation-state/im36 Maha Yahya. The Roots of Europe’s Refugee Crisis. Carnegie Europe ออนไลน์: http:// carnegieeurope.eu/2015/10/01/roots-of-europe-s-refugee-crisis/iie3
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย CARNEGIE-TSINGHUA CENTER CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย CARNEGIE-TSINGHUA CENTER ปารีส อียู กับนโยบายต่างประเทศของจีน ในบทความเรื่อง Paris, The EU, and China’s Foreign Policy ของสถาบัน Carnegie- Tsinghua ประจากรุงปักกิ่ง ซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสาร The diplomat ด้วยนั้น ได้เสนอว่า จีนควรยืนอยู่ ข้างยุโรปในเวลาที่เป็นช่วง”รับกรรม”นี้ และร่วมถกเถียงเกี่ยวกับอนาคตของยุโรป ปี 2015 นี้เป็นปีที่สภาพแวดล้อมในการต่างประเทศของจีนซับซ้อนขึ้นมาก หลายประเด็น เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลกระทบต่อจีน การแข่งขันทางยุทธศาสตร์ของจีนกับสหรัฐเข้มข้นขึ้นในเอเชีย โดยเฉพาะในทะเลจีนใต้ วิกฤตการเงินยูโรโซนเมื่อช่วงต้นปีถึงกลางปี ก็กระทบกับการส่งออกสินค้า ของจีนไปยุโรป ความวุ่นวายในตะวันออกกลาง ได้แก่สงครามซีเรียเป็นหลัก ก็อาจจะก่อปัญหาให้การ เติบโตทางเศรษฐกิจของจีนได้ เพราะตะวันออกกลางเป็นแหล่งนาเข้าน้ามันหลักของจีน และอย่าลืมว่า ระเบียบทางสังคมการเมืองในจีนปัจจุบันนั้น ยึดโยงกับการมีอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง เรื่อง นี้จึงไม่ใช่ว่าจะไม่สามารถส่งผลมาถึง “ความสงบสุขในบ้านเมืองจีน” อีกเรื่องที่ชัดเจนกว่าก็คือ การ ผงาดขึ้นมาอย่างเข้มแข็งของกลุ่มอิสลามหัวรุนแรงในโลกช่วงสามสี่ปีมานี้ เป็นภัยโดยตรงต่อความ มั่นคงของปักกิ่งในซินเจียง การโจมตีปารีสเมื่อวันที่ 13 พ.ย.ที่ผ่านมายิ่งเพิ่มความซับซ้อนให้สภาพแวดล้อมการ ต่างประเทศของจีนขึ้นไปอีก บทความดังกล่าวมองในมุมที่ว่า การโจมตีปารีสจะเปลี่ยนโฉมยุโรปหรืออี ยูจากการเป็นยุโรปที่เปิดกว้างยอมรับความแตกต่าง เน้นหลักความร่วมมือ เดินทางเชื่อมกันโดยเสรี ให้เป็นยุโรปที่เป็นป้อมปราการ ยุโรปที่หวาดระแวง ยุโรปที่มีมาตรการตรวจสอบควบคุมการเดินทาง ของคนและสิ่งของอย่างเข้มงวด ซึ่งเป็นสิ่งที่แน่นอนว่าจีนไม่ได้คาดไว้ หรืออยากให้เป็นในโครงการ เชื่อมต่อจีนผ่านเอเชียกลางเข้าสู่ยุโรป หรือ One Belt, One Road ที่รัฐบาลสีจิ้นผิงหวังจะสร้างให้เป็น งานชิ้นโบว์แดงของตน อย่างไรก็ดี บทความนี้ชี้ให้เห็นอีกด้านว่า ยุโรปที่อ่อนกาลังลง ยุโรปที่ต้องทุ่มเทสรรพกาลัง หัวสมอง คนเก่งไปกับการ “การาบ” ตะวันออกกลาง ก็อาจเป็นผลดีกับจีน ประมาณว่าถ้ามองในด้านที่ ยุโรปเป็นคู่แข่งกับจีน ยุโรปตอนนี้ก็ต้องไปจมปลักอยู่กับตะวันออกกลาง ตามๆสหรัฐไป จีนก็จะ สามารถเพิ่มบทบาทตัวเองขึ้นมาในเวทีโลกได้ง่ายขึ้น
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ยุโรป จาก “เศรษฐกิจนา” สู่ “ความมั่นคงนา” นอกจากนี้ บทความดังกล่าวยังขยายความว่ายุโรปหรืออียูที่เคยขับเคลื่อนด้วยการใช้ “เศรษฐกิจนา” ยุโรปที่สลายพรมแดนทางการเมืองลง ยุโรปที่เปลี่ยนอัตลักษณ์ของตนจากทวีปที่เคย ก่อกาเนิดสงครามโลกมาสองครั้ง มาเป็นยุโรปที่รวมกันเป็นหนึ่งเดียว อย่างสันติ ภายใต้การใช้ เศรษฐกิจระบบตลาดเดียวเป็นตัวนา ยุโรปแบบนี้ได้กลายเป็นอดีต ยุโรปจากนี้คือ ยุโรปที่เศรษฐกิจพัง ชะงักงัน ด้วยนโยบายการเงินการคลังที่ผิดพลาด อัน เป็นผลจากการรวมตลาดให้เป็นหนึ่งเดียว ระหว่างประเทศศูนย์กลางที่เศรษฐกิจเติบโต กับประเทศ ชายขอบของยุโรปที่เศรษฐกิจไม่ดีเท่า และเป็นยุโรปที่ผิดพลาดทางนโยบายการต่างประเทศมาตลอด โดยเฉพาะกับตะวันออก กลาง ที่ไปเดินตามสหรัฐ ไล่ล้มระบอบเผด็จการในยุคอาหรับสปริง โดยไม่ระวังผลเรื่องเสถียรภาพ ของสังคมซึ่งขบวนการประชาธิปไตยยังไม่เข้มแข็งและสุดท้ายก็ถูก “ปาดหน้า” ไปด้วยกลุ่มหัว รุนแรง ในส่วนของยุโรปคือนโยบายที่เป็นตัวนาหลักในการล้มระบอบในลิเบียและซีเรีย ซึ่งไปสร้าง ให้เกิด “ช่องว่างทางอานาจ” เมื่อระบอบเผด็จการที่เคยปกครองประเทศมาหลายทศวรรษถูกอานาจ ต่างชาติล้มไปอย่างกะทันหัน เปิดโอกาสให้ IS เข้ามาเสียบแทน ยุโรปทุกวันนี้จึงเป็นยุโรปที่ใช้ “ความมั่นคงนา” ไม่ใช่ “เศรษฐกิจนา” อีกต่อไป เป็นยุโรปที่ ความสาคัญลาดับแรกกลายเป็นการหาทางเอาตัวรอด รักษาความปลอดภัยในชีวิต แทนที่จะมุ่งการ เติบโตทางเศรษฐกิจอีกแล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งระดับรัฐบาลของชาติต่างๆและระดับอียูโดยรวม ท่าทีเชิงรุกของจีน ตอนท้าย บทความนี้เสนอว่าจีนควรตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใดๆก็ตามในยุโรปอย่าง ใกล้ชิด รอบคอบ มองผลในระยะยาว และโดยเฉพาะอย่างยิ่งควรตอบสนองด้วยการทูตแบบเชิงรุก เช่น จีนน่าจะใช้โอกาสที่เศรษฐกิจยุโรปตกต่า เข้าไปลงทุนเพื่อสร้างงานให้คนยุโรป อันจะเป็นการได้ ทั้งสองฝ่าย จีนจะได้ทั้งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ กระชับความสัมพันธ์กับยุโรปให้แน่นแฟ้น และได้ ใจคนยุโรป คนยุโรปก็จะได้มีงานทา อันจะช่วยรักษาเสถียรภาพทางสังคม ลดโอกาสที่ยุโรปจะถลา ไปสู่สังคมขวาจัด ต่อประเด็นตะวันออกกลาง โดยเฉพาะความวุ่นวายในซีเรีย บทความดังกล่าวเสนอให้จีน ร่วมมือกับอียูอย่างใกล้ชิดในการ “หาทางออก” ต่อปัญหาตะวันออกกลาง แต่ให้ร่วมมือโดยยึด หลักการที่ว่า “ตะวันออกกลางที่สงบสุขและเจริญก้าวหน้าเป็นสิ่งที่ดีต่อโลกใบนี้ และสิ่งนี้ จะต้องเป็นความสาคัญลาดับแรกของการเข้าแทรกแซงใดๆในภูมิภาค ถ้าจีนจะร่วมด้วย
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS) จีนจัดอันดับ Think Tank โลก สถาบัน The Chinese Evaluation Center for Humanities and Social Sciences (CECHSS) สังกัด the Chinese Academy of Social Sciences (CASS) Think Tank ชั้นนาด้าน สังคมศาสตร์ของจีน ได้ประกาศการจัดอันดับสถาบัน Think Tank ชั้นนาของโลก 100 อันดับแรก โดยสถาบันทางวิชาการของจีนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 พ.ย. 2558 ที่กรุงปักกิ่ง ในการจัดอันดับของ CASS นี้ มีสถาบัน Think Tank ที่ติดอันดับจากประเทศต่างๆทั่วโลก 31 ประเทศ 3 อันดับแรกตกเป็นของ สถาบัน The Carnegie Endowment for International Peace ของสหรัฐอเมริกา สถาบัน Bruegel จากเบลเยี่ยม และสถาบัน Heritage Foundation ของ สหรัฐ ตามลาดับ ตามมาด้วย สถาบัน Chatham House (Royal Institute of International Affairs) ของ ประเทศอังกฤษ the Stockholm International Peace Research Institute ของสวีเดน และ Brookings ของสหรัฐ ส่วนสถาบัน Konrad-Adenauer-Stiftung สานักงานปักกิ่ง ของประเทศ เยอรมันนี และ Development Research Center of the State Council of China (DRC) ของจีน ก็ติดอยู่ใน 10 อันดับแรกด้วย ในการจัดอันดับนี้ได้ตัดสถาบัน CASS ซึ่งเป็น Think Tank ด้านสังคมศาสตร์ อันดับหนึ่ง ของจีนออก เพื่อแสดงความโปร่งใส เกณฑ์หลักที่ใช้ในการประเมินมี 3 ประการคือ ความน่าดึงดูด น่าสนใจ การบริหารจัดการองค์กร และผลกระทบที่สถาบันนั้นสร้างขึ้น (attraction power, man- agement power and impact) วัตถุประสงค์หลักของการจัดอันดับ Think Tank โลกครั้งนี้ Gao Xiang เลขาธิการของ CASS กล่าวว่าคือ การแสดงออกว่าวงวิชาการจีนให้ความสาคัญกับการ ยกระดับระบบประเมิน Think Tank โลกให้โปร่งใสเป็นธรรมมากขึ้น และเป็นการเพิ่มพลังทางวาท กรรมของวงวิชาการจีนในวงวิชาการระดับระหว่างประเทศ เอกสารอ้างอิง Shi Zhiqin, Lai Suetyi, Vasilis Trigkas. Paris, The EU, and China’s Foreign Policy. Carne- gie-Tsinghua. ออนไลน์: http://carnegietsinghua.org/2015/11/20/paris-eu-and-china-s- foreign-policy/im7d Zhong Zhe. Rankings offer reference for global think tank construction.Chinese Acad- emy of Social Science. ออนไลน์: http://casseng.cssn.cn/news_events/news_events_ news_briefing/201511/t20151123_2708801.html.
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ KLANGPANYA IN- STITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ การประชุมเวที เครือข่ายนักวิจัยคลังปัญญา มีผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมเพื่อให้ความคิดเห็น ดังนี้ 1. ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ 2. ศาสตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม 3. รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ 4. อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ โดยมีประเด็นที่น่าสนใจดังนี้ บทบำทของประเทศตุรกีในพื้นที่สำมจังหวัดชำยแดนภำคใต้ นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ จากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ลงพื้นที่ศึกษา บทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน การพัฒนาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของ ประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้กับประเทศมุสลิมอื่นๆ โดยขณะนี้ ความก้าวหน้า ของงานวิจัย พบว่า มีองค์กรและหน่วยงานจากตุรกีที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือในไทย ซึ่งเข้ามาให้ ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน สร้างอาคารที่พักและมัสยิดให้กับเด็กกาพร้า จัดรถรับส่งเด็ก กาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน ให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน รวมถึงการสนับสนุนทุนการศึกษาและการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระแสบูรพำภิวัตน์ อาจารย์ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย รังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษานโยบายของ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ พบว่า ทั้งสองประเทศได้ยอมรับในกระแสบูรพาภิวัตน์ ทั้งทางการทูต การค้า นวัตกรรมเมืองและวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา หรือแม้แต่นวัตกรรมการเกษตร ล้วน เป็นไปตามกระแสบูรพาภิวัตน์และหันหน้าเข้าสู่เอเชีย แม้ว่าด้านความมั่นคงจะอิงทางฝั่งตะวันตกก็ ตาม ยิ่งเมื่อศึกษานโยบายทางเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ยิ่งเห็นชัดว่าทั้งสองประเทศ
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กาลังมุ่งเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งในเอเชีย โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้ประมาณการใน Australia in the Asian Century ว่าในปี 2025 กระแสศตวรรษของเอเชียจะสมบูรณ์และจะเปลี่ยนเศรษฐกิจโลก เมื่อดู สถิติการค้าระหว่างออสเตรเลียกับเอเชีย พบว่า ยอดการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรระหว่างจีนกับ ออสเตรเลียเพิ่มจากปีละ 800 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียในปี 1990 เป็น 2,500 ล้านดอลลาร์ ออสเตรเลียในปี 2000 และในปี 2010 มียอดซื้อขายถึง 4,800 ล้านดอลลาร์ ส่วนอาเซียนในปี 1990 ยอดซื้อขายอยู่ที่ 1,400 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และในปี 2010 เพิ่มขึ้นเป็น 7,000 ล้านดอลลาร์ ออสเตรเลีย และญี่ปุ่นเพิ่มจาก 3,000 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียในปี 1990 เป็น 4,100 ล้านดอลลาร์ ออสเตรเลียในปี 2010 ในขณะที่กับประเทศตะวันตกต่างถดถอยอย่างเห็นได้ชัด ส่วนรัฐบาลนิวซีแลนด์ที่ได้ประมาณการใน Our Future with Asia ว่ากระแสบูรพาภิวัฒน์จะ สมบูรณ์ในปี 2035 เมื่อพิจารณาจากการค้าระหว่างเอเชียกับนิวซีแลนด์ พบว่ายอดนาเข้าสินค้าจาก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย เพิ่มจากเดิม 4,000 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 1990 เป็น 15,000 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 2005 และยอดส่งออก เพิ่มจาก 4,100 ดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 1990 เป็น 9,500 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ในปี 2005 ด้าน ท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวจากจีนเพิ่มจาก 84,368 คน เป็น 258,570 คน ในระยะเวลา 10 ปี รวมถึงมี นักท่องเที่ยวอินเดียเพิ่มจาก 15,694 คน เป็น 42,790 คน ขบวนกำรรัฐอิสลำม (Islamic State ; IS) ในฐำนะตัวแสดงระหว่ำงประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษา ขบวนการรัฐอิสลาม หรือ IS ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย ซึ่งตัวแสดงระหว่างประเทศแบ่งเป็นตัวแสดงที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐ โดยในโลกยุคปัจจุบัน ตัว แสดงที่มิใช่รัฐได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยสาเหตุสาคัญจากกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งโลกยุคหลัง 9/11 ตัวแสดงที่มิใช่รัฐที่มีบทบาทโดดเด่นขึ้นมา คือ ขบวนการก่อการร้าย โดยเฉพาะกลุ่มอัลกออิ ดะห์ แต่ในช่วงราวๆ 5 ปีที่ผ่านมา (ค.ศ.2010-2015) ขบวนการก่อการร้ายที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทและ มีผู้คนให้ความสนใจอย่างมากจากความโหดเหี้ยมที่สามารถเขย่าขวัญคนทั่วโลกได้ก็คือ ขบวนการ รัฐอิสลาม ซึ่งงานชิ้นนี้ได้กล่าวถึงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับขบวนการรัฐอิสลาม เพื่อสร้างความเข้าใจ เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวแสดงที่กาลังมีอิทธิพลสาคัญในการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในภูมิภาค ตะวันออกกลาง และกาลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนเพื่อสร้างความ เข้าใจที่ถูกต้องต่อความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดอุดมการณ์ของขบวนการรัฐอิสลาม กับแนวคิดของ ศาสนาอิสลามตามแก่นแท้ อันจะช่วยขจัดทรรศนะคติที่เหมารวม รวมถึงมายาคติของการหวาดกลัว อิสลาม (Islamophobia) ที่เป็นปัจจัยขวางกั้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ซึ่งขณะนี้อยู่ ระหว่างการเก็บข้อมูลทั้งเชิงเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึก
  • 19. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กำรเปลี่ยนผ่ำนไปสู่กำรเป็น “อำนำจขนำดกลำง” กรณีศึกษำประเทศ อินโดนีเซีย ตุรกี และบรำซิล อาจารย์จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูตและการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ศึกษากรณี ประเทศตุรกี พบว่า ตุรกีได้วางตาแหน่งของตนภายใต้กรอบประเทศอานาจขนาดกลางมาตั้งแต่ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัต ของการเมืองภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพ ทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดรัฐประหารแม้จะมีกองกาลังขนาดใหญ่และมี อุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง โดยปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนว หน้าของประเทศในตะวันออกกลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจาการทั้งหมดประมาณ 678,617 คน(Hürriyet, 2013, March 5) ทางด้านเศรษฐกิจ ตุรกีถือว่าเป็นประเทศมุสลิมที่มีสถานภาพและอัตราการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ดีและมีเสถียรภาพมาก จากข้อมูลของ CIA ตุรกีเป็นประเทศมุสลิมหนึ่งเดียวที่ถูก ยกระดับให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ส่วนด้านการดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกี ค่อนข้างมี ความเป็นอิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือใน ประเด็นใดก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จาเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านก็จะแสดงจุดยืนอย่าง แข็งกร้าว แต่ถึงแม้ตุรกีจะประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมืองระหว่าง ประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
  • 20. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ติดต่อเรา  วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัด ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064