SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทย
สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ วันนี้เราสองคนก็ได้นำความรู้ด้านประวัติศาสตร์มาเล่าให้เพื่อนๆฟังกันนะครับ
ก่อนอื่นเราก็มาทำความรู้จักกับหลักฐานและองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ไทยกันก่อนนะคะ
ครับ สำหรับหลักฐานและองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ไทยนั้นก็แบ่งออกเป็น ลักษณะด้วยกัน คือ 1.  จารหรือจารึก (1)  “ จาร ”   หมายถึง  การใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานให้เป็นตัวหนังสือ (2)  “ จารึก ”   หมายถึง  การเขียนรอยลึกให้เป็นตัวอักษรบนแผ่นศิลาหรือโลหะ (3)  ความหมายของ  “ จารึก ”   ทางประวัติศาสตร์  หมายถึง  บันทึกหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวต่างๆ  ของมนุษย์  เป็นการบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ  ที่เกิดขึ้นทั้งในด้านการเมือง  เศรษฐกิจ  และสังคม  เพื่อให้เป็นหลักฐานแก่คนรุ่นหลัง จารึก  เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้น  ( Primary  Sources )  หรือหลักฐานร่วมสมัย   ซึ่งผู้จัดทำเป็นผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์นั้นๆ  ลักษณะสำคัญของจารึก  คือ (1)  มีกำหนดสถานที่  เวลา  และผู้จัดทำไว้อย่างชัดเจน (2)  ข้อจำกัดของจารึก  คือ  ภาษาที่ใช้เป็นภาษาโบราณ  ซึ่งแปลความหมายให้เข้าใจได้ยากและตัวจารึกมักมีปัญหาความไม่สมบูรณ์ตามสภาพกาลเวลา  เช่น  ชำรุด  แตกหัก  หรือลบเลือน  เป็นต้น
2.  ตำนาน 2.1  “ ตำนาน ”   คือเรื่องราวที่สืบต่อๆ กันมาเป็นเวลานานหลายชั่วอายุคน  ต่อมามีการนำมาบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร  เช่น  ตำนานเมืองหริภุญชัย  ตำนานจามเทวีวงศ์  และตำนานสิงหนวัติ  เป็นต้น  นักวิชาการถือว่า  “ ตำนาน ”   เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีอายุเก่าแก่มาก 2.2  ข้อมูลหรือเรื่องราวที่ปรากฏในตำนานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา  มีลักษณะเป็นการผสมผสานอย่างกลมกลืนระหว่างข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์  นิทานพื้นบ้าน  ความเชื่อของคนในท้องถิ่น  และสิ่งเร้นลับเหนือธรรมชาติ  ส่วนใหญ่บันทึกเป็นภาษาบาลี 2.3  เนื้อหาสาระของตำนาน  สะท้อนถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย  มักจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ  การเผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์องค์ต่างๆ  รวมทั้งเรื่องราวการสร้างบ้านแปลงเมืองในสมัยโบราณ  เป็นต้น 2.4  คุณค่าของตำนาน  จัดว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าน้อย  เพราะขาดหลักฐาน  การอ้างอิงที่หน้าเชื่อถือ  ไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง  และมักสอดแทรกเรื่องราวลี้ลับและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่างๆ  มากจนไม่น่าเชื่อ  แต่เหมาะสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
3.  พงศาวดาร 3.1  หมายถึง  การบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ  ที่เกี่ยวข้องกับประเทศชาติและพระมหากษัตริย์  เช่น  พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ  เขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  ได้รับยกย่องว่ามีเนื้อหาสมบูรณ์ที่สุด 3.2  เนื้อหาสาระของพงศาวดาร  สะท้อนถึงอิทธิพลของอาณาจักรและบทบาทของพระมหากษัตริย์  เช่น  พระราชกรณียกิจด้านการทำสงคราม  ละวันเดือนปีที่เกิดเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ  เป็นต้น  โดยบันทึกเป็นภาษาไทย
4.  ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน 4.1  งานเขียนประวัติศาสตร์ไทยสมัยปัจจุบันเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่  4  เป็นต้นมา  โดยได้รับถ่ายทอดปรัชญาแนวความคิดจากนักประวัติศาสตร์ชาติตะวันตะคนสำคัญ  คือ  เลโอปอล์ด  ฟอน  รังเกอ  ซึ่งกำหนดให้มี  “ วิธีการทางประวัติศาสตร์ ” 4.2  วิธีการทางประวัติศาสตร์  ช่วยให้การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันมีระเบียบแบบแผนน่าเชื่อถือเน้นการใช้หลักฐาน  มีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล  เพื่อให้ได้ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องและชัดเจนมากที่สุด 4.3  สมเด็จ ฯ  กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  ทรงเป็นผู้นำวิธีศึกษาประวัติศาสตร์แผนใหม่ดังกล่าวมาใช้เป็นพระองค์แรก  ทำให้ได้ภาพความจริงเก่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น  จึงทรงได้รับยกย่องให้เป็น  “ พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย ”
ครับ เราก็ได้รู้เกี่ยวกับหลักฐานและองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ไทยไปแล้วนะครับ คงตอบข้อข้องใจของใครหลายคนกันได้แล้วนะครับ
แล้วหลักฐาน และองค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากลล่ะคะ
อ่อ  !   การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ สมัยก่อนประวัติศาสตร์  และสมัยประวัติศาสตร์
1.  การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ  “ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ” แหล่งอารยธรรมของมนุษย์ในภูมิภาคต่าง ๆ  มีการพัฒนาการความเจริญเร็วหรือช้าไม่เท่ากัน  ลักษณะความเจริญในด้านต่างๆ  ก็แตกต่างกัน  หลักฐานที่นำมาใช้เพื่อศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของ   “ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ”   จึงย่อมแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค  อาจจำแนกออกเป็น  3  ประเภท  ดังนี้ 1  โบราณวัตถุ  เช่น  เครื่องหินขัด  ภาชนะเครื่องปั้นดินเผา  อาวุธและภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ  ที่ทำด้วยทองแดง  สำริด  และเหล็ก  ซากโครงสร้างกระดูกมนุษย์  และลูกปัดหินสีต่างๆ  เป็นต้น 2  โบราณสถาน  เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อต่างๆ  เช่น  ถ้ำ  เนผาหิน  สถานที่ฝังศพ  ซากเนินดินเมืองโบราณ ฯลฯ 3  โบราณศิลปกรรม  ได้แก่  ภาพเขียนสีตามผนังถ้ำ  และภาพแกะสลักนูนต่ำตามผนังถ้ำ  เช่น  ภาพเขียนสีที่ผาแต้ม  จังหวัดอุบลราชธานี  เป็นต้นครับ
การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ  “ สมัยประวัติศาสตร์ ” มนุษย์ก้าวเข้าสู่ยุค  “ สมัยประวัติศาสตร์ ”   เมื่อประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้  ซึ่งแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคต่างๆ  ของโลกต่างเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์  ในระยะเวลาไม่พร้อมกัน  โดยทราบจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ค้นพบ  ในที่นี้  จำแนกได้เป็น  2  ประเภทใหญ่ๆ  ดังนี้ 1  หลักฐานทางโบราณคดี  เช่น  โบราณสถานสิ่งก่อสร้างต่างๆ  โบราณวัตถุจำพวกอาวุธ  ภาชนะเครื่องมือและเครื่องใช้ต่างๆ  ที่ทำด้วยเหล็ก  โลหะสำริด  เครื่องเคลือบ  เหรียญตรา  ฯลฯ  2  หลักฐานที่เป็นรายลักษณ์อักษร  แบ่งออกเป็น  2  ชนิด  คือ  (1)  หลักฐานชั้นต้น  เป็นอกสารร่วมสมัยซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์นั้นๆ  เช่น  หลักศิลาจารึก  จดหมายเหตุ  บันทึกของบุคคลสำคัญต่างๆ  ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์  หนังสือพิมพ์  หนังสือเอกสารของทางราชการ  และบทสัมภาษณ์บุคคลที่อยู่ในเหตุการณ์  เป็นต้น (2)  หลักฐานชั้นรอง  เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นภายหลังเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์  เช่น  บทความทางวิชาการ  งานวิจัยทางประวัติศาสตร์  หนังสือและตำราแบบเรียนทางประวัติศาสตร์  เป็นต้น
องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล งานเขียนหรืองานศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์สากล  แบ่งเป็น  3  ยุคสมัย  ดังนี้ 1  งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 2  งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยกลาง 3  งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่
งานเขียนประวัติศาสตร์โบราณ งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยโบราณมีลักษณะ  ดังนี้ 9.1  งานเขียนสมัยโบราณในระยะแรก  มีลักษณะเป็นกึ่งประวัติศาสตร์และตำนานทางศาสนา  โดยกล่าวถึงเรื่องราวของพระเจ้ามากกว่ามนุษย์ 9.2  งานเขียนสมัยโบราณระยะหลัง  เน้นบทบาทและความสำคัญของมนุษย์มากขึ้นตามความคิดแบบมนุษย์นิยม  ซึ่งเชื่อว่ามนุษย์เป็นผู้กำหนดและเปลี่ยนแปลงสังคม  มิใช่เกิดจากพระเจ้าเป็นผู้กำหนดเหมือนดังแต่ก่อน 9.3  นักประวัติศาสตร์สมัยโบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด  คือ  เฮโรโดตัส  นักปราชญ์ชาวกรีก  เป็นผู้ริเริ่มงานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่มีเหตุผลน่าเชื่อถือ  โดยเน้นบทบาทของมนุษย์  มีการระบุช่วงเวลาและสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆ  อย่างชัดเจน  จึงได้รับยกย่องให้เป็น  “ บิดาแห่งวิชาประวัติศาสตร์ ”  ของโลก
งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยกลาง ลักษณะงานเขียนทางประวัติศาสตร์สมัยกลาง  มีดังนี้ 1  เน้นรับใช้ศาสนาและพระเจ้า  เนื่องจากในช่วงประวัติศาสตร์  “ สมัยกลาง ”  คริสต์ศาสนามีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษยชาติอย่างมาก ทั้งในหมู่ชนชั้นปกครองและราษฎรในแว่นแคว้นต่างๆ ของยุโรป งานเขียนทางประวัติศาสตร์จึงเน้นเรื่องราวของพระเจ้าและคริสต์จักรเป็นศรัทธาและความจงรักภักดีต่อพระเจ้า 2  นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของสมัยกลาง  คือ  นักบุญออกัสติน  มีงานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ  คือ  “ เทวนคร ”   เน้นให้มนุษย์มีความศรัทธาและจงรักภักดีต่อพระเจ้า
งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีลักษณะสำคัญ  ดังนี้ 1  ได้รับอิทธิพลจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ของมนุษยชาติ  ทำให้นักประวัติศาสตร์ให้ความสำคัญกับเหตุผลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากขึ้น  เพื่อค้นคว้าหาความจริงที่เกดขึ้นในอดีต 2  นักประวัติศาสตร์คนสำคัญของสมัยใหม่  คือ  เลโอปอล์ด  ฟอน  รังเกอ  ชาวเยอรมัน  โดยเป็นผู้คิด  “ ระเบียบวิธีการทางประวัติศาสตร์ ”   เพื่อใช้ศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ตามแนวทางวิทยาศาสตร์  ส่งผลให้วิชาประวัติศาสตร์พัฒนาก้าวหน้าไปมากในปัจจุบัน
แล้วความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลล่ะคะ เป็นยังไงบ้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยโบราณกับสมัยกลาง 1   ประวัติศาสตร์สากล  “ สมัยโบราณ ”  เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมของชนชาติตะวันตก ซึ่งนักประวัติศาสตร์ถือเอาเหตุการณ์ล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เมื่อปี ค . ศ . 476  เป็นการสิ้นสุดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ  “ สมัยโบราณ ” 2  ประวัติศาสตร์สมัยโบราณมีความสัมพันธ์เชื่อมต่อสมัยกลาง  โดยข้อเท็จจริงประวัติศาสตร์สมัยโบราณยังไม่สิ้นสุดลงในทันทีทันใด  แต่ยังคงมีอารยธรรมในด้านต่างๆ  มีความเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมาถึง  “ สมัยกลาง ”   เฉพาะที่สำคัญ  มีดังนี้   (1)  มรดกอารยธรรมของจักรวรรดิโรมัน  ยังคงมีอิทธิพลต่อเนื่องมาถึง  “ สมัยกลาง ”   เช่น  งานสถาปัตยกรรม  ประติมากรรม  วรรณกรรม  การปกครอง  และศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ    (2)  คริสต์ศาสนา  เมื่อผู้นำของจักรวรรดิโรมันตะวันตกยอมรับนับถือคริสต์ศาสนาอย่างเป็นทางการ  ทำให้คริสต์ศาสนามีฐานะมั่นคงและเป็นรากฐานอารยธรรมของชาติตะวันตกหรือยุโรปสืบต่อมา  จนเมื่อเข้าสู่  “ สมัยกลาง ”   พระสันตะปาปา  ประมุขของคริสตจักรที่สำนักวาติกัน  มีฐานะ  บทบาท  ความสำคัญ  และมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนและฝ่ายบ้านเมืองอย่างมาก
แล้วความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยล่ะคะ  มีความเป็นมาอย่างไรบ้าง
มีอยู่ด้วยกัน  2  สมัย คือ 1.  ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยอยุธยากับสมัยธนบุรี 1.1  เมื่ออารณจักรกรุงศรีอยุธยาล่มสลาย  ในปี พ . ศ .  2310  ถือเป็นการสิ้นสุดอำนาจการปกครองของอาณาจักรหรือราชธานีเดิม  แต่อารยธรรมความเจริญของกรุงศรีอยุธยาในด้านต่างๆ  มิได้สิ้นสุดลงแต่อย่างใดแต่ได้รับการสืบทอดให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยในสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์สืบต่อมา 1.2  ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี  ( พ . ศ . 2310-2325)  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงพยายามสร้างความเจริญรุ่งเรืองของกรุงธนบุรีให้เหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  เช่น  ด้านการปกครอง  ศาสนา  และศิลปวัฒนธรรม ฯลฯ  แต่มีอุปสรรคในด้านต่างๆ  เช่น  บ้านเมืองติดศึกสงครามไม่ว่างเว้น  และฐานะทางเศรษฐกิจ ไม่เอื้ออำนวย  เป็นต้น ครับ
2.  ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยอยุธยากับสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช  รัชกาลที่  1  ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็น  ราชธานี  เมื่อ พ . ศ .  2325  ทรงตั้งพระทัยจะสร้างราชธานีแห่งใหม่ให้เจริญรุ่งเรืองเหมือนกรุงศรีอยุธยาโดยจำลองรูปแบบความเจริญในด้านต่างๆ  ของกรุงศรีอยุธยามาไว้ที่กรุงเทพ ฯ  เช่น 2.1  ด้านปกครอง  ยังคงใช้รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา  เช่น  การปกครองแบบจุสดมภ์ในส่วนกลาง  และการปกครองหัวเมืองในส่วนภูมิภาค  เป็นต้น 2.2  ด้านเศรษฐกิจ  การหารายได้เข้าท้องพระคลังหลวงยังคงใช้ระบบการผูกขาดการค้าโดยรัฐโดยการทำหน้าที่ของ  “ พระคลังสินค้า ”   เหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี 2.3  ด้านสังคม  เน้นให้บ้านเมืองมีสภาพสังคมคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา  ดังนี้   (1)  ประชาชนอยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข  โดยชำระกฎหมายใหม่ให้เป็นระเบียบ  เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสร้างความสงบสุขให้แก่สังคม  เรียกว่า  “ กฎหมายตราสามดวง ”   (2)  ความมั่นคงของสถาบันพระพุทธศาสนา  เพื่อให้เป็นที่พึ่งทางจิตใจของอาณาประชาราษฎร์  โดยการจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ใหม่  และทำสังคายนาพระไตรปิฎก  เป็นต้น
ทุกๆคนคงได้รู้กันแล้วนะครับ ว่าความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทยมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
งั้นเรามาลองทำแบบทดสอบกันเลยนะคะ
แบบทดสอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เฉลย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สวัสดีครับ  /  สวัสดีค่ะ

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์Moll Kim
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 

What's hot (20)

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 

Similar to ประวัติศาสตร์ ม.2

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756CUPress
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 

Similar to ประวัติศาสตร์ ม.2 (20)

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
Pawat
PawatPawat
Pawat
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 

ประวัติศาสตร์ ม.2

  • 4. ครับ สำหรับหลักฐานและองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ไทยนั้นก็แบ่งออกเป็น ลักษณะด้วยกัน คือ 1. จารหรือจารึก (1) “ จาร ” หมายถึง การใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานให้เป็นตัวหนังสือ (2) “ จารึก ” หมายถึง การเขียนรอยลึกให้เป็นตัวอักษรบนแผ่นศิลาหรือโลหะ (3) ความหมายของ “ จารึก ” ทางประวัติศาสตร์ หมายถึง บันทึกหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวต่างๆ ของมนุษย์ เป็นการบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้เป็นหลักฐานแก่คนรุ่นหลัง จารึก เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้น ( Primary Sources ) หรือหลักฐานร่วมสมัย ซึ่งผู้จัดทำเป็นผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์นั้นๆ ลักษณะสำคัญของจารึก คือ (1) มีกำหนดสถานที่ เวลา และผู้จัดทำไว้อย่างชัดเจน (2) ข้อจำกัดของจารึก คือ ภาษาที่ใช้เป็นภาษาโบราณ ซึ่งแปลความหมายให้เข้าใจได้ยากและตัวจารึกมักมีปัญหาความไม่สมบูรณ์ตามสภาพกาลเวลา เช่น ชำรุด แตกหัก หรือลบเลือน เป็นต้น
  • 5. 2. ตำนาน 2.1 “ ตำนาน ” คือเรื่องราวที่สืบต่อๆ กันมาเป็นเวลานานหลายชั่วอายุคน ต่อมามีการนำมาบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ตำนานเมืองหริภุญชัย ตำนานจามเทวีวงศ์ และตำนานสิงหนวัติ เป็นต้น นักวิชาการถือว่า “ ตำนาน ” เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีอายุเก่าแก่มาก 2.2 ข้อมูลหรือเรื่องราวที่ปรากฏในตำนานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา มีลักษณะเป็นการผสมผสานอย่างกลมกลืนระหว่างข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ นิทานพื้นบ้าน ความเชื่อของคนในท้องถิ่น และสิ่งเร้นลับเหนือธรรมชาติ ส่วนใหญ่บันทึกเป็นภาษาบาลี 2.3 เนื้อหาสาระของตำนาน สะท้อนถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย มักจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ การเผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์องค์ต่างๆ รวมทั้งเรื่องราวการสร้างบ้านแปลงเมืองในสมัยโบราณ เป็นต้น 2.4 คุณค่าของตำนาน จัดว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าน้อย เพราะขาดหลักฐาน การอ้างอิงที่หน้าเชื่อถือ ไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง และมักสอดแทรกเรื่องราวลี้ลับและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่างๆ มากจนไม่น่าเชื่อ แต่เหมาะสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
  • 6. 3. พงศาวดาร 3.1 หมายถึง การบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเทศชาติและพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ เขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้รับยกย่องว่ามีเนื้อหาสมบูรณ์ที่สุด 3.2 เนื้อหาสาระของพงศาวดาร สะท้อนถึงอิทธิพลของอาณาจักรและบทบาทของพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชกรณียกิจด้านการทำสงคราม ละวันเดือนปีที่เกิดเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ เป็นต้น โดยบันทึกเป็นภาษาไทย
  • 7. 4. ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน 4.1 งานเขียนประวัติศาสตร์ไทยสมัยปัจจุบันเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา โดยได้รับถ่ายทอดปรัชญาแนวความคิดจากนักประวัติศาสตร์ชาติตะวันตะคนสำคัญ คือ เลโอปอล์ด ฟอน รังเกอ ซึ่งกำหนดให้มี “ วิธีการทางประวัติศาสตร์ ” 4.2 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ช่วยให้การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันมีระเบียบแบบแผนน่าเชื่อถือเน้นการใช้หลักฐาน มีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล เพื่อให้ได้ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องและชัดเจนมากที่สุด 4.3 สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเป็นผู้นำวิธีศึกษาประวัติศาสตร์แผนใหม่ดังกล่าวมาใช้เป็นพระองค์แรก ทำให้ได้ภาพความจริงเก่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น จึงทรงได้รับยกย่องให้เป็น “ พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย ”
  • 10. อ่อ ! การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์
  • 11. 1. การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ “ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ” แหล่งอารยธรรมของมนุษย์ในภูมิภาคต่าง ๆ มีการพัฒนาการความเจริญเร็วหรือช้าไม่เท่ากัน ลักษณะความเจริญในด้านต่างๆ ก็แตกต่างกัน หลักฐานที่นำมาใช้เพื่อศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของ “ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ” จึงย่อมแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค อาจจำแนกออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1 โบราณวัตถุ เช่น เครื่องหินขัด ภาชนะเครื่องปั้นดินเผา อาวุธและภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ ที่ทำด้วยทองแดง สำริด และเหล็ก ซากโครงสร้างกระดูกมนุษย์ และลูกปัดหินสีต่างๆ เป็นต้น 2 โบราณสถาน เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อต่างๆ เช่น ถ้ำ เนผาหิน สถานที่ฝังศพ ซากเนินดินเมืองโบราณ ฯลฯ 3 โบราณศิลปกรรม ได้แก่ ภาพเขียนสีตามผนังถ้ำ และภาพแกะสลักนูนต่ำตามผนังถ้ำ เช่น ภาพเขียนสีที่ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นต้นครับ
  • 12. การใช้หลักฐานศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติ “ สมัยประวัติศาสตร์ ” มนุษย์ก้าวเข้าสู่ยุค “ สมัยประวัติศาสตร์ ” เมื่อประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ ซึ่งแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคต่างๆ ของโลกต่างเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ ในระยะเวลาไม่พร้อมกัน โดยทราบจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ค้นพบ ในที่นี้ จำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1 หลักฐานทางโบราณคดี เช่น โบราณสถานสิ่งก่อสร้างต่างๆ โบราณวัตถุจำพวกอาวุธ ภาชนะเครื่องมือและเครื่องใช้ต่างๆ ที่ทำด้วยเหล็ก โลหะสำริด เครื่องเคลือบ เหรียญตรา ฯลฯ 2 หลักฐานที่เป็นรายลักษณ์อักษร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ (1) หลักฐานชั้นต้น เป็นอกสารร่วมสมัยซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์นั้นๆ เช่น หลักศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกของบุคคลสำคัญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ หนังสือพิมพ์ หนังสือเอกสารของทางราชการ และบทสัมภาษณ์บุคคลที่อยู่ในเหตุการณ์ เป็นต้น (2) หลักฐานชั้นรอง เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นภายหลังเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เช่น บทความทางวิชาการ งานวิจัยทางประวัติศาสตร์ หนังสือและตำราแบบเรียนทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
  • 13. องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล งานเขียนหรืองานศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น 3 ยุคสมัย ดังนี้ 1 งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 2 งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยกลาง 3 งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่
  • 14. งานเขียนประวัติศาสตร์โบราณ งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยโบราณมีลักษณะ ดังนี้ 9.1 งานเขียนสมัยโบราณในระยะแรก มีลักษณะเป็นกึ่งประวัติศาสตร์และตำนานทางศาสนา โดยกล่าวถึงเรื่องราวของพระเจ้ามากกว่ามนุษย์ 9.2 งานเขียนสมัยโบราณระยะหลัง เน้นบทบาทและความสำคัญของมนุษย์มากขึ้นตามความคิดแบบมนุษย์นิยม ซึ่งเชื่อว่ามนุษย์เป็นผู้กำหนดและเปลี่ยนแปลงสังคม มิใช่เกิดจากพระเจ้าเป็นผู้กำหนดเหมือนดังแต่ก่อน 9.3 นักประวัติศาสตร์สมัยโบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ เฮโรโดตัส นักปราชญ์ชาวกรีก เป็นผู้ริเริ่มงานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่มีเหตุผลน่าเชื่อถือ โดยเน้นบทบาทของมนุษย์ มีการระบุช่วงเวลาและสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆ อย่างชัดเจน จึงได้รับยกย่องให้เป็น “ บิดาแห่งวิชาประวัติศาสตร์ ” ของโลก
  • 15. งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยกลาง ลักษณะงานเขียนทางประวัติศาสตร์สมัยกลาง มีดังนี้ 1 เน้นรับใช้ศาสนาและพระเจ้า เนื่องจากในช่วงประวัติศาสตร์ “ สมัยกลาง ” คริสต์ศาสนามีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษยชาติอย่างมาก ทั้งในหมู่ชนชั้นปกครองและราษฎรในแว่นแคว้นต่างๆ ของยุโรป งานเขียนทางประวัติศาสตร์จึงเน้นเรื่องราวของพระเจ้าและคริสต์จักรเป็นศรัทธาและความจงรักภักดีต่อพระเจ้า 2 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของสมัยกลาง คือ นักบุญออกัสติน มีงานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ คือ “ เทวนคร ” เน้นให้มนุษย์มีความศรัทธาและจงรักภักดีต่อพระเจ้า
  • 16. งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีลักษณะสำคัญ ดังนี้ 1 ได้รับอิทธิพลจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ของมนุษยชาติ ทำให้นักประวัติศาสตร์ให้ความสำคัญกับเหตุผลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากขึ้น เพื่อค้นคว้าหาความจริงที่เกดขึ้นในอดีต 2 นักประวัติศาสตร์คนสำคัญของสมัยใหม่ คือ เลโอปอล์ด ฟอน รังเกอ ชาวเยอรมัน โดยเป็นผู้คิด “ ระเบียบวิธีการทางประวัติศาสตร์ ” เพื่อใช้ศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ตามแนวทางวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้วิชาประวัติศาสตร์พัฒนาก้าวหน้าไปมากในปัจจุบัน
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยโบราณกับสมัยกลาง 1 ประวัติศาสตร์สากล “ สมัยโบราณ ” เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมของชนชาติตะวันตก ซึ่งนักประวัติศาสตร์ถือเอาเหตุการณ์ล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เมื่อปี ค . ศ . 476 เป็นการสิ้นสุดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ “ สมัยโบราณ ” 2 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณมีความสัมพันธ์เชื่อมต่อสมัยกลาง โดยข้อเท็จจริงประวัติศาสตร์สมัยโบราณยังไม่สิ้นสุดลงในทันทีทันใด แต่ยังคงมีอารยธรรมในด้านต่างๆ มีความเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมาถึง “ สมัยกลาง ” เฉพาะที่สำคัญ มีดังนี้ (1) มรดกอารยธรรมของจักรวรรดิโรมัน ยังคงมีอิทธิพลต่อเนื่องมาถึง “ สมัยกลาง ” เช่น งานสถาปัตยกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม การปกครอง และศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ (2) คริสต์ศาสนา เมื่อผู้นำของจักรวรรดิโรมันตะวันตกยอมรับนับถือคริสต์ศาสนาอย่างเป็นทางการ ทำให้คริสต์ศาสนามีฐานะมั่นคงและเป็นรากฐานอารยธรรมของชาติตะวันตกหรือยุโรปสืบต่อมา จนเมื่อเข้าสู่ “ สมัยกลาง ” พระสันตะปาปา ประมุขของคริสตจักรที่สำนักวาติกัน มีฐานะ บทบาท ความสำคัญ และมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนและฝ่ายบ้านเมืองอย่างมาก
  • 20. มีอยู่ด้วยกัน 2 สมัย คือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยอยุธยากับสมัยธนบุรี 1.1 เมื่ออารณจักรกรุงศรีอยุธยาล่มสลาย ในปี พ . ศ . 2310 ถือเป็นการสิ้นสุดอำนาจการปกครองของอาณาจักรหรือราชธานีเดิม แต่อารยธรรมความเจริญของกรุงศรีอยุธยาในด้านต่างๆ มิได้สิ้นสุดลงแต่อย่างใดแต่ได้รับการสืบทอดให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยในสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์สืบต่อมา 1.2 ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี ( พ . ศ . 2310-2325) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงพยายามสร้างความเจริญรุ่งเรืองของกรุงธนบุรีให้เหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เช่น ด้านการปกครอง ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม ฯลฯ แต่มีอุปสรรคในด้านต่างๆ เช่น บ้านเมืองติดศึกสงครามไม่ว่างเว้น และฐานะทางเศรษฐกิจ ไม่เอื้ออำนวย เป็นต้น ครับ
  • 21. 2. ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์สมัยอยุธยากับสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็น ราชธานี เมื่อ พ . ศ . 2325 ทรงตั้งพระทัยจะสร้างราชธานีแห่งใหม่ให้เจริญรุ่งเรืองเหมือนกรุงศรีอยุธยาโดยจำลองรูปแบบความเจริญในด้านต่างๆ ของกรุงศรีอยุธยามาไว้ที่กรุงเทพ ฯ เช่น 2.1 ด้านปกครอง ยังคงใช้รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา เช่น การปกครองแบบจุสดมภ์ในส่วนกลาง และการปกครองหัวเมืองในส่วนภูมิภาค เป็นต้น 2.2 ด้านเศรษฐกิจ การหารายได้เข้าท้องพระคลังหลวงยังคงใช้ระบบการผูกขาดการค้าโดยรัฐโดยการทำหน้าที่ของ “ พระคลังสินค้า ” เหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี 2.3 ด้านสังคม เน้นให้บ้านเมืองมีสภาพสังคมคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา ดังนี้ (1) ประชาชนอยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข โดยชำระกฎหมายใหม่ให้เป็นระเบียบ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสร้างความสงบสุขให้แก่สังคม เรียกว่า “ กฎหมายตราสามดวง ” (2) ความมั่นคงของสถาบันพระพุทธศาสนา เพื่อให้เป็นที่พึ่งทางจิตใจของอาณาประชาราษฎร์ โดยการจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ใหม่ และทำสังคายนาพระไตรปิฎก เป็นต้น
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31. สวัสดีครับ / สวัสดีค่ะ