SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 163
Descargar para leer sin conexión
WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
แนวทางการจัดการเรียนรู้
ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
World-Class
Standard
School
Instruction
Guidelines




 สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 กระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการจัดการเรียนรู
                      ้
ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
World-Class
Standard
School
Instruction
Guidelines




        สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
       สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                           กระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
World-Class
Standard
School
Instruction
Guidelines

ปีที่พิมพ์	          พุทธศักราช	2554	
จำนวนพิมพ์	          1,300	เล่ม	
ลิขสิทธิ์เป็นของ   	 สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย	
	                    สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	                    กระทรวงศึกษาธิการ		
ISBN	                978-616-202-203-6	
พิมพ์ท
 ี่           ห้างหุ้นส่วนจำกัด	โรงพิมพ์อักษรไทย	(น.ส.พ.	ฟ้าเมืองไทย)		
	                    เลขที่	85,	87,	89,	91	ซอยจรัญสนิทวงศ์	40		
	                    ถนนจรัญสนิทวงศ์	แขวงบางยี่ขัน	เขตบางพลัด	กรุงเทพมหานคร	10700		
	                    โทร.	0-2424-4557,	0-2424-0694	โทรสาร	0-2433-2858	
	                    นายณัฐ	ปวิณวิวัฒน์	ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
สาร
                             สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


	            โรงเรียนมาตรฐานสากล	 (World-Class	 Standard	 School)	 เป็นนวัตกรรมการจัด	                
การศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 นำมาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการ	                    
ยกระดั บ การจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานเที ย บเท่ า สากล	 ผู้ เ รี ย นมี ศั ก ยภาพและ	      
ความสามารถแข่งขันทัดเทียมกับผู้เรียนของนานาประเทศ	       	         	
	            จากการศึกษาและวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
หลักสูตรของนานาประเทศ	 พบว่า	 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความสำคัญกับ	                      
การเรียนการสอนสาระการเรียนรู้เป็นลำดับแรก	 แต่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนด้าน	                    
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์น้อยมาก	 ซึ่งต่างกับหลักสูตรในหลายๆ	 ประเทศ	 อีกทั้งหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พ.ศ.	 2551	 ไม่สะท้อนให้เห็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้
เรียนที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่	 21	 อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมในเรื่อง	 การเรียนรู้
ภาษายุคดิจิทัล	การฝึกทักษะความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศ	การส่งเสริมสนุบสนุนให้
                	
ผู้เรียนมีการคิดประดิษฐ์และสร้างสรรค์งาน	 สามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพสูง	 ด้วยเหตุผลและ
ความจำเป็นดังกล่าว	สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	จึงมุ่งหวังให้โรงเรียนมาตรฐาน
สากล	 (World-Class	 Standard	 School)	 ทุกโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา	โดยเพิ่มเติมสาระความเป็นสากล	4	สาระ	ได้แก่	ทฤษฎีความรู้	(Theory	of	Knowledge)
การเขียนความเรียงขั้นสูง	 (Extended-Essay)	 กิจกรรมโครงงานสร้างสรรค์	 (CAS	 :	 Creativity,	
Action,	Service)	และโลกศึกษา	(Global	Education)	และให้ความสำคัญในการจัดให้ผู้เรียนได้เรียน
ภาษาต่างประเทศที่	 2	 อีกหนึ่งภาษา	 รวมทั้งการฝึกทักษะภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้นเพื่อต่อยอด
ความรู้ที่ได้จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	 2551	 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมี
คุณลักษณะเป็นพลโลกมีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ	 เป็นเยาวชนไทยรุ่นใหม่	 เป็นผู้ที่มี
ความเป็นเลิศทางวิชาการ	 สามารถสื่อสารได้สองภาษา	 ล้ำหน้าในทางความคิด	 สามารถผลิตงาน	                  
ได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตร่วมรับผิดชอบในสังคมโลก	 	               	         	
	            สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน	 หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า เอกสารแนวทาง	
                                                                                                      
การจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนครูผู้สอนและ	                   
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย	 ขอขอบคุณคณะทำงานและทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารฉบับนี้
ให้สำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้เป็นอย่างดี	


	            	 	 	                               (นายชินภัทร	ภูมิรัตน)	
	            	 	 	                     เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ

  1
   การจัดการเรียนรู้
       ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
       
       
       ทฤษฎีความรู้

 19
   (Theory
of
Knowledge
:
TOK)
       
       

 49
       การเขียนความเรียงขั้นสูง
       (Extended-Essay)
       
       
       การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์

 65
   (CAS
:
Creativity,
Action,
Service)

       
       

 87
       โลกศึกษา
       (Global
Education)
       
       

125
       ภาคผนวก
ตอนที่
  1
        การจัดการเรียนรูั
ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                            การจัดการเรียนรู้
                                            ในโรงเรียนมาตรฐานสากล


                                            การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล
                                            
                                                       

                                                 โ
    รงเรี ย นมาตรฐานสากล	 (World-Class	 Standard	 School)		
                                                       หมายถึง	 โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ
                                                       ที่ พึ ง ประสงค์	 (Learner	 Profile)	 เที ย บเคี ย งมาตรฐานสากล	
                                                                                                                               


                                            (World-Class	 Standard)	 ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก	 (World	 citizen)	
                                            พั ฒ นายกระดั บ คุ ณ ภาพจั ด การเรี ย นการสอนและการจั ด การด้ ว ยระบบ
                                            คุ ณ ภาพ	 เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ต ามมาตรฐานสากล	
                                            เป็นการต่อยอดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่เป็นมาตรฐานชาติ	 (ตามที่โรงเรียน
                                            ทุกโรงจะต้องดำเนินการ	 เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา	                
                                            โดย	สมศ.	ตาม	พ.ร.บ.	การศึกษาแห่งชาติ	 พ.ศ.	2542	และที่แก้ไขเพิ่มเติม	
                                            พ.ศ.	2545)		
                                            	         โดยภาพรวมคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐานของทั้งสองมาตรฐาน
                                            เหมือนกัน	 คือ	 การจัดการศึกษาให้คนในชาติเป็นคนเก่ง	 คนดี	 และมีความสุข
                                            ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ	 UNESCO	 โดยในศตวรรษที่	 21		                    
                                            ทุกประเทศได้มีการพัฒนาและใช้หลักสูตรการศึกษาที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้	
                                            Learn	 to	 know,	 Learn	 to	 be,	 Learn	 to	 do,	 เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึง
                                            ประสงค์ในฐานะพลเมืองของชาติ	 และ	 Learn	 to	 live	 together	 เพื่อสร้าง
                                            คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในฐานะพลโลก	(มาตรฐานที่	 1	คุณลักษณะของคนไทย
                                            ที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก)
จากข้ อ ค้ น พบในการศึ ก ษาวิ จั ย และติ ด ตามผลการใช้ ห ลั ก สู ต ร	                 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	 2544	 ที่ผ่านมา	 ประกอบกับข้อมูลจาก
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ	 ฉบั บ ที่	 10	 เกี่ ย วกั บ แนวทาง	                   
การพัฒนาคนในสังคมไทยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา
เยาวชนสู่ศตวรรษที่	 21	 ทำให้มีการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน		                               
พุทธศักราช	2544	เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช	 2551	 ที่มีความเหมาะสมชัดเจน	 ทั้งเป้าหมายของหลักสูตร	                              
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน	 ทักษะกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัต
                               ิ	
ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา	 โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์		                                
จุดหมาย	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน	 คุณลักษณะอันพึงประสงค์	 มาตรฐาน
การเรี ย นรู้ แ ละตั ว ชี้ วั ด ที่ ชั ด เจน	 เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ทิ ศ ทางในการจั ด ทำหลั ก สู ต ร		
การเรียนการสอนในแต่ละระดับ	 นอกจากนั้นได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน
ขั้นต่ำของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง	
และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น	
อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน	 เกณฑ์การจบการศึกษา
แต่ละระดับ	 และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้	 และมีความชัดเจนต่อการนำไปปฏิบัติ	 (สำนักวิชาการ
และมาตรฐาน,	หน้า	2,	2551)		




                             WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล


                                            	            โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียน
                                            ให้ มี ศั ก ยภาพเป็ น พลโลกโดยมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะให้ โ รงเรี ย นได้ พั ฒ นาต่ อ ยอด
                                            คุ ณ ลั ก ษณะของผู้ เ รี ย นตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน		        
                                            พุทธศักราช	2551	ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม	มีจิตสาธารณะ		         
                                            มี ส มรรถนะ	 ทั ก ษะและความรู้ พื้ น ฐานที่ จ ำเป็ น ในการดำรงชี วิ ต	 ตลอดจน	     
                                            การพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่	 21	โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน
                                            มีคุณธรรม	รักความเป็นไทย	ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์	 สร้างสรรค์	 มีทักษะ
                                            ด้านเทคโนโลยี	 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น	 และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น	             
                                            ในสังคมโลกได้อย่างสันติอันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน		
                                            
            เยาวชนไทยเติบโตในสังคมโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย
                                            เทคโนโลยี แ ละสติ ปั ญ ญาของมนุ ษ ย์	 เมื่ อ คำนึ ง ถึ ง อั ต ราการเปลี่ ย นแปลง	  
                                            ที่รวดเร็วและองค์ความรู้มหาศาลที่กำลังถูกสร้างขึ้น	 นักเรียนจำเป็นต้องมี
                                            ทักษะที่จำเป็นเพื่อเผชิญความเปลี่ยนแปลงและใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่า	 รัฐบาล
                                            สหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้ทักษะด้านเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ไป
                                            สู่ความเป็นเลิศในศตวรรษที่	 21	 แต่ข้อเสนอจากงานวิจัยของ	 enGauge	 21st	
                                            ได้ก้าวไกลไปกว่านั้น	 ด้วยการนำเสนอทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต	
                                            การเรียนรู้	และการทำงานในยุคเทคโนโลยี	ดังนี
       ้




                                                        รู้ภาษายุคดิจิทัล                  การคิดประดิษฐ์-สร้าง
                                                     Digital-Age Literacy                  Inventive Thinking

                                                                    การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

                                                 สื่อสารมีประสิทธิภาพ                          มีผลิตภาพสูง
                                              Effective Communication                        High Productivity


                                                                Academic Achievement
                                                  แผนภาพสัมฤทธิผลทางวิชาการในการเรียนรู้ในศตวรรษที่	21	
                                             (แปลความจาก	enGauge	21st	Century	Skills	:	www.ncrel.org/enGauge)
ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล
(Digital-Age
Literacy)


         ●	 มีความรู้พื้นฐาน	วิทยาศาสตร์	เศรษฐศาสตร์	เทคโนโลยี		


         ●
 รู้ภาษา	ข้อมูล	และทัศนภาพ	(Visual		Information	Literacies)	
                                                                        	

         ●	 รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสำนึกระดับโลก	 (Multicul-	   
tural	Literacy		Global	Awareness)		

การคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์
(Inventive
Thinking)

       ●	 ความสามารถในการปรับตัว-นำตน	 จัดการกับความซับซ้อน	 ใฝ่รู้		
                                                                     
สร้างสรรค์	กล้าเสี่ยง	คิดได้ในระดับสูงและมีเหตุมีผล	

การมีผลิตภาพสูง
(High
Productivity)

         ●	 ความสามารถในการจัดลำดับความสำคัญ	 วางแผน	 และบริหาร	

จัดการมุ่งผลสำเร็จ	 และใช้เครื่องมืออย่างมีประสิทธิผลในโลกแห่งความเป็น
จริงสามารถผลิตผลงานที่เหมาะสม	มีคุณภาพสูง	

การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล
(Effective
Communication)

         ●
 ความสามารถในการทำงานเป็นทีม	 การร่วมมือและสัมพันธ์ระหว่าง	             
บุคคล	 การสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์	 มีความรับผิดชอบต่อตนเอง	 สังคม	 และ
ส่วนรวม		
	         จากสภาพของความเป็นสังคมโลกในศตวรรษที่	 21	 ถูกขับเคลื่อน
ตามสภาพแวดล้อมในด้านต่างๆ	 ในโลกอย่างหลากหลาย	 จึงมีความจำเป็นต้อง
ยกระดับผู้เรียนให้ได้มาตรฐานสากล	 เพราะสังคมโลกปัจจุบันเป็นสังคมที่
ประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งในบ้านเราหรือย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศ	
สิ่ ง แรกที่ รี บ เร่ ง พั ฒ นาคนรุ่ น ใหม่	 คื อ	 ศั ก ยภาพที่ เ ป็ น สากล	 (Global	
Competency)	การที่ประเทศไทยเปิดประตูทางการค้า	มีกระแสการไหลเวียน
ของการลงทุนมายังประเทศไทย	 กำลังคนรุ่นใหม่จะต้องพัฒนาให้มีความ
พร้อมระดับสากลในเรื่องการใช้ภาษาที่เป็นสากล	 ในที่นี้หมายถึงภาษาอังกฤษ
หรือภาษาต่างประเทศที่	 2	 อื่นๆ	 การมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ	
ในขณะเดียวกั น ควรมีค วามรู้ สัง คมเรา	 สั งคมเขา	 เพื่อ สามารถปรับ รั บให้
เหมาะสมกับสภาพสังคมของเรา		
	         หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน	 พุ ท ธศั ก ราช	 2551		        
ในฐานะเป็นเครื่องมือของการพัฒนา	 หากเราไม่สามารถยกระดับคุณภาพ	                      
การศึกษาของเราให้อยู่ในระดับโลกได้	 แล้วเราจะดำรงคงอยู่ในสังคมโลก
ปัจจุบันได้อย่างไร	 เมื่อพิจารณา	 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน		                
พุทธศักราช	2551	ที่ได้กำหนดสมรรถนะสำคัญ	5	ประการ	ดังนี้	


                         WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล




                     1
      ความสามารถในการสื่อสาร

                             	        เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร	 มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
                             ความคิด	 ความรู้	 ความเข้าใจ	 ความรู้สึก	 และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล	             
                             ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม	รวมทั้งการ
                             เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ	 การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล
                 	
                             ข่ า วสารด้ ว ยหลั ก เหตุ ผ ลและความถู ก ต้ อ งตลอดจนการเลื อ กใช้ วิ ธี ก ารสื่ อ สารที่ มี
                             ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม	
                             

                   2
        ความสามารถในการคิด

                             
          เป็ น ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์	 การคิ ด สั ง เคราะห์	
                             การคิ ด อย่ า งสร้ า งสรรค์	 การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ	 และการคิ ด
   	
                                                                                                        	

                                                                                                       
                             อย่ า งเป็ น ระบบ	 เพื่ อ นำไปสู่ ก ารสร้ า งองค์ ค วามรู้ ห รื อ สารสนเทศ	
                             เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม	
                             

                   3
        ความสามารถในการแก้ปัญหา

                             	        เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ	 ที่เผชิญ
                             ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล	 คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ	
                             เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ	 ในสังคม	 แสวงหาความรู้	
                             ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา	 และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
                             โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง	สังคมและสิ่งแวดล้อม	
                             
                   4
        ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

                             
        เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ	 ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
                             การเรียนรู้ด้วยตนเอง	 การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง	 การทำงาน	 และการอยู่ร่วมกันในสังคม
                             ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล	 การจัดการปัญหาและความขัดแย้ง
                             ต่างๆ	 อย่างเหมาะสม	 การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
                             และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น	
                             

                   5
        ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

                             	        เป็ น ความสามารถในการเลื อ ก	 และใช้ เ ทคโนโลยี ด้ า นต่ า งๆ	 และมี ทั ก ษะ
                             กระบวนการทางเทคโนโลยี	 เพื่ อ การพั ฒ นาตนเองและสั ง คม	 ในด้ า นการเรี ย นรู้	
      	
                             การสื่อสาร	การทำงาน	การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์	ถูกต้อง	เหมาะสม	และมีคุณธรรม
จะเห็นได้ว่า	 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	
 2551	 มุ่งพัฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์	 และความรู้ ค วาม
 สามารถในสมรรถนะ	5	สมรรถนะ	ซึ่งเมื่อพิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียนใน
 ศตวรรษ	 21	 และคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในโรงเรี ย นมาตรฐานสากลที่ มุ่ ง เน้ น ให้
 ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก	ได้แก่	


1
 เป็นเลิศวิชาการ
 (Smart)
 มีความรู้พื้นฐานทาง	 วิทยาศาสตร์	 เศรษฐศาสตร์	
 เทคโนโลยี	 รอบรู้ภาษาข้อมูล	 และทัศนภาพ	 มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับ
 ระดับนานาชาติ	 มีความถนัด	หรือสามารถเฉพาะทางเป็นที่ประจักษ์	 สามารถ
 ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาหรือระดับสูงทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ	


2
 สื่อสารสองภาษา
 (Communicator)
 มีทักษะการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์		
                                                                  
 มีทักษะการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือเพื่อการสื่อสารมีประสิทธิผลใช้ภาษา
 สื่อสารได้ดีทั้ง	 ภาษาไทย	 ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่น	 มีความ
 สามารถเป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษาต่างๆ	


3
 ล้ำหน้าทางความคิด
(Thinker)
 มีความใฝ่รู้	 สร้างสรรค์	 กล้าเผชิญความเสี่ยง	
 คิดได้ในระดับสูง	 มีเหตุผล	 รู้จักคิดวิเคราะห์	 ใคร่ครวญ	 วิจารณ์	 สังเคราะห์	
 และประเมินค่า	 กล้านำเสนอความคิดที่สร้างสรรค์และแตกต่าง	 สามารถปรับตัว
 นำตนในสถานการณ์ต่างๆได้ดี	แก้ปัญหา	จัดการกับความซับซ้อนได้	


4
 ผลิ ต งานอย่ า งสร้ า งสรรค์
 (Innovator)
 สามารถจั ด ลำดั บ ความสำคั ญ	
 วางแผนและบริหารจัดการสู่ผลสำเร็จ	 สามารถใช้เทคโนโลยี	 ในการเรียนรู้	
 ออกแบบสร้ า งสรรค์ ง าน	 สื่ อ สาร	 นำเสนอ	 เผยแพร่	 มี ผ ลงานออกแบบ	
 สร้างสรรค์	 ประดิษฐ์คิดค้นที่นำเสนอ	 เผยแพร่ได้อย่างกว้างขวางสามารถ
 ผลิตผลงานที่เหมาะสม	มีคุณภาพสูง	



                         WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล




                                 5
          ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก
 (Global
 Citizenship)
 มีความตระหนักรู้
                                             สภาวการณ์ของโลก	 (Global	 Awareness)	 สามารถเรียนรู้และจัดการกับ
                                             ความซับซ้อน	 คลุมเครือ	 มีความรู้	 เข้าใจ	 และตระหนักถึงความหลากหลาย
                                             ทางวัฒนธรรม	ขนบธรรมเนียม	ประเพณีของไทยและของนานาชาติ	
                                             	         การจัดการเรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากลจึงมุ่งสะท้อนคุณภาพ
                                             ของผู้เรียนต่อยอดจากสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน	          
                                             ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	 2551	 เพื่อเสริมสร้างผู้เรียน
                                             ให้มีศักยภาพเป็นพลโลก	ดังตาราง	
                                               


           คุณลักษณะ                           สมรรถนะสำคัญ                   คุณลักษณะผู้เรียน                 คุณภาพผู้เรียน
          อันพึงประสงค์                          ของผู้เรียน                    ในศตวรรษ 21                 โรงเรียนมาตรฐานสากล
    1.	รักชาติ	ศาสน์	กษัตริย์	          1.		 วามสามารถ	
                                           ค                              1.	ใฝ่รู้ใฝ่เรียน	 	             1.		ป็นเลิศวิชาการ	
                                                                                                              เ
    2.	ซื่อสัตย์สุจริต		                		 ในการสื่อสาร	                  2.	มีภูมิรู้		 	                 2.	สื่อสาร	2	ภาษา	
    3.	มีวินัย		                        2.	ความสามารถ	                    3.	รู้จักใช้วิจารณญาณ	           3.	ล้ำหน้าทางความคิด	
    4.	ใฝ่เรียนรู้		                    		 ในการคิด	                      4.	เป็นนักคิด	                   4.	ผลิตงานอย่าง	
    5.	อยู่อย่างพอเพียง		               3.	ความสามารถ	                    5.	สามารถสื่อสารได้		            		 สร้างสรรค์	
    6.	มุ่งมั่นในการทำงาน		             		 ในการแก้ปัญหา	                 6.	มีระเบียบวินัย		              5.	ร่วมกันรับผิดชอบต่อ	
    7.	รักความเป็นไทย		                 4.	ความสามารถ	                    7.	ใจกว้าง	                      		 สังคมโลก	
    8.	มีจิตสาธารณะ	         	          		 ในการใช้ทักษะชีวิต		           8.	รอบคอบ		 		
    
                                   5.	ความสามารถ	                    9.	กล้าตัดสินใจ	
    
                                   		 ในการใช้เทคโนโลยี	             10.	ยุติธรรม	




                                             

             การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในโรงเรียนมาตรฐานสากลยังยึด
                                             หลักการและแนวคิดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	
                                             2551	 ทุกประการคือ	 ให้ผู้เรียนได้เรียนกลุ่มสาระพื้นฐาน	 8	 กลุ่มสาระ		                        
                                             เรียนสาระขั้นพื้นฐาน	พุทธศักราช	2551	เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
                                             ดั ง เช่ น ที่ ไ ด้ ถื อ ปฏิ บั ติ อ ยู่	 โรงเรี ย นจึ ง ควรใช้ ก ระบวนการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร	
                                                                                                                                          
                                             สถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนโดยคำนึงถึงสภาพความพร้อม	จุดเน้น
                                             ของโรงเรียน	ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนสาระที่เป็นสากลมีลักษณะดังนี้
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
     โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา	             โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา	
             โรงเรียนทั่วไป	                    โรงเรียนมาตรฐานสากล	


สาระพื้นฐาน	8	กลุ่มสาระการเรียนรู้	    สาระพื้นฐาน	8	กลุ่มสาระการเรียนรู้	
-	 ภาษาไทย	                            -	 ภาษาไทย	
-	 ภาษาอังกฤษ	                         -	 ภาษาอังกฤษ	
-	 คณิตศาสตร์	                         -	 คณิตศาสตร์	
-	 วิทยาศาสตร์	                        -	 วิทยาศาสตร์	
-	 สังคมศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม/	 	       -	 สังคมศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม/	 	
	 ประวัติศาสตร์	                       	 ประวัติศาสตร์	
-	 สุขศึกษาและพลศึกษา	                 -	 สุขศึกษาและพลศึกษา	
-	 ศิลปะ	                              -	 ศิลปะ	
-	 การงานอาชีพและเทคโนโลยี	            -	 การงานอาชีพและเทคโนโลยี	


        สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น	                 สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น	

                                      	
         กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	            สาระสากล	
                                          -	 Theory	of	Knowledge		              	
                                          -	 Extended-Essay	
                                          -		Global	Education	
                                          -		CAS	:	Creativity,	Action,	Service	 	
                                          -		ภาษาอังกฤษ																		 	
                                          -	 ภาษาต่างประเทศที่	2	


                                                  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	




                                      WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
10   แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                             
แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
                                             
                                                         

                                                 ก
      ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาของโรงเรี ย นมาตรฐานสากล	
                                                         โรงเรี ย นจะต้ อ งใช้ ห ลั ก การและแนวคิ ด หลั ก สู ต รแกนกลาง	   
                                                         การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน	 พุ ท ธศั ก ราช	 2551	 ทุ ก ประการ	 คื อ		
                                             ให้ผู้เรียนได้เรียนกลุ่มสาระพื้นฐาน	 8	 กลุ่มสาระ	 เรียนสาระเพิ่มเติมและ
                                             กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบัติอยู่	 โดยโรงเรียนควรพิจารณาถึง
                                             ความเหมาะสม	 สภาพความพร้อม	 และจุดเน้นของโรงเรียนในการจัดให้ม
                ี	
                                             การเรียนการสอนสาระที่เป็นสากล	 4	 สาระ	 ได้แก่	 ทฤษฎีความรู้	 (Theory	
                                             of	 Knowledge	 :	 TOK)	 ความเรียงขั้นสูง	 (Extended-Essay)	 กิจกรรม
                                             สร้างสรรค์	 (CAS	 :	 Creativity,	 Action,	 Service)	 โลกศึกษา	 (Global	
                                             Education)	 และเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่	 2	 อีกหนึ่งภาษา	
                                             สำหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย	 โรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรโดยนำสาระ
                                             สากลมาจัดลงในหลักสูตรสถานศึกษาทั้งในเชิงบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้
                                             ในสาระพื้นฐานทั้ง	 8	 สาระ	 หรือ	 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม	 ทั้งนี้โรงเรียนควร
                                             พิจารณาถึงความเหมาะสมของขอบข่ายสาระการเรียนรู้ของสาระสากลกับ
                                             โครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโดยดำเนินการดังนี้		


                                                 1
     จัดเป็นหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ	 1	 หน่วย	 ในรายวิชาพื้นฐาน
                                                        ทั้ง	8	สาระ	ได้แก่	 ทฤษฎีความรู้	 (Theory	of	Knowledge	:	TOK)	
                                                        ความเรียงชั้นสูง	(Extended-Essay)	โลกศึกษา	(Global	Education)	
                                             ทั้งนี้ลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่เป็นหน่วยบูรณาการในรายวิชาพื้นฐาน
                                             ต้องใช้มาตรฐานและตัวชี้วัด	 และเน้นการจัดการเรียนการสอนตามธรรมชาติ
                                             การจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลที่เข้มข้น
                                             ตามหลักการหรือทฤษฎีดังกล่าว	สำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์	(CAS	:
                                             Creativity,	 Action,	 Service)	 สามารถนำไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 ใน
                                             ส่วนของ	 ชุมนุม	 ชมรม	 หรือ	 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์	         
                                             ได้เรียนรู้		


                                            2
       จั ด เป็ น รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ตามความพร้ อ ม	 จุ ด เน้ น และบริ บ ทของ	
                                                     สถานศึกษา	 โดยจัดทำคำอธิบายรายวิชา	 ผลการเรียนรู้และหน่วย
                                                     การเรี ย นรู้	 ในลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ การจั ด ทำรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ใน
                                             หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	พุทธศักราช	2551	
                                                                                                                                   



                                             	        ทั้ ง นี้ โ รงเรี ย นควรพิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสมของขอบข่ า ยสาระ	           
                                             การเรียนรู้ของสาระสากลกับโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา	ดังนี
              ้
1
         ทฤษฎีความรู้
 (Theory
 of
 Knowledge)
 เป็นสาระการสอน	
                                                                        
                    ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังทักษะการค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่ม
                    เติมต่อยอดความรู้ให้ลึกซึ้งในประเด็นความรู้	(Knowledge	issues)
                    ได้เรียนรู้จากการเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน	8	สาระการเรียนรู้
      ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน	 พุ ท ธศั ก ราช	 2551	 ไม่ ใ ช่
                                                                                     	
      การสอนเนื้อหาเพิ่ม	 ครูผู้สอนจะไม่สอนสิ่งที่เป็นเนื้อหา	 แต่สอนกระบวนการ
      ค้นคว้าและสืบค้นความรู้	 โดยผู้เรียนต้องค้นคว้าหาความรู้เพื่อนำมาแสดงให้
      เห็นว่า	 “เรา	 รู้ได้อย่างไร	 :	 How	 do	 we	 know?”	 และครูผู้สอนจะเป็น	     
      ผู้ชี้แนะชี้นำวิธีการแสวงหาความรู้	 (Ways	 of	 Knowing)	 การใช้ข้อมูลเป็น
      เหตุผล	 การใช้ข้อมูลจากการค้นคว้าโต้แย้งด้วยความคิดสนับสนุนเห็นด้วย
      และความคิดขัดแย้งไม่เห็นด้วยกับความรู้ที่ค้นพบ	



       วิถีของการรู้	                                  ขอบข่ายของความรู้	
     Ways	of	Knowing	                                 Areas	of	Knowledge	

How do we know?                                What do we (claim to now?)
                                                         มุ่งพัฒนาทักษะ	
     เป็นวิชาสหวิทยาการ
                              การคิดวิเคราะห์วิจารณ์
   Interdisciplinary	Course	                            Critical	Thinking	




        2
         การเขียนความเรียงขั้นสูง
 (Extended-Essay)
 เป็นสาระที่มี
                  วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะการศึกษาค้นคว้าอย่าง
                  อิสระ	 (Independent	 Study/Research)	 ในเรื่องที่ตนสนใจ	 จาก
                  การเรียนเนื้อหาสาระในสาระการเรียนรู้พื้นฐาน	และเขียนรายงาน	      
      สิ่งที่ค้นพบจากการค้นคว้าเป็นความเรียงเชิงวิชาการตามแบบแผนการเขียน
      เชิงวิชาการ	มีองค์ประกอบต่างๆตามที่กำหนดครบถ้วน		



        3
                  
                  โลกศึกษา
 (Global
 Education)
 เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งให้	    
                  ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในสถานการณ์ ข องโลก	 สามารถ
                  วิเคราะห์เหตุการณ์โลกและสามารถมองเห็นช่องทางและวิธีการ	          
      ในการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด	โดยกำหนดให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์เหตุการณ์โลก
      ใน	8	มิติ	ได้แก่		
      


                               WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
       11
1   แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                                                                  ความเป็นพลเมืองโลก
                                                 ความเป็นธรรมในสังคม               Global Citizenship             การพึ่งพาอาศัยกัน
                                                    Social Justice                                                Interdependence
                                                       สิทธิมนุษยชน                                                ความหลากหลาย
                                                      Human Rights                                                    Diversity
                                               การแก้ปัญหาความขัดแย้ง                                         ค่านิยมและการสัมผัสรับรู้
                                                 Conflict Resolution                                           Values  Perceptions
                                                                                การพัฒนาอย่างยั่งยืน
                                                                              Sustainable Development



                                             	          การเรียนโลกศึกษา	(Global	Education)	ไม่ใช่การสอนเนื้อหาสาระ	
                                             แต่หวังผลให้ผู้เรียน	 “คิดเป็น	 แก้ปัญหาเป็น”	 มีทักษะการคิดสร้างสรรค์	
    	
                                             (Creative	Thinking)	และทักษะการคิดวิเคราะห์	 วิจารณ์	 (Critical	Thinking	)
                                             การจัดการเรียนการสอนเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียนซึ่งครูควรจัดกิจกรรมให้
                                             มีความหลายหลาย	 เช่น	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ประเด็นเหตุการณ์
                                             หรื อ ปั ญ หาเป็ น ฐานในการเรี ย นรู้	 (Issue/Problem-based	 Learning)		    
                                             การเรียนรู้โดยผ่านการสนทนา	(Dialogue-based	Learning)	ฯลฯ	



                                               4
           กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์
(CAS
:
Creativity,
Action,
Service)
                                                                                                                         
                                                         เป็ น กิ จ กรรมที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ ไ ด้ พั ฒ นา
                                                         ตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน	 เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์
                                                         เพื่ อ ปลู ก ฝั ง และสร้ า งจิ ต สำนึ ก ของการทำประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คม	
                                             สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข	 เป็นการจัด
                                             กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการสร้างสรรค์โครงงานและปฏิบัติจริง	 3		                           
                                             กิจกรรมหลักๆ	ที่ประกอบไปด้วย	การสร้างสรรค์โครงงาน	(Creativity)	โดย
                                             ใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน	 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น
                                             (Action)	และเข้าร่วม	กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์	(Service)	
                                             	          การจัดการเรียนการสอนสาระที่เป็นสากล	 4	 สาระ	 ได้แก่	 ทฤษฎี
                                             ความรู้	 (Theory	 of	 Knowledge	 :	 TOK)	 การเขี ย นความเรี ย งขั้ น สู ง	
                                             (Extended-Essay)
 กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ป ระโยชน์	 (CAS	 :	 Creativity,	
                                             Action,	Service)	และโลกศึกษา	(Global	Education)	จะช่วยให้การสะท้อน
                                             ภาพความสำเร็จที่ชัดเจนทั้งความรู้ความสามารถตามสมมรรถนะทั้ง	 5	 ของ
                                             หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 พุทธศักราช	 2551และศักยภาพความ
                                             เป็นพลโลกของผู้เรียนในโรงเรียนมาตรฐานสากล	 ดังนั้นแนวทางการพัฒนา
                                             หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนจึงควรพิจารณาดำเนินการ	ดังนี้
โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับประถมศึกษา

     
      บนหลักการและพื้นฐานความคิดของ	 Jean	 Piaget	 นักจิตวิทยาซึ่ง
     กล่าวไว้ในทฤษฎีการพัฒนาการเรียนรู้	(Theory	of	cognitive	development)	
     ว่าผู้เรียนที่มีอายุต่ำกว่า	11	หรือ	12	ปี	 ผู้เรียนยังไม่สามารถคิดอย่างลึกซึ้งได้	



1
     แต่ นั ก ปรั ช ญาชื่ อ	 Garett	 Matthews	 นั ก ปรั ช ญามี ค วามเห็ น ว่ า
              	
     ผู้เรียนวัยดังกล่าวมีความสามารถที่จะอภิปรายแสดงความคิดเห็นในเชิงซักถาม
     (Inquiry	 Learning)	 ดังนั้นควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการ
     เป็ น หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ใ นสาระพื้ น ฐาน	 หรื อ อาจจะจั ด เป็ น รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม
                                                                                             	
     ในบางสาระ	โดยมีแนวดำเนินการดังนี้		
     	           1.1	 ทฤษฎี ค วามรู้	 (Theory	 of	 Knowledge)	 ควรจั ด เป็ น
                	
     หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง	8	สาระในชั้นประถมศึกษาปีที่	4-6		
     		          1.2	 การเขียนความเรียงขั้นสูง	 (Extended-Essay)	 ควรจัดเป็น
     หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย	 หรือเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในชั้น
     ประถมศึกษาปีที่	 4-6	 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้	 โดยเน้นการฝึกทักษะพื้นฐาน	                
     ในการเขียนแต่ละองค์ประกอบ	
     		          1.3	 โลกศึกษา	(Global	Education)	ควรจัดเป็นหน่วยบูรณาการอยู่
     ในสาระพื้นฐานทั้ง	8	สาระในชั้นปฐมวัย	ประถมศึกษาปีที่	1-6		
     		          1.4	 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์	 (CAS	 :	 Creativity,	 Action,	
     Service)	 ควรจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้อยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 ในชั้นประถม
     ศึกษาปีที่	1-6





                               WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
               1
1     แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                                               ระดับประถมศึกษา
                                       ทฤษฎีความรู้                 การเขียน                 โลกศึกษา       กิจสร้างสรรค์ประโยชน์
         สาระพื้นฐาน                   (Theory of                 ความเรียงขั้นสูง       (Global Education) (CAS : Creativity,
         8 กลุ่มสาระ                   Knowledge)               (Extended-Essay)                               Action, Service)
          การเรียนรู้                หน่วย         รายวิชา       หน่วย       รายวิชา       หน่วย       รายวิชา      หน่วย    รายวิชา
                                   การเรียนรู้     เพิ่มเติม   การเรียนรู้   เพิ่มเติม   การเรียนรู้   เพิ่มเติม   กิจกรรม   เพิ่มเติม

     ภาษาไทย	                          ✓
               -
          -
          ✓
          ✓
             -
         -
         -
     
     คณิตศาสตร์	                       ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     วิทยาศาสตร์	                      ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     สังคมศึกษา	                       ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     ประวัติศาสตร์	
     
     สุขศึกษาและ	                      ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     พลศึกษา	                           
     
     ศิลปะ	                            ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     การงานอาชีพและ	                   ✓
               -
          -
            -
          
            -
         -
         -
     เทคโนโลยี	
     
     ภาษาอังกฤษ	                       ✓
               -
          -
          ✓
            
            -
         -
         -
     
     กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	               	              	           	             	           	            	           	          	
     
     -
กิจกรรมชุมนุม/ชมรม
              -
              -
          -
            -
          -
           -
        ✓
          -
     
     -	กิจกรรมเพื่อสังคม	               -	              -	          -	            -	          -	           -	        ✓
          -
     และสาธารณะประโยชน์
โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
 ควรจัดสาระ

2
   สากลในลักษณะของการบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ในสาระพื้นฐาน	 หรือ
     อาจจะจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในบางสาระโดยมีแนวดำเนินการ	ดังนี้		
     	         2.1	 ทฤษฎีความรู้	 (Theory	 of	 Knowledge)	 ควรจัดเป็นหน่วย
     บูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง	8	สาระในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	1-3		
     		        2.2	การเขียนความเรียงขั้นสูง	 (Extended-Essay)	 ควรจัดเป็น
     หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย	 ภาษาอังกฤษ	 หรือเป็นรายวิชา
     เพิ่มเติม	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	1-3	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้	
     		        2.3	โลกศึกษา	(Global	Education)	ควรเป็นหน่วยบูรณาการอยู่ใน
     สาระพื้นฐานทั้ง	 8	 สาระ	 หรือ	 เป็นรายวิชาเพิ่มเติมในสาระสังคมศึกษาหรือ
     สาระอื่นๆ	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	1-3	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้		
     		        2.4	 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์	 (CAS	 :	 Creativity,	 Action,	
     Service)	 ควรจัดเป็นหน่วยกิจกรรมอยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 หรือเป็น
     รายวิชาเพิ่มเติม	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	1-3	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้		
     




                          WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
   1
1     แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                                            ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                                       ทฤษฎีความรู้                 การเขียน                 โลกศึกษา       กิจสร้างสรรค์ประโยชน์
         สาระพื้นฐาน                   (Theory of                 ความเรียงขั้นสูง       (Global Education) (CAS : Creativity,
         8 กลุ่มสาระ                   Knowledge)               (Extended-Essay)                               Action, Service)
          การเรียนรู้                หน่วย         รายวิชา       หน่วย       รายวิชา       หน่วย       รายวิชา      หน่วย    รายวิชา
                                   การเรียนรู้     เพิ่มเติม   การเรียนรู้   เพิ่มเติม   การเรียนรู้   เพิ่มเติม   กิจกรรม   เพิ่มเติม

     ภาษาไทย	                          ✓
               -
          -
          ✓
          ✓
             -
         -
         -
     
     คณิตศาสตร์	                       ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     วิทยาศาสตร์	                      ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     สังคมศึกษา	                       ✓
               -
          -
            -
        ✓
           ✓
           -
         -
     ประวัติศาสตร์	
     
     สุขศึกษาและ	                      ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     พลศึกษา	                           
     
     ศิลปะ	                            ✓
               -
          -
            -
        ✓
             -
         -
         -
     
     การงานอาชีพและ	                   ✓
               -
          -
            -
          
            -
         -
         -
     เทคโนโลยี	
     
     ภาษาอังกฤษ	                       ✓
               -
          -
          ✓
            
            -
         -
         -
     
     กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	               	              	           	             	           	            	           	          	
     
     -
กิจกรรมชุมนุม/ชมรม
              -
              -
          -
            -
          -
           -
        ✓
          -
     
     -	กิจกรรมเพื่อสังคม	               -	              -	          -	            -	          -	           -	        ✓
          -
     และสาธารณะประโยชน์
โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 ควรจัด

                 3
              สาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ในสาระพื้นฐาน	
                                 หรืออาจจะจัดเป็นเพิ่มเติมในบางสาระ	โดยมีแนวดำเนินการ	ดังนี้		
                                 	         3.1	 ทฤษฎีความรู้	 (Theory	 of	 Knowledge)	 ควรจัดเป็นหน่วย
                                 บูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง	 8	 สาระ	 หรืออาจจะจัดเป็นเพิ่มเติมในบาง
                                 สาระในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	4-6		
                                 		        3.2	การเขียนความเรียงขั้นสูง	 (Extended-Essay)	 ควรจัดเป็น
                                 หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย	 ภาษาอังกฤษ	 หรือเป็นรายวิชา
                                 เพิ่มเติม	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	4-6	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้	
                                 		        3.3	โลกศึกษา	(Global	Education)	ควรเป็นหน่วยบูรณาการอยู่ใน
                                 สาระพื้นฐานทั้ง	 8	 สาระ	 หรือ	 เป็นรายวิชาเพิ่มเติมในสาระสังคมศึกษาหรือ
                                 สาระอื่นๆ	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	4-6	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้		
                                 		        3.4	กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์	 (CAS	 :	 Creativity,	 Action,	
                                 Service)	 ควรจัดเป็นหน่วยกิจกรรมอยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 หรือเป็น
                                 รายวิชาเพิ่มเติม	ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่	4-6	อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้


                                      ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
                       ทฤษฎีความรู้                 การเขียน                  โลกศึกษา       กิจสร้างสรรค์ประโยชน์
    สาระพื้นฐาน        (Theory of                 ความเรียงขั้นสูง        (Global Education) (CAS : Creativity,
    8 กลุ่มสาระ        Knowledge)               (Extended-Essay)                                Action, Service)
     การเรียนรู้     หน่วย         รายวิชา       หน่วย        รายวิชา       หน่วย       รายวิชา      หน่วย    รายวิชา
                   การเรียนรู้     เพิ่มเติม   การเรียนรู้    เพิ่มเติม   การเรียนรู้   เพิ่มเติม   กิจกรรม   เพิ่มเติม

ภาษาไทย	               ✓
            ✓
             -
           ✓
          ✓
             -
         -
        ✓

คณิตศาสตร์	            ✓
            ✓
             -
             -
        ✓
             -
         -
         -

วิทยาศาสตร์	           ✓
            ✓
             -
             -
        ✓
             -
         -
         -

สังคมศึกษา	            ✓
            ✓
             -
             -
        ✓
           ✓
           -
        ✓
ประวัติศาสตร์	

สุขศึกษาและ	           ✓
            ✓
             -
             -
        ✓
             -
         -
        ✓
พลศึกษา	                	

ศิลปะ	                 ✓
            ✓
             -
             -
        ✓
             -
         -
        ✓



                                                             WORLD-CLASS
STANDARD
SCHOOL
INSTRUCTION
GUIDELINES
          1
1     แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                       ทฤษฎีความรู้                      การเขียน                      โลกศึกษา       กิจสร้างสรรค์ประโยชน์
         สาระพื้นฐาน                   (Theory of                      ความเรียงขั้นสูง            (Global Education) (CAS : Creativity,
         8 กลุ่มสาระ                   Knowledge)                    (Extended-Essay)                                    Action, Service)
          การเรียนรู้                หน่วย          รายวิชา          หน่วย         รายวิชา           หน่วย          รายวิชา       หน่วย    รายวิชา
                                   การเรียนรู้      เพิ่มเติม      การเรียนรู้     เพิ่มเติม       การเรียนรู้      เพิ่มเติม    กิจกรรม   เพิ่มเติม

     การงานอาชีพและ	                   ✓
               ✓
             -
               -
              
              -
           -
       ✓
     เทคโนโลยี	
     
     ภาษาอังกฤษ	                       ✓
               ✓
             -
              ✓
               
              -
           -
           -
     
     กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	              	                	              	               	               	               	           	            	
     
     -
กิจกรรมชุมนุม/ชมรม
              -
               -
            -
               -
             -
              -
          ✓
            -
     
     -	กิจกรรมเพื่อสังคม	               -	               -	            -	               -	             -	              -	          ✓
            -
     และสาธารณะประโยชน์	


                                                 	             การจัดการเรียนการสอนในสาระสากล	 ในลักษณะเป็นหน่วยการ
                                                 เรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐานและหรือเป็นรายวิชาเพิ่มเติมนั้น	 มุ่งเน้นให้โรงเรียน
                                                 ได้ ป รั บ วิ ธี เ รี ย น	 เปลี่ ย นวิ ธี ส อนและวิ ธี ก ารวั ด และประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท าง	
                                                                                                                                              
                                                 การเรียนโดยให้ผู้เรียน	 สร้างสรรค์ผลงาน	 นำเสนอผลงานทั้งเป็นเอกสารและ
                                                 ปากเปล่า	 (Oral	 Presentation)	 เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
                                                 คุณภาพของผู้เรียนที่มีศักยภาพเป็นพลโลกตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์
                                                 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลดังแผนภูมิต่อไปนี้	

                                                                                                    ภาษาไทย	
                                                          ภาษาต่างประเทศ	                                                        สังคมศึกษา	ศาสนา	
                                                                                                   สื่อสารเป็น                      และวัฒนธรรม	
                                                                                               สื่อสารสองภาษา
                                                                                         าร
                                                        อังกฤษ-
                     ิชาก ลยี
                                                        ตปท.
ที่2
                ิศว โ
                                                                                                                    คิดเ น้าทาง
                                                                                                                    ล้ำห วามคิด




                                                                              ็นเล้เทคโน
                                                                            เป ใช
                                                                                                - ทฤษฎีความรู้
                                                                                                                       ค

                                                                                                                        ป็น




                                                                                              - ความเรียงขั้นสูง
                                                                                                    - กิจกรรม
                                                       สุขศึกษา	                               สร้างสรรค์ประโยชน์
                                                                                                                                    การงานอาชีพ	
                                                     และพลศึกษา	                                                                    และเทคโนโลยี	
                                                                             ร่วม ม ีว




                                                                                                 โลกศึกษา
                                                                                 กัน โลก ิต




                                                                                                                        ป็น ์
                                                                                  สังค ักษะช
                                                                                   ใช้ท




                                                                                                                     หาเ งสรรค
                                                                                    รับผ




                                                                                                                  ัญ
                                                                                                            แก้ป านสร้า
                                                                                         ิชอบ




                                                              วิทยาศาสตร์	                                       ง                 คณิตศาสตร์	
                                                                                                            ผลิต

                                                                                                      ศิลปะ
ตอนที่
   2
                      ทฤษฎีความรู้
    (Theory
of
Knowledge
:
TOK)
0   แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล



                                             ทฤษฎีความรู้

                                             (Theory
of
Knowledge
:
TOK)



                                1
                                             ธรรมชาติวิชา
(Nature
of
the
Subject)
                                             	               ทฤษฎีความรู้	 (Theory	of	Knowledge	:	TOK)	หรือรู้จักกันในอีก
                                             ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า	 ญาณวิ ท ยา	 (Epistemology)	 เป็ น สาระที่ ว่ า ด้ ว ยการค้ น คว้ า
                                             แสวงหาความรู้เพิ่มเติมต่อยอดอย่างลึกซึ้งในสิ่งที่ผู้เรียนรู้	 (knowing)	 และได้
                                             เรียนรู้มาจากการเรียนเนื้อหาความรู้ในสาระการเรียนรู้พื้นฐาน	 8	 สาระการ
                                             เรียนรู้	 โดยมีการกำหนดประเด็นความรู้	 (Knowledge	 issues)	 ในลักษณะ
                                             พหุวิทยาการ	(Interdisciplinary)	สำหรับให้ผู้เรียนค้นคว้า	แสวงหาหาความรู้
                                             เพิ่มเติม	และเขียนรายงานผลการค้นคว้าในประเด็นความรู้ที่ผู้เรียนค้นคว้า	
                                             



                          2
                                             วัตถุประสงค์
(Objectives)

                                             
          การจัดการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้	(Theory	of	Knowledge	:
                                             TOK)	 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนค้นคว้า	 แสวงหาความรู้	 สามารถแสดง
                                             ความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้
                                             เรียนรู้	 (Knowing)	สามารถตั้งคำถามให้คำอธิบาย	แสดงความคิดเห็นต่างๆ	
                                             รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด	 สามารถเชื่อมโยงความรู้
                                             เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ	 และวิธีการรับรู้ความรู้	
                                             (Ways	 of	 Knowing)	 จำนวน	 4	 วิถีทาง	 ได้แก่	 วิธีการสร้างความรู้จาก	       
                                             ความรู้สึก	 (Sense	 Perception)	 สร้างความรู้จากการใช้ภาษา	 (Language)	
                                             สร้างความรู้จากการให้เหตุผล	 (Reason)	 และการสร้างความรู้จากอารมณ์	
                                             (Emotion)
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class
E book world-class

Más contenido relacionado

Similar a E book world-class

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56manus1999
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_kanyarat chinwong
 
รายงานวิจัยเผยแพร่
รายงานวิจัยเผยแพร่รายงานวิจัยเผยแพร่
รายงานวิจัยเผยแพร่Thipaporn Bootkhot
 

Similar a E book world-class (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
 
รายงานวิจัยเผยแพร่
รายงานวิจัยเผยแพร่รายงานวิจัยเผยแพร่
รายงานวิจัยเผยแพร่
 

E book world-class

  • 2. แนวทางการจัดการเรียนรู ้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล World-Class Standard School Instruction Guidelines สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล World-Class Standard School Instruction Guidelines ปีที่พิมพ์ พุทธศักราช 2554 จำนวนพิมพ์ 1,300 เล่ม ลิขสิทธิ์เป็นของ สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 978-616-202-203-6 พิมพ์ท ี่ ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย) เลขที่ 85, 87, 89, 91 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทร. 0-2424-4557, 0-2424-0694 โทรสาร 0-2433-2858 นายณัฐ ปวิณวิวัฒน์ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
  • 4. สาร สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัด การศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นำมาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการ ยกระดั บ การจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานเที ย บเท่ า สากล ผู้ เ รี ย นมี ศั ก ยภาพและ ความสามารถแข่งขันทัดเทียมกับผู้เรียนของนานาประเทศ จากการศึกษาและวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ หลักสูตรของนานาประเทศ พบว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความสำคัญกับ การเรียนการสอนสาระการเรียนรู้เป็นลำดับแรก แต่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนด้าน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์น้อยมาก ซึ่งต่างกับหลักสูตรในหลายๆ ประเทศ อีกทั้งหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ไม่สะท้อนให้เห็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้ เรียนที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมในเรื่อง การเรียนรู้ ภาษายุคดิจิทัล การฝึกทักษะความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศ การส่งเสริมสนุบสนุนให้ ผู้เรียนมีการคิดประดิษฐ์และสร้างสรรค์งาน สามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพสูง ด้วยเหตุผลและ ความจำเป็นดังกล่าว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมุ่งหวังให้โรงเรียนมาตรฐาน สากล (World-Class Standard School) ทุกโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา โดยเพิ่มเติมสาระความเป็นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) กิจกรรมโครงงานสร้างสรรค์ (CAS : Creativity, Action, Service) และโลกศึกษา (Global Education) และให้ความสำคัญในการจัดให้ผู้เรียนได้เรียน ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษา รวมทั้งการฝึกทักษะภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้นเพื่อต่อยอด ความรู้ที่ได้จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะเป็นพลโลกมีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ เป็นเยาวชนไทยรุ่นใหม่ เป็นผู้ที่มี ความเป็นเลิศทางวิชาการ สามารถสื่อสารได้สองภาษา ล้ำหน้าในทางความคิด สามารถผลิตงาน ได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตร่วมรับผิดชอบในสังคมโลก สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า เอกสารแนวทาง การจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนครูผู้สอนและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ขอขอบคุณคณะทำงานและทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ ให้สำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้เป็นอย่างดี (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 5. สารบัญ 1 การจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ทฤษฎีความรู้ 19 (Theory of Knowledge : TOK) 49 การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ 65 (CAS : Creativity, Action, Service) 87 โลกศึกษา (Global Education) 125 ภาคผนวก
  • 6. ตอนที่ 1 การจัดการเรียนรูั ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
  • 7. แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล โ รงเรี ย นมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ที่ พึ ง ประสงค์ (Learner Profile) เที ย บเคี ย งมาตรฐานสากล (World-Class Standard) ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก (World citizen) พั ฒ นายกระดั บ คุ ณ ภาพจั ด การเรี ย นการสอนและการจั ด การด้ ว ยระบบ คุ ณ ภาพ เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ต ามมาตรฐานสากล เป็นการต่อยอดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่เป็นมาตรฐานชาติ (ตามที่โรงเรียน ทุกโรงจะต้องดำเนินการ เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา โดย สมศ. ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545) โดยภาพรวมคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐานของทั้งสองมาตรฐาน เหมือนกัน คือ การจัดการศึกษาให้คนในชาติเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO โดยในศตวรรษที่ 21 ทุกประเทศได้มีการพัฒนาและใช้หลักสูตรการศึกษาที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้ Learn to know, Learn to be, Learn to do, เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ในฐานะพลเมืองของชาติ และ Learn to live together เพื่อสร้าง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในฐานะพลโลก (มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก)
  • 8. จากข้ อ ค้ น พบในการศึ ก ษาวิ จั ย และติ ด ตามผลการใช้ ห ลั ก สู ต ร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจาก แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 10 เกี่ ย วกั บ แนวทาง การพัฒนาคนในสังคมไทยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา เยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 ทำให้มีการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตร ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทักษะกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัต ิ ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน การเรี ย นรู้ แ ละตั ว ชี้ วั ด ที่ ชั ด เจน เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ทิ ศ ทางในการจั ด ทำหลั ก สู ต ร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน ขั้นต่ำของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษา แต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการนำไปปฏิบัติ (สำนักวิชาการ และมาตรฐาน, หน้า 2, 2551) WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES
  • 9. แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียน ให้ มี ศั ก ยภาพเป็ น พลโลกโดยมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะให้ โ รงเรี ย นได้ พั ฒ นาต่ อ ยอด คุ ณ ลั ก ษณะของผู้ เ รี ย นตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ มี ส มรรถนะ ทั ก ษะและความรู้ พื้ น ฐานที่ จ ำเป็ น ในการดำรงชี วิ ต ตลอดจน การพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน มีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะ ด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคมโลกได้อย่างสันติอันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน เยาวชนไทยเติบโตในสังคมโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย เทคโนโลยี แ ละสติ ปั ญ ญาของมนุ ษ ย์ เมื่ อ คำนึ ง ถึ ง อั ต ราการเปลี่ ย นแปลง ที่รวดเร็วและองค์ความรู้มหาศาลที่กำลังถูกสร้างขึ้น นักเรียนจำเป็นต้องมี ทักษะที่จำเป็นเพื่อเผชิญความเปลี่ยนแปลงและใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่า รัฐบาล สหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้ทักษะด้านเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ไป สู่ความเป็นเลิศในศตวรรษที่ 21 แต่ข้อเสนอจากงานวิจัยของ enGauge 21st ได้ก้าวไกลไปกว่านั้น ด้วยการนำเสนอทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงานในยุคเทคโนโลยี ดังนี ้ รู้ภาษายุคดิจิทัล การคิดประดิษฐ์-สร้าง Digital-Age Literacy Inventive Thinking การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สื่อสารมีประสิทธิภาพ มีผลิตภาพสูง Effective Communication High Productivity Academic Achievement แผนภาพสัมฤทธิผลทางวิชาการในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (แปลความจาก enGauge 21st Century Skills : www.ncrel.org/enGauge)
  • 10. ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล (Digital-Age Literacy) ● มีความรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ● รู้ภาษา ข้อมูล และทัศนภาพ (Visual Information Literacies) ● รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสำนึกระดับโลก (Multicul- tural Literacy Global Awareness) การคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ (Inventive Thinking) ● ความสามารถในการปรับตัว-นำตน จัดการกับความซับซ้อน ใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเสี่ยง คิดได้ในระดับสูงและมีเหตุมีผล การมีผลิตภาพสูง (High Productivity) ● ความสามารถในการจัดลำดับความสำคัญ วางแผน และบริหาร จัดการมุ่งผลสำเร็จ และใช้เครื่องมืออย่างมีประสิทธิผลในโลกแห่งความเป็น จริงสามารถผลิตผลงานที่เหมาะสม มีคุณภาพสูง การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล (Effective Communication) ● ความสามารถในการทำงานเป็นทีม การร่วมมือและสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล การสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ ส่วนรวม จากสภาพของความเป็นสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 ถูกขับเคลื่อน ตามสภาพแวดล้อมในด้านต่างๆ ในโลกอย่างหลากหลาย จึงมีความจำเป็นต้อง ยกระดับผู้เรียนให้ได้มาตรฐานสากล เพราะสังคมโลกปัจจุบันเป็นสังคมที่ ประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งในบ้านเราหรือย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศ สิ่ ง แรกที่ รี บ เร่ ง พั ฒ นาคนรุ่ น ใหม่ คื อ ศั ก ยภาพที่ เ ป็ น สากล (Global Competency) การที่ประเทศไทยเปิดประตูทางการค้า มีกระแสการไหลเวียน ของการลงทุนมายังประเทศไทย กำลังคนรุ่นใหม่จะต้องพัฒนาให้มีความ พร้อมระดับสากลในเรื่องการใช้ภาษาที่เป็นสากล ในที่นี้หมายถึงภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศที่ 2 อื่นๆ การมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในขณะเดียวกั น ควรมีค วามรู้ สัง คมเรา สั งคมเขา เพื่อ สามารถปรับ รั บให้ เหมาะสมกับสภาพสังคมของเรา หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ในฐานะเป็นเครื่องมือของการพัฒนา หากเราไม่สามารถยกระดับคุณภาพ การศึกษาของเราให้อยู่ในระดับโลกได้ แล้วเราจะดำรงคงอยู่ในสังคมโลก ปัจจุบันได้อย่างไร เมื่อพิจารณา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้กำหนดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES
  • 11. แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล 1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการ เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล ข่ า วสารด้ ว ยหลั ก เหตุ ผ ลและความถู ก ต้ อ งตลอดจนการเลื อ กใช้ วิ ธี ก ารสื่ อ สารที่ มี ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2 ความสามารถในการคิด เป็ น ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ การคิ ด สั ง เคราะห์ การคิ ด อย่ า งสร้ า งสรรค์ การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ และการคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ นำไปสู่ ก ารสร้ า งองค์ ค วามรู้ ห รื อ สารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้ง ต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ น ความสามารถในการเลื อ ก และใช้ เ ทคโนโลยี ด้ า นต่ า งๆ และมี ทั ก ษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่ อ การพั ฒ นาตนเองและสั ง คม ในด้ า นการเรี ย นรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
  • 12. จะเห็นได้ว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ และความรู้ ค วาม สามารถในสมรรถนะ 5 สมรรถนะ ซึ่งเมื่อพิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษ 21 และคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในโรงเรี ย นมาตรฐานสากลที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก ได้แก่ 1 เป็นเลิศวิชาการ (Smart) มีความรู้พื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รอบรู้ภาษาข้อมูล และทัศนภาพ มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับ ระดับนานาชาติ มีความถนัด หรือสามารถเฉพาะทางเป็นที่ประจักษ์ สามารถ ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาหรือระดับสูงทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ 2 สื่อสารสองภาษา (Communicator) มีทักษะการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ มีทักษะการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือเพื่อการสื่อสารมีประสิทธิผลใช้ภาษา สื่อสารได้ดีทั้ง ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่น มีความ สามารถเป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษาต่างๆ 3 ล้ำหน้าทางความคิด (Thinker) มีความใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง คิดได้ในระดับสูง มีเหตุผล รู้จักคิดวิเคราะห์ ใคร่ครวญ วิจารณ์ สังเคราะห์ และประเมินค่า กล้านำเสนอความคิดที่สร้างสรรค์และแตกต่าง สามารถปรับตัว นำตนในสถานการณ์ต่างๆได้ดี แก้ปัญหา จัดการกับความซับซ้อนได้ 4 ผลิ ต งานอย่ า งสร้ า งสรรค์ (Innovator) สามารถจั ด ลำดั บ ความสำคั ญ วางแผนและบริหารจัดการสู่ผลสำเร็จ สามารถใช้เทคโนโลยี ในการเรียนรู้ ออกแบบสร้ า งสรรค์ ง าน สื่ อ สาร นำเสนอ เผยแพร่ มี ผ ลงานออกแบบ สร้างสรรค์ ประดิษฐ์คิดค้นที่นำเสนอ เผยแพร่ได้อย่างกว้างขวางสามารถ ผลิตผลงานที่เหมาะสม มีคุณภาพสูง WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES
  • 13. แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล 5 ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก (Global Citizenship) มีความตระหนักรู้ สภาวการณ์ของโลก (Global Awareness) สามารถเรียนรู้และจัดการกับ ความซับซ้อน คลุมเครือ มีความรู้ เข้าใจ และตระหนักถึงความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยและของนานาชาติ การจัดการเรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากลจึงมุ่งสะท้อนคุณภาพ ของผู้เรียนต่อยอดจากสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเสริมสร้างผู้เรียน ให้มีศักยภาพเป็นพลโลก ดังตาราง คุณลักษณะ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะผู้เรียน คุณภาพผู้เรียน อันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ในศตวรรษ 21 โรงเรียนมาตรฐานสากล 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1. วามสามารถ ค 1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 1. ป็นเลิศวิชาการ เ 2. ซื่อสัตย์สุจริต ในการสื่อสาร 2. มีภูมิรู้ 2. สื่อสาร 2 ภาษา 3. มีวินัย 2. ความสามารถ 3. รู้จักใช้วิจารณญาณ 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ใฝ่เรียนรู้ ในการคิด 4. เป็นนักคิด 4. ผลิตงานอย่าง 5. อยู่อย่างพอเพียง 3. ความสามารถ 5. สามารถสื่อสารได้ สร้างสรรค์ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน ในการแก้ปัญหา 6. มีระเบียบวินัย 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ 7. รักความเป็นไทย 4. ความสามารถ 7. ใจกว้าง สังคมโลก 8. มีจิตสาธารณะ ในการใช้ทักษะชีวิต 8. รอบคอบ 5. ความสามารถ 9. กล้าตัดสินใจ ในการใช้เทคโนโลยี 10. ยุติธรรม การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในโรงเรียนมาตรฐานสากลยังยึด หลักการและแนวคิดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกประการคือ ให้ผู้เรียนได้เรียนกลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรียนสาระขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดั ง เช่ น ที่ ไ ด้ ถื อ ปฏิ บั ติ อ ยู่ โรงเรี ย นจึ ง ควรใช้ ก ระบวนการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร สถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนโดยคำนึงถึงสภาพความพร้อม จุดเน้น ของโรงเรียน ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนสาระที่เป็นสากลมีลักษณะดังนี้
  • 14. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนทั่วไป โรงเรียนมาตรฐานสากล สาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - ภาษาไทย - ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ - ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - สังคมศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม/ - สังคมศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม/ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ - สุขศึกษาและพลศึกษา - สุขศึกษาและพลศึกษา - ศิลปะ - ศิลปะ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี - การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระสากล - Theory of Knowledge - Extended-Essay - Global Education - CAS : Creativity, Action, Service - ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES
  • 15. 10 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาของโรงเรี ย นมาตรฐานสากล โรงเรี ย นจะต้ อ งใช้ ห ลั ก การและแนวคิ ด หลั ก สู ต รแกนกลาง การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ทุ ก ประการ คื อ ให้ผู้เรียนได้เรียนกลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรียนสาระเพิ่มเติมและ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบัติอยู่ โดยโรงเรียนควรพิจารณาถึง ความเหมาะสม สภาพความพร้อม และจุดเน้นของโรงเรียนในการจัดให้ม ี การเรียนการสอนสาระที่เป็นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) กิจกรรม สร้างสรรค์ (CAS : Creativity, Action, Service) โลกศึกษา (Global Education) และเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษา สำหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรโดยนำสาระ สากลมาจัดลงในหลักสูตรสถานศึกษาทั้งในเชิงบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรือ จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ทั้งนี้โรงเรียนควร พิจารณาถึงความเหมาะสมของขอบข่ายสาระการเรียนรู้ของสาระสากลกับ โครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโดยดำเนินการดังนี้ 1 จัดเป็นหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1 หน่วย ในรายวิชาพื้นฐาน ทั้ง 8 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความเรียงชั้นสูง (Extended-Essay) โลกศึกษา (Global Education) ทั้งนี้ลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่เป็นหน่วยบูรณาการในรายวิชาพื้นฐาน ต้องใช้มาตรฐานและตัวชี้วัด และเน้นการจัดการเรียนการสอนตามธรรมชาติ การจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลที่เข้มข้น ตามหลักการหรือทฤษฎีดังกล่าว สำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) สามารถนำไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ใน ส่วนของ ชุมนุม ชมรม หรือ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ได้เรียนรู้ 2 จั ด เป็ น รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ตามความพร้ อ ม จุ ด เน้ น และบริ บ ทของ สถานศึกษา โดยจัดทำคำอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้และหน่วย การเรี ย นรู้ ในลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ การจั ด ทำรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ ง นี้ โ รงเรี ย นควรพิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสมของขอบข่ า ยสาระ การเรียนรู้ของสาระสากลกับโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี ้
  • 16. 1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) เป็นสาระการสอน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังทักษะการค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่ม เติมต่อยอดความรู้ให้ลึกซึ้งในประเด็นความรู้ (Knowledge issues) ได้เรียนรู้จากการเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน 8 สาระการเรียนรู้ ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ไม่ ใ ช่ การสอนเนื้อหาเพิ่ม ครูผู้สอนจะไม่สอนสิ่งที่เป็นเนื้อหา แต่สอนกระบวนการ ค้นคว้าและสืบค้นความรู้ โดยผู้เรียนต้องค้นคว้าหาความรู้เพื่อนำมาแสดงให้ เห็นว่า “เรา รู้ได้อย่างไร : How do we know?” และครูผู้สอนจะเป็น ผู้ชี้แนะชี้นำวิธีการแสวงหาความรู้ (Ways of Knowing) การใช้ข้อมูลเป็น เหตุผล การใช้ข้อมูลจากการค้นคว้าโต้แย้งด้วยความคิดสนับสนุนเห็นด้วย และความคิดขัดแย้งไม่เห็นด้วยกับความรู้ที่ค้นพบ วิถีของการรู้ ขอบข่ายของความรู้ Ways of Knowing Areas of Knowledge How do we know? What do we (claim to now?) มุ่งพัฒนาทักษะ เป็นวิชาสหวิทยาการ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ Interdisciplinary Course Critical Thinking 2 การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) เป็นสาระที่มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะการศึกษาค้นคว้าอย่าง อิสระ (Independent Study/Research) ในเรื่องที่ตนสนใจ จาก การเรียนเนื้อหาสาระในสาระการเรียนรู้พื้นฐาน และเขียนรายงาน สิ่งที่ค้นพบจากการค้นคว้าเป็นความเรียงเชิงวิชาการตามแบบแผนการเขียน เชิงวิชาการ มีองค์ประกอบต่างๆตามที่กำหนดครบถ้วน 3 โลกศึกษา (Global Education) เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในสถานการณ์ ข องโลก สามารถ วิเคราะห์เหตุการณ์โลกและสามารถมองเห็นช่องทางและวิธีการ ในการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด โดยกำหนดให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์เหตุการณ์โลก ใน 8 มิติ ได้แก่ WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES 11
  • 17. 1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ความเป็นพลเมืองโลก ความเป็นธรรมในสังคม Global Citizenship การพึ่งพาอาศัยกัน Social Justice Interdependence สิทธิมนุษยชน ความหลากหลาย Human Rights Diversity การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ค่านิยมและการสัมผัสรับรู้ Conflict Resolution Values Perceptions การพัฒนาอย่างยั่งยืน Sustainable Development การเรียนโลกศึกษา (Global Education) ไม่ใช่การสอนเนื้อหาสาระ แต่หวังผลให้ผู้เรียน “คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น” มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และทักษะการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ (Critical Thinking ) การจัดการเรียนการสอนเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียนซึ่งครูควรจัดกิจกรรมให้ มีความหลายหลาย เช่น การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ประเด็นเหตุการณ์ หรื อ ปั ญ หาเป็ น ฐานในการเรี ย นรู้ (Issue/Problem-based Learning) การเรียนรู้โดยผ่านการสนทนา (Dialogue-based Learning) ฯลฯ 4 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) เป็ น กิ จ กรรมที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ ไ ด้ พั ฒ นา ตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง และสร้ า งจิ ต สำนึ ก ของการทำประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เป็นการจัด กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการสร้างสรรค์โครงงานและปฏิบัติจริง 3 กิจกรรมหลักๆ ที่ประกอบไปด้วย การสร้างสรรค์โครงงาน (Creativity) โดย ใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น (Action) และเข้าร่วม กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์ (Service) การจัดการเรียนการสอนสาระที่เป็นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎี ความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) การเขี ย นความเรี ย งขั้ น สู ง (Extended-Essay) กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ป ระโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) และโลกศึกษา (Global Education) จะช่วยให้การสะท้อน ภาพความสำเร็จที่ชัดเจนทั้งความรู้ความสามารถตามสมมรรถนะทั้ง 5 ของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และศักยภาพความ เป็นพลโลกของผู้เรียนในโรงเรียนมาตรฐานสากล ดังนั้นแนวทางการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนจึงควรพิจารณาดำเนินการ ดังนี้
  • 18. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับประถมศึกษา บนหลักการและพื้นฐานความคิดของ Jean Piaget นักจิตวิทยาซึ่ง กล่าวไว้ในทฤษฎีการพัฒนาการเรียนรู้ (Theory of cognitive development) ว่าผู้เรียนที่มีอายุต่ำกว่า 11 หรือ 12 ปี ผู้เรียนยังไม่สามารถคิดอย่างลึกซึ้งได้ 1 แต่ นั ก ปรั ช ญาชื่ อ Garett Matthews นั ก ปรั ช ญามี ค วามเห็ น ว่ า ผู้เรียนวัยดังกล่าวมีความสามารถที่จะอภิปรายแสดงความคิดเห็นในเชิงซักถาม (Inquiry Learning) ดังนั้นควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการ เป็ น หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ใ นสาระพื้ น ฐาน หรื อ อาจจะจั ด เป็ น รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ในบางสาระ โดยมีแนวดำเนินการดังนี้ 1.1 ทฤษฎี ค วามรู้ (Theory of Knowledge) ควรจั ด เป็ น หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 1.2 การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) ควรจัดเป็น หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย หรือเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ โดยเน้นการฝึกทักษะพื้นฐาน ในการเขียนแต่ละองค์ประกอบ 1.3 โลกศึกษา (Global Education) ควรจัดเป็นหน่วยบูรณาการอยู่ ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นปฐมวัย ประถมศึกษาปีที่ 1-6 1.4 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้อยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1-6 WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES 1
  • 19. 1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศึกษา ทฤษฎีความรู้ การเขียน โลกศึกษา กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ สาระพื้นฐาน (Theory of ความเรียงขั้นสูง (Global Education) (CAS : Creativity, 8 กลุ่มสาระ Knowledge) (Extended-Essay) Action, Service) การเรียนรู้ หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม กิจกรรม เพิ่มเติม ภาษาไทย ✓ - - ✓ ✓ - - - คณิตศาสตร์ ✓ - - - ✓ - - - วิทยาศาสตร์ ✓ - - - ✓ - - - สังคมศึกษา ✓ - - - ✓ - - - ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและ ✓ - - - ✓ - - - พลศึกษา ศิลปะ ✓ - - - ✓ - - - การงานอาชีพและ ✓ - - - - - - เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ✓ - - ✓ - - - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมชุมนุม/ชมรม - - - - - - ✓ - - กิจกรรมเพื่อสังคม - - - - - - ✓ - และสาธารณะประโยชน์
  • 20. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ควรจัดสาระ 2 สากลในลักษณะของการบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ในสาระพื้นฐาน หรือ อาจจะจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในบางสาระโดยมีแนวดำเนินการ ดังนี้ 2.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็นหน่วย บูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 2.2 การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) ควรจัดเป็น หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือเป็นรายวิชา เพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 2.3 โลกศึกษา (Global Education) ควรเป็นหน่วยบูรณาการอยู่ใน สาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรือ เป็นรายวิชาเพิ่มเติมในสาระสังคมศึกษาหรือ สาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 2.4 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็นหน่วยกิจกรรมอยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หรือเป็น รายวิชาเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES 1
  • 21. 1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ทฤษฎีความรู้ การเขียน โลกศึกษา กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ สาระพื้นฐาน (Theory of ความเรียงขั้นสูง (Global Education) (CAS : Creativity, 8 กลุ่มสาระ Knowledge) (Extended-Essay) Action, Service) การเรียนรู้ หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม กิจกรรม เพิ่มเติม ภาษาไทย ✓ - - ✓ ✓ - - - คณิตศาสตร์ ✓ - - - ✓ - - - วิทยาศาสตร์ ✓ - - - ✓ - - - สังคมศึกษา ✓ - - - ✓ ✓ - - ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและ ✓ - - - ✓ - - - พลศึกษา ศิลปะ ✓ - - - ✓ - - - การงานอาชีพและ ✓ - - - - - - เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ✓ - - ✓ - - - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมชุมนุม/ชมรม - - - - - - ✓ - - กิจกรรมเพื่อสังคม - - - - - - ✓ - และสาธารณะประโยชน์
  • 22. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ควรจัด 3 สาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ในสาระพื้นฐาน หรืออาจจะจัดเป็นเพิ่มเติมในบางสาระ โดยมีแนวดำเนินการ ดังนี้ 3.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็นหน่วย บูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรืออาจจะจัดเป็นเพิ่มเติมในบาง สาระในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 3.2 การเขียนความเรียงขั้นสูง (Extended-Essay) ควรจัดเป็น หน่วยบูรณาการอยู่ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือเป็นรายวิชา เพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 3.3 โลกศึกษา (Global Education) ควรเป็นหน่วยบูรณาการอยู่ใน สาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรือ เป็นรายวิชาเพิ่มเติมในสาระสังคมศึกษาหรือ สาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 3.4 กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (CAS : Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็นหน่วยกิจกรรมอยู่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หรือเป็น รายวิชาเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทฤษฎีความรู้ การเขียน โลกศึกษา กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ สาระพื้นฐาน (Theory of ความเรียงขั้นสูง (Global Education) (CAS : Creativity, 8 กลุ่มสาระ Knowledge) (Extended-Essay) Action, Service) การเรียนรู้ หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม กิจกรรม เพิ่มเติม ภาษาไทย ✓ ✓ - ✓ ✓ - - ✓ คณิตศาสตร์ ✓ ✓ - - ✓ - - - วิทยาศาสตร์ ✓ ✓ - - ✓ - - - สังคมศึกษา ✓ ✓ - - ✓ ✓ - ✓ ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและ ✓ ✓ - - ✓ - - ✓ พลศึกษา ศิลปะ ✓ ✓ - - ✓ - - ✓ WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL INSTRUCTION GUIDELINES 1
  • 23. 1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ทฤษฎีความรู้ การเขียน โลกศึกษา กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ สาระพื้นฐาน (Theory of ความเรียงขั้นสูง (Global Education) (CAS : Creativity, 8 กลุ่มสาระ Knowledge) (Extended-Essay) Action, Service) การเรียนรู้ หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา หน่วย รายวิชา การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม การเรียนรู้ เพิ่มเติม กิจกรรม เพิ่มเติม การงานอาชีพและ ✓ ✓ - - - - ✓ เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ✓ ✓ - ✓ - - - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมชุมนุม/ชมรม - - - - - - ✓ - - กิจกรรมเพื่อสังคม - - - - - - ✓ - และสาธารณะประโยชน์ การจัดการเรียนการสอนในสาระสากล ในลักษณะเป็นหน่วยการ เรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐานและหรือเป็นรายวิชาเพิ่มเติมนั้น มุ่งเน้นให้โรงเรียน ได้ ป รั บ วิ ธี เ รี ย น เปลี่ ย นวิ ธี ส อนและวิ ธี ก ารวั ด และประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรียนโดยให้ผู้เรียน สร้างสรรค์ผลงาน นำเสนอผลงานทั้งเป็นเอกสารและ ปากเปล่า (Oral Presentation) เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ คุณภาพของผู้เรียนที่มีศักยภาพเป็นพลโลกตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ ของโรงเรียนมาตรฐานสากลดังแผนภูมิต่อไปนี้ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษา ศาสนา สื่อสารเป็น และวัฒนธรรม สื่อสารสองภาษา าร อังกฤษ- ิชาก ลยี ตปท. ที่2 ิศว โ คิดเ น้าทาง ล้ำห วามคิด ็นเล้เทคโน เป ใช - ทฤษฎีความรู้ ค ป็น - ความเรียงขั้นสูง - กิจกรรม สุขศึกษา สร้างสรรค์ประโยชน์ การงานอาชีพ และพลศึกษา และเทคโนโลยี ร่วม ม ีว โลกศึกษา กัน โลก ิต ป็น ์ สังค ักษะช ใช้ท หาเ งสรรค รับผ ัญ แก้ป านสร้า ิชอบ วิทยาศาสตร์ ง คณิตศาสตร์ ผลิต ศิลปะ
  • 24. ตอนที่ 2 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK)
  • 25. 0 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) 1 ธรรมชาติวิชา (Nature of the Subject) ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) หรือรู้จักกันในอีก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า ญาณวิ ท ยา (Epistemology) เป็ น สาระที่ ว่ า ด้ ว ยการค้ น คว้ า แสวงหาความรู้เพิ่มเติมต่อยอดอย่างลึกซึ้งในสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (knowing) และได้ เรียนรู้มาจากการเรียนเนื้อหาความรู้ในสาระการเรียนรู้พื้นฐาน 8 สาระการ เรียนรู้ โดยมีการกำหนดประเด็นความรู้ (Knowledge issues) ในลักษณะ พหุวิทยาการ (Interdisciplinary) สำหรับให้ผู้เรียนค้นคว้า แสวงหาหาความรู้ เพิ่มเติม และเขียนรายงานผลการค้นคว้าในประเด็นความรู้ที่ผู้เรียนค้นคว้า 2 วัตถุประสงค์ (Objectives) การจัดการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนค้นคว้า แสวงหาความรู้ สามารถแสดง ความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคำถามให้คำอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่างๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่อมโยงความรู้ เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับรู้ความรู้ (Ways of Knowing) จำนวน 4 วิถีทาง ได้แก่ วิธีการสร้างความรู้จาก ความรู้สึก (Sense Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากอารมณ์ (Emotion)