SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
1
2
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102
ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
นางเย็นจิตร บุญศรี
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
3
กระทรวงมหาดไทย
ข้าพเจ้า นายไพสิน นกศิริ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดสระแก้ว ขอรับรองว่าชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้เป็นนวัตกรรมที่
นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ได้จัดทาและใช้ประกอบการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยาจริง
นายไพสิน นกศิริ
ตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา
คารับรองของผู้บริหาร
4
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ )ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 รหัสวิชา
ศ32102ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีความรู้เข้าใจใน ชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์
กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้จัดทาได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับ ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ซึ่งมีทั้งหมด 4 ชุดดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย
ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์
ชุดที่ 4 เรื่อง การประดิษฐ์ท่าราสร้างสรรค์ ชุดเซิ้งอ้อยหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
สาหรับเล่มนี้เป็นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102
ชุดที่ 2 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับ
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน
และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาควรอ่านเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ต่อไปในโอกาสต่อไป และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
คานา
เย็นจิตร บุญศรี
5
เรื่อง หน้า
คู่มือครู 6
คู่มือนักเรียน 10
บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ 12
บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น 25
แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 1 29
เฉลย แบบทดสอบ ตอนที่ 1 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ที่ 2 30
แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 32
เกณฑ์การให้คะแนน แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) 33
บรรณานุกรม 39
ประวัติผู้จัดทา 40
สารบัญ
6
คาชี้แจงสาหรับครู
1.ส่วนประกอบในชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย
1.1 คู่มือครู
1.2 คู่มือนักเรียน
1.3 บัตรเนื้อหา
1.4 แบบฝึกหัด
1.5 แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ )
2.ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ในการเรียน ใช้ประกอบแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นดังนี้
2.1 บัตรเนื้อหา ได้แก่
บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์
บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คู่มือครู
7
คาชี้แจง ให้ครูผู้สอน ดาเนินกิจกรรมดังนี้
1. ศึกษาชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์
การเรียนรู้ สาระการเรียน การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดผลและ
ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนให้เข้าใจ
2. ศึกษา ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือ และ
ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ให้เข้าใจ
3. ก่อนสอน ครูควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียน และกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน
4. ขั้นตอนการสอนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2 สอน (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / กระบวนการสอนแบบอภิปราย
/ กระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบถาม / กระบวนการสอนแบบบรรยาย / กระบวนการสอน
แบบศึกษาด้วยตนเอง / กระบวนการสอนแบบโซเครติส)
ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม
ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว
ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์
ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล
5. ควรดูการทางานขณะปฏิบัติกิจกรรมในชุดการสอนนี้อย่างใกล้ชิด ถ้าเกิดปัญหา ครู
ควรเป็นที่ปรึกษา หรือให้คาแนะนา ในการแก้ไขในการเรียนได้ทันที โดยเน้นให้นักเรียนได้ร่วม
ร่วมปฏิบัติ และสรุป และ ประเมินผล
6. สรุปคะแนนลงในแบบสรุปคะแนนในแบบบันทึกการเรียนรู้ของแต่ละชุด
7. หลังจากที่นักเรียนดาเนินชุดการสอนประกอบการเรียนรู้นี้เรียบร้อยแล้วทาการ
ทดสอบภาคปฏิบัติ
8. ทาแบบประเมินผลการเรียนเพื่อดูแลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการก้าวหน้าทางการ
เรียนของนักเรียน
บทบาทของครูผู้สอน
8
สิ่งที่ครูต้องเตรียม
1. ครูตรวจชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ให้มีครบทุกกิจกรรม เช่น
1.1 บัตรเนื้อหาเรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.2 บัตรคาสั่ง บัตรกิจกรรม พร้อมอุปกรณ์สื่อ ซีดี ประจา ชุดการ
สอน แผนการจัดการเรียนรู้
1.3 แบบทดสอบประจาชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ พร้อมเฉลย
1.4 แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม
2. ห้องเรียนกว้างและโล่งสาหรับการปฏิบัติการทางานกลุ่ม
3. สื่อที่ใช้ประกอบชุดการสอนกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เช่น
3.1 แผ่นภาพเรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.2 ที่ตั้งวางภาพ
3.3 อุปกรณ์บทบาทสมมติ
9
การประเมินผลการเรียน
1. ประเมินจากการสังเกต
2. ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม
3. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน
4. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอน
ประกอบการเรียนรู้
5. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)
6. ประเมินผลงานจากความสาเร็จจากการปฏิบัติ
10
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
1.เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
2.จุดประสงค์การเรียนรู้ของเอกสารประกอบการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น (K)
2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น (P)
3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น(A)
3. นักเรียนรับเอกสารประกอบการเรียนรู้
3.1 คู่มือนักเรียน
3.2 บัตรเนื้อหา ได้แก่
3.2.1 บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์
บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.2.2 แบบฝึกหัด
3.2.3 แบบทดสอบท้ายเอกสารประกอบการเรียนรู้
( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ )
คู่มือนักเรียน
ร่วมกันการอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ฝึกการเรียนรู้ และยังได้ปฏิบัติจริงออกงานจริง ด้วยค่ะ
เชิญเรียนรู้ไปพร้อมๆกันกับพวกเรานะค่ะ
11
คาชี้แจง ให้นักเรียนดาเนินการในชุดการสอนชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ดังนี้
1. ศึกษาสาระสาคัญ จุดประสงค์ กิจการเรียนรู้ และประเมินผล
สาระสาคัญ
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ต้องร่วมมือกัน
อนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่การแสดงให้คงอยู่สืบไป
กิจการเรียนรู้ของนักเรียนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2 เรียนรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการเรียนแบบสืบสวนสอบถาม /
กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง )
ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม พลศึกษา
ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว
ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์
ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย (K)
2. นาแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยไปใช้จนเกิดผล (P)
3. เห็นคุณค่าและความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทย (A)
บทบาทของนักเรียน
ประเมินผล
1. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียนการรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
3. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)ประเมินผลงานจากความสาเร็จ
12
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและ สืบทอดต่อกันมา
ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านใน
ท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ปัญหา
ของการดารงชีวิตให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอดภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้
ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้
เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน มีวิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ดังนี้
การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการ
ปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม
การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์
เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย
การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสม
กับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทาพิธีบวชต้นไม้
เพื่อให้เกิดสานึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ประเพณีการทาบุญข้าวเปลือกที่
วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน
การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง การคิด
โครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหา
รูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทากิจกรรม
กันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น
ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของ
ชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การร่วมกันในชุมชน
การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี
ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับ
ธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต เป็นแนวทาง
หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น
ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ
ความรู้ทามาหากินมีอยู่มาก เช่นการทาไร่ทานา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์การจับปลา จับสัตว์
การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทา
เครื่องปั้นดินเผา การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่างๆ
บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์
13
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การรักษา สืบทอด และเผยแพร่นาฏศิลป์
ที่เกิด จากการสร้างสรรค์ สั่งสม และสืบทอดศิลปะการแสดงของท้องถิ่นต่างๆอันเป็นศิลปะ
พื้นบ้านที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยคนในท้องถิ่นนั้นๆ ถือว่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญ
ต่อการส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมของชาติดารงสืบไป เพราะการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมี
ความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลายลักษณะ ได้แก่
1. ด้านศาสนา ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย คนไทยมีความเคารพศรัทธาและ
เชื่อในพระพุทธศาสนาจึง นาเอาแนวคิดและหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ใช้ในการ
ดาเนินชีวิตมาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง นาฏศิลป์ เช่น การแสดงชุดระบาไตรรัตน์ ที่มีบทร้อง
ประกอบการแสดงที่เกี่ยวกับความเคารพนับถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์และผลที่เกิดจากการเคารพหลักธรรมของพระพุทธศาสนา เป็นต้น วัดหรือศาสนา
ระบาไตรรัตน์
2. ด้านความเชื่อ นาฏศิลป์ ไทยรวมทั้งพิธีกรรมของนาฏศิลป์ ไทยบางพิธี เกิดจากความเชื่อใน
เรื่องราวต่างๆ เช่นศาสนา พระพุทธเจ้า ภูตผี หรือ สิ่งเหนือธรรมชาติ โดยตรง เช่น พิธีไหว้ครู การแสดงต่างๆ ของ
แต่ละท้องถิ่น
เคารพหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
ที่มาของภาพ : www.prapayneethai.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
การแสดงชุดระบาไตรรัตน์
ที่มาของภาพ : www.bloggang.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
14
การไหว้ครู คือ การแสดงถึงความเคารพกตเวทีแด่ท่านบูรพาจารย์ และครูบาอาจารย์ ผู้ซึ่ง
ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้เพื่อจะได้เป็นความรู้ติดตัวนาไปประกอบอาชีพ เพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรือง
ให้แก่ตนเองในภายภาคหน้า
พิธีไหว้ครูที่ปฏิบัติกันเคร่งครัดได้แก่ พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ ถือกันว่า
เพลงหน้าพาทย์ดนตรีบางเพลง และท่าราบางท่า เป็นเพลง และท่าราที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ายังไม่ได้ทาพิธีไหว้ครู
และพิธีครอบเสียก่อนแล้ว บรรดาครูอาจารย์ทั้งหลายก็ไม่กล้าสอนกล้าหัดให้ศิษย์ด้วยเชื่อกันว่าจะเกิด
ผลร้ายแก่ครูผู้สอน และแก่ศิษย์เองด้วย ถ้าเกิดอุบัติเหตุใดๆขึ้นก็จะกล่าวกันว่า"ครูแรง" จึงเกิดงานพิธี
ไหว้ครู และพิธีครอบครูขึ้นเป็นประจาปีละครั้งในวันพฤหัสบดีซึ่งถือเป็นวันครูในตอนต้นภาคเรียนแรก
แต่ละปีการศึกษา ทานองเดียวกับโรงเรียนต่างๆ เพียงแต่มีพิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ เพิ่มจาก
ไหว้ครูธรรมดา และมีพิธีครอบประกอบด้วย เพื่อครู ศิษย์และนักเรียนจะได้เริ่มสอนเริ่มเรียนกันไปอย่าง
เรียบร้อยและสบายใจ และความเชื่อของการแสดงสิ่งต่างๆได้มีทุกภาคของประเทศไทย
(http://hw4tub1-5.exteen.com/20100215/entry)
การไหว้ครูนาฏศิลป์
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
15
คติความเชื่อทางด้านนาฏศิลป์ที่ผู้แสดงต้องขอขมาผู้อาวุโสหลังจบการแสดง สะท้อนให้เห็น
ลักษณะอนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่องใด
1. การให้เกียรติและเคารพผู้อาวุโส
2. เมื่อทาผิดต้องยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ
3. ความมีน้าใจไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน
4. มารยาทอันดีงามในการแสดงความเคารพซึ่งกันและกัน
ความเชื่อที่มีอิทธิพลกับการแสดงพื้นบ้านทางภาคเหนือ
การฟ้อนผีมด-ผีเม็ง เป็นการฟ้อนราเพื่อเป็นการสังเวย หรือการแก้บนของบรรพบุรุษ ซึ่ง
ชาวบ้านทางภาคเหนือนับถือกัน แต่ในปัจจุบันได้เลือนหายไปมากแล้ว ยังมีปฏิบัติกันอยู่บ้างในชนบท
ของล้านนาไทย ซึ่งเป็นประเพณีเก่าแก่
การฟ้อนผีเจ้านาย ผีบ้านผีเมือง การฟ้อนผีทั้ง ผีเจ้านายหรือผีบ้านผีเมืองนี้ เป็นพิธีกรรมในการ
เลี้ยงผีหรือสังเวยผี แต่เพิ่มการฟ้อนเพื่อความคึกคัก สนุกสนานแก่พิธีกรรม ซึ่งมักจะจัดขึ้น การฟ้อน
คล้ายกับการฟ้อนผีมดผีเม็ง ทั้งการแต่งกายและดนตรี แต่จะไม่มีโหนผ้าเหมือนผีเม็งและไม่มีกิจกรรม
การละเล่นเหมือนผีมด สาหรับเครื่องสังเวยกับพิธีกรรมต่างๆ ก็คลาดเคลื่อนกันไปไม่มากนัก
การฟ้อนผีมด-ผีเม็ง เป็นการฟ้อนราเพื่อเป็นการสังเวย
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
การฟ้อนผีเจ้านาย ผีบ้านผีเมือง
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
16
ฟ้อนผางเป็นศิลปะการฟ้อนที่มีมาแต่โบราณ เป็นการฟ้อนเพื่อบูชาองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ลีลา
การฟ้อนดาเนินไปตามจังหวะของการตีกลองสะบัดชัย มือทั้งสองจะถือประทีปหรือผางผะตี้บ แต่เดิมใช้
ผู้ชายแสดง แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงท่ารา และให้ผู้หญิงแสดง
ความเชื่อที่มีอิทธิพลกับการแสดงพื้นบ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ฟ้อนตังหวาย ฟ้อนตังหวาย เป็นการราเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในพิธีขอขมาของชาวจังหวัด
อุบลราชธานี
ฟ้อนผาง
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ฟ้อนตังหวาย
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
17
ฟ้อนผีฟ้า ฟ้อนผีฟ้า เป็นการเซ่นสรวงต่อผีฟ้า "พญาแถน" หรือเทวดาที่สถิตอยู่บนท้องฟ้าเพื่อขอ
ความเป็นสิริมงคล อัญเชิญท่านเข้าร่างทรงให้ลงมาช่วยปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยแก่ชาวบ้านที่มา ชุมนุมใน
พิธี นอกจากนี้เพื่อเชิญเจ้าเข้าทรงรักษาอาการเจ็บไข้ของผู้ป่วยเป็นรายๆ ไป
การไหว้ครู และ การแสดงพื้นบ้านต่างๆ เหล่านี้ ล้วนได้รับอิทธิพลมาจากความเชื่อทั้งสิ้น จึง
สามารถสรุปได้ว่า ความเชื่อ เป็นปัจจัยสาคัญ ที่ก่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมทางด้าน
นาฏศิลป์ไทย
3. ประเพณีและวัฒนธรรม ที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย เช่น วันลอยกระทง วันสงกรานต์
เป็นต้น มีคุณค่าและแฝงไปด้วยคติความเชื่อ ธรรมเนียมปฏิบัติ และความรื่นเริงสนุกสนานอันนามาซึ่ง
ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ระบาสุโขทัย ระบาประทีปทอง ใช้แสดงในวันลอย
กระทง ประเพณีสืบชะตา ชาวล้านนามีความเชื่อว่า การทาพิธีสืบชะตาจะช่วยต่ออายุให้ตนเอง ญาติพี่
น้อง และบ้านเมืองให้ยืนยาว ทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นสิริมงคล
ฟ้อนผีฟ้า
ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ระบาสุโขทัย
ที่มาของภาพ : www. travel.mthai.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
18
ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1000 ดวง จังหวัดตาก
ที่มาของภาพ : www.siamfreestyle.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ระบาประทีปทอง
ที่มาของภาพ : www.bloggang.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ประเพณีสืบชะตา จังหวัดเชียงใหม่
ที่มาของภาพ : www.thaigoodview.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
19
ประเพณีบุญผะเหวด จังหวัดร้อยเอ็ด
ที่มาของภาพ : www.xn-k3cikmwc5gwb5fxbya.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง จังหวัด บุรีรัมย์
ที่มาของภาพ : www. personal.swu.ac.th
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
การราบวงสรวงพิธีถวายราชสักการะสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ที่มาของภาพ : www.innnews.co.th
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
20
4. วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดนาวิถีชีวิตการ
ประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นต่างๆมาประดิษฐ์ สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ได้แก่
4.1 ภาคเหนือ เช่น ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนจ้อง“ จ้อง” เป็นภาษาพื้นเมืองภาคเหนือ แปลว่า
“ร่ม” การทาร่มนับได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมพื้นบ้านที่นิยมกันมากที่ตาบลบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง
จังหวัดเชียงใหม่ ฟ้อนสาวไหม เกี่ยวข้องกับอาชีพการทอผ้า ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนใน
ภาคเหนือ (ล้านนา) กิจกรรมในวิถีชีวิตของชาวล้านนาส่วนใหญ่ผูกพันกับด้ายที่มาจากฝ้ายเป็นต้น
ฟ้อนจ้อง
ที่มาของภาพ : www.gotoknow.org/posts
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
ฟ้อนสาวไหม
ที่มาของภาพ : www.lks.ac.th /thaidance.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
21
4.2 ภาคกลาง เช่น ภาคกลางเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม การแสดงจึงมีการถ่ายทอด
สืบต่อกันออกมาในรูปแบบของขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ เช่น เต้นการา
เคียว เพลงเกี่ยวข้าว ระบาชาวนา เต้นการาเคียว รากลองยาว เป็นต้น
ระบาชาวนา
ที่มาของภาพ : www. nattapornpan.blogspot.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
รากลองยาว
ที่มาของภาพ : www. www.bloggang.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
22
4.3 ภาคอีสาน แสดงในรูปแบบของการทามาหากิน โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ เซิ้งกระหยังก็
ใช้กระหยัง เป็นอุปกรณ์หลัก เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ใช้ไม้แหย่ ตะกร้าใช้ขี้ยาใต้ตะกร้าสามารถตัก
น้าได้ซึ่งท่าฟ้อนจึงมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น เซิ้งกระหยัง แหย่ไข่มดแดง เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งไท
ภูเขา เป็นต้น
เซิ้งกระหยัง : ที่มาของภาพ
ที่มาของภาพ : www.lks.ac.th /thaidance.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
เซิ้งแหย่ไข่มดแดง:
ที่มาของภาพ : www.picpost.mthai.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
เซิ้งกระติบข้าว
ที่มาของภาพ www.thaigoodview.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
23
4.4 ภาคใต้ เช่น พัดใบพ้อ ระบาชาวเล ระบาร่อนแร่ “ระบาพัดใบพ้อ” เป็นระบาที่คิด
ประดิษฐ์ขึ้น โดยการนาเอาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้าน การจักสานพัดใบกะพ้อของชาวบ้าน
โคกยาง อาเภอร่อนพิบูลย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ระบาชาวเล “ชาวเล" เป็นคาในภาษาปักษ์ใต้
ที่ย่นย่อมาจากคาว่า “ชาวทะเล” โดยรวมมีอยู่สองความหมาย คนที่อาศัยอยู่ริมทะเล ประกอบ
อาชีพประมง ระบาร่อนแร่ ถ่ายทอดการทามาหากินที่แตกต่างจากภูมิภาคอื่น คือการร่อนแร่ดีบุก
ซึ่งเป็นอาชีพดั้งเดิม และสร้างรายได้ให้แก่จังหวัดอย่างมหาศาลในอดีต วัสดุในการร่อนแร่ที่
เรียกว่า “เลียง” ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายกระทะ หรือตะแกรง
ระบาชาวเล
ที่มาของภาพ:www.kruploykpsw.wikispaces.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่24 กรกฎาคม
2557
เซิ้งไทภูเขา
ที่มาของภาพ : www.isan.clubs.chula.ac.th
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
พัดใบพ้อ
ที่มาของภาพ : www. gotoknow.org
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
24
สรุป การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้
เกียรติและเคารพ การยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน มี
มารยาทนาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอด
ออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่ง ควร
รักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่
ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบ
อาชีพของ คนในท้องถิ่น
ระบาร่อนแร่
ที่มาของภาพ : www.kruploykpsw.wikispaces.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่24 กรกฎาคม2557
25
เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและ สืบทอด
ต่อกันมา ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มี
ความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้
ในการป้องกันและแก้ปัญหาของการดารงชีวิตให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอด
ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้
เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน ภูมิปัญญาเป็น
ความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้
แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การร่วมกันในชุมชน การ
ปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี
การแสดงความคิดเห็นในภูมิปัญญาไทย
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยและภูมิปัญญาไทยเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ควร
ตระหนักถึงคุณค่าของงานนาฏศิลป์ ที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้ให้คนรุ่นต่อๆมาและสืบทอด
มาจนถึงคนรุ่นปัจจุบันที่เป็นผู้รับมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทยในด้านงานนาฏศิลป์ ไทย ซึ่งเป็น
ลักษณะของนาฏศิลป์ พื้นเมืองในภาคต่างๆ ของไทย ได้แก่ นาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคกลาง
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของคน
ไทยในภาคนั้นๆ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยมีเป้าหมายที่เข้าใจตรงกัน มีดังนี้
1. ปลูกฝังให้ทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์ส่งเสริมนาฏศิลป์ ไทยเป็นหน้าที่ของทุกคน
2. ศึกษาเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์ พื้นเมือง
3. ให้ความสนใจ ค้นคว้า เรียนรู้ ฝึกหัด รับการถ่ายทอดนาฏศิลป์ ไทยที่สนใจและมี
ความถนัดตามโอกาสด้วยความสมัครใจ
4. ให้การสนับสนุนในการร่วมมืออนุรักษ์ เผยแพร่ เข้าร่วมชมหรือร่วมกลุ่มจัดตั้งชมรม
สมาคม และร่วมจัดกิจกรรมทางด้านนาฏศิลป์ ไทยในทุกระดับอย่างสม่าเสมอ
5. สร้างความตระหนักในคุณค่า บทบาท ความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทยที่มีต่อ
ประเทศชาติและสังคมไทยคนไทยทุกคนควรภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทยผ่านงาน
แสดงนาฏศิลป์ ไทยและควรร่วมกันอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยให้คงอยู่และเผยแพร่ ตลอดจน
สร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป
บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
26
ความคิดและการแสดงออกภูมิปัญญาชาวบ้าน
เพื่อจะเข้าใจภูมิปัญญาชาวบ้าน จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเกี่ยวกับโลกหรือ
ที่เรียกว่า โลกทัศน์ และเกี่ยวกับชีวิตที่เรียกว่า ชีวทัศน์ สิ่งเหล่านี้เป็นนามธรรมอันเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกในลักษณะต่างๆ ทีเป็นรูปธรรม
แนวคิดเรื่องความสมดุล เป็นแนวคิดพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย
หรือที่เคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ นั้นมีหลักการว่า คนมีสุขภาพดีเมื่อร่างกายมีความ
สมดุลระหว่างธาตุทั้ง 4 คือ ดินน้า ลม ไฟ คนเจ็บป่วยได้เพราะธาตุขาดความสมดุล
ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดี มี
หลักเกณฑ์ที่บรรพบุรุษได้สั่งสอนมา เช่น ลูกควรปฏิบัติอย่างไรกับพ่อแม่ กับญาติพี่น้อง กับ
ผู้สูงอายุ พ่อแม่ควรเลี้ยงดูลูกอย่างไร ความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
โดยเฉพาะในยามทุกข์ยากหรือมีปัญหา
ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ผู้คนสมัยก่อนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด้าน ตั้งแต่
อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่พัฒนา
ก้าวหน้าเหมือนทุกวันนี้ ยังไม่มีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไม่มีตลาด ชาวบ้านมีหลักเกณฑ์ใน
การใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ตัดไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าขึ้นแทนที่ถูกตัดไปได้ตลอดเวลา
ชาวบ้านยังไม่รู้จักสารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆ่าหญ้า ฆ่าสัตว์ไม่ใช้ปุ๋ ยเคมี ใช้สิ่งของใน
ธรรมชาติให้เกื้อกูลกัน ใช้มูลสัตว์ใบไม้ใบหญ้าที่เน่าเปื่อยเป็นปุ๋ ย ทาให้ดินอุดมสมบรูณ์ น้า
สะอาดและไม่เหือดแห้ง ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เชื่อว่ามีเทพมีเจ้าสถิตอยุ่ในดิน น้า ป่า เขา
สถานที่ทุกแห่งจะทาอะไรต้องขออนุญาตและทาด้วยความเคารพและพอดีพองาม ชาวบ้านรู้คุณ
ธรรมชาติ ที่ได้ให้ชีวิตแก่ตน พิธีกรรมต่าง ๆ ล้วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี
ที่เกี่ยวกับ น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์บ้านเรือน เครื่องใช้ต่าง ๆ มีพิธีสู่ขวัญข้าว เป็นต้น
ความสัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่ามนุษย์เป็นเพียงส่วน เล็กๆ ส่วนหนึ่ง
ของจักรวาล ซึ่งเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลังและอานาจที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ความ
เร้นลับดังกล่าวรวมถึงญาติพี่น้องและผู้คนที่ล่วงลับไปแล้ว ชาวบ้านยังความสัมพันธ์กับพวกเขา
ทาบุญและราลึกถึงอย่างสม่าเสมอทุกวันหรือในโอกาสสาคัญ ๆ
27
การไหว้ครู คือ การแสดงถึงความเคารพกตเวทีแด่ท่านบูรพาจารย์และครูบาอาจารย์ผู้ซึ่ง
ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้เพื่อจะได้เป็นความรู้ติดตัวนาไปประกอบอาชีพ เพื่อสร้างความ
เจริญรุ่งเรืองให้แก่ตนเองในภายภาคหน้า
พิธีไหว้ครูที่ปฏิบัติกันเคร่งครัดได้แก่ พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ ถือ
กันว่าเพลงหน้าพาทย์ดนตรีบางเพลง และท่าราบางท่า เป็นเพลง และท่าราที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ายังไม่ได้ทา
พิธีไหว้ครู และพิธีครอบเสียก่อนแล้ว บรรดาครูอาจารย์ทั้งหลายก็ไม่กล้าสอนกล้าหัดให้ศิษย์ด้วย
เชื่อกันว่าจะเกิดผลร้ายแก่ครูผู้สอน และแก่ศิษย์เองด้วย ถ้าเกิดอุบัติเหตุใดๆขึ้นก็จะกล่าวกันว่า"ครู
แรง" จึงเกิดงานพิธีไหว้ครู และพิธีครอบครูขึ้นเป็นประจาปีละครั้งในวันพฤหัสบดีซึ่งถือเป็นวันครู
ในตอนต้นภาคเรียนแรกแต่ละปีการศึกษา ทานองเดียวกับโรงเรียนต่างๆ เพียงแต่มีพิธีไหว้ครู
นาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ เพิ่มจากไหว้ครูธรรมดา และมีพิธีครอบประกอบด้วย เพื่อครู ศิษย์และ
นักเรียนจะได้เริ่มสอนเริ่มเรียนกันไปอย่างเรียบร้อยและสบายใจ และความเชื่อของการแสดงสิ่ง
ต่างๆได้มีทุกภาคของประเทศไทย (http://hw4tub1--5.exteen.com/20100215/entry )
สืบค้นโดยนางเย็นจิตร บุญศรี เมื่อ 21 กรกฎาคม 2557
28
แบบทดสอบ
ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
29
ชื่อ นาย / นางสาว..............................................นามสกุล.............................................ชั้น.............เลขที่................
ตอนที่ 1 คาชี้แจง อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ ถูกต้อง และ ( 10 คะแนน )
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 2
เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
อนุรักษ์แล้วเกิดผลอย่างไร
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
วิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทย
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
ถ้าไม่อนุรักษ์จะเกิดผลอย่างไร
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
ลักษณะ
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาได้แก่
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
___________________________________
30
ตอนที่ 1 คาชี้แจง อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ถูกต้อง และ ( 10 คะแนน )
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นดังนี้
2. อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้เกียรติและเคารพ การยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจมี
มารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน นาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคม
วัฒนธรรมไทย ซึ่ง ควรรักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการ
ประกอบอาชีพของ คนในท้องถิ่น
เฉลย
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
เล่มที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. มีวิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ดังนี้
การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติ
ตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม
การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการ
รื้อฟื้นดนตรีไทย
การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับ
สมัยใหม่
การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง
2. อนุรักษ์แล้วเกิดผลอย่างไร ตอบ อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้เกียรติและเคารพ การ
ยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจมีมารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน นาเกียรติยศและ
ความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความ
บันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่งควรรักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการ
แสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและ
วัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของ คนในท้องถิ่น
31
4. ถ้าไม่อนุรักษ์จะเกิดผลอย่างไร
1.ไม่มีการให้เกียรติและเคารพ
2.ไม่มีการยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ
3.ไม่มีน้าใจมีมารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน
4.ไม่นาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ
5.ไม่มีรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน
3. ลักษณะการอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้แก่
1. ด้านศาสนา ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย
2. ด้านความเชื่อ นาฏศิลป์ ไทยรวมทั้งพิธีกรรมของนาฏศิลป์ ไทยบางพิธี
3. ประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและวัฒนธรรมที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย
4. วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น
32
แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ )
ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 2
เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใบคาสั่ง
คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่า
และความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน
( 10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่า
และความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน
(10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
33เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ )
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4
นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
เลขที่ ชื่อ – สกุล ความรู้
และหลักการ
5 คะแนน
ความกล้า
แสดงออก
3 คะแนน
ความสามัคคี
กลุ่ม
2 คะแนน
รวม
10คะแนน
กลุ่มที่ 1 อนุรักษ์นาฏศิลป์
1 นายเทพปกรณ์ นามสุวรรณ์
2 นายธีรยุทธ จองจับ
3 นายวัชระ โคตรวิชัย
4 นายวันรบ มณีสาย
5 นายวิจิตร พินิจกุล
6 นายอนันท์ ในสันเทียะ
7 นายอานนท์ ในสันเทียะ
8 นางสาวณิชาภัทร น้อยพันธ์
กลุ่มที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
9 นางสาวจันทมณี รัตนโพธิสัย
10 นางสาวนภัสสร ด่านฆ้อง
11 นางสาวมาริยา สาเจริญ
12 นางสาวมิราวัน สมวงษ์
13 นางสาววิภาวัลย์ จันทะหนู
14 นางสาวสุพัตรา กรองสี
15 นางสาวอรพรรณ อาณาเขต
16 นางสาวจิราพร จารุจิตร
34
เลขที่
รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม
ผลการ
ประเมิน
ปฏิบัติ
ตาม
ขั้นตอน
มีความ
สะอาด
สวยงาม
ให้ความ
ร่วมมือ
ในการ
ทางาน
มีความ
ละเอียด
รอบคอบ
มีภาวะ
ผู้นา
กล้า
แสดงออก
10
คะ
2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 แนน ผ มผ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
35
คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน
รายการประเมิน/ เกณฑ์
คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน
2 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานเหมาะสมดี
1 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานเหมาะสม
0 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
1.ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติตาม
ขั้นตอน
ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงานตาม
ขั้นตอนที่วางแผนไว้
ครบถ้วน
ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงานตาม
ขั้นตอนที่วางแผนเพียง
เล็กน้อย
ไม่ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน
ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
2.มีความรักในความไทย สนใจจดจ่อในเรื่องที่
กาลังปฏิบัติเป็นอย่างดี
สนใจบ้างคุยเรื่องอื่นบ้าง
ขณะที่กาลังปฏิบัติ
ไม่สนใจจดจ่อในเรื่องที่
กาลังปฏิบัติ
3.ให้ความร่วมมือในการ
ทางาน
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม
ในการทางานตามหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย
สมาชิกบางคนมีส่วน
ร่วมในการทางานตาม
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
สมาชิกมีส่วนร่วมไม่มี
ส่วนในการทางานตาม
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.มีความละเอียด
รอบคอบ
มีทักษะกระบวนการ
ทางานได้ถูกต้อง
ครบถ้วน
มีทักษะในกระบวนการ
ทางานบางส่วนถูกต้อง
ครบถ้วน
มีทักษะกระบวนการ
ทางานไม่ถูกต้องไม่
ครบถ้วน
5.มีความมุ่งมั่นในภาวะ
ผู้นากล้าแสดงออก
มีทักษะการนาเสนอให้
สมาชิกสนใจฟังเป็น
อย่างดี
มีทักษะการนาเสนอ
เล็กน้อยให้สมาชิกสนใจ
ฟัง
ไม่มีทักษะการนาเสนอ
ให้สมาชิกสนใจฟังเลย
ระดับคุณภาพ
2 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรทักษะปฏิบัติงานเหมาะสมดี
1 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานเหมาะสม
0 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
เกณฑ์การประเมินด้านพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานของนักเรียน
ได้คะแนน 1-2 ระดับระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนต่ากว่าเกณฑ์
ได้คะแนน 3-5 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนพอใช้
ได้คะแนน 4-6 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนได้ค่อนข้างดี
ได้คะแนน 7-10 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนดี
เกณฑ์การประเมิน
ได้คะแนน 1-5 ไม่ผ่านการประเมิน
ได้คะแนน 6-10 ผ่านการประเมิน
36
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผลการทดสอบวัดผลหลังเรียนรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เลขที่ ชื่อ
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
คะแนน
ปฏิบัติ รวม ชุด2
(10คะแนน) (10คะแนน) (10คะแนน) (30คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
รวม
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คิดเป็นร้อยละ
ลงชื่อ ผู้บันทึก
(.....................................................)
ตาแหน่ง
วันที่
37
เกณฑ์การให้คะแนน
คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่าและความสาคัญในการการอนุรักษ์
นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน( 10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที
ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
เลขที่ ชื่อ – สกุล ความรู้
และหลักการ
5 คะแนน
ความกล้า
แสดงออก
3 คะแนน
ความสามัคคี
กลุ่ม
2 คะแนน
รวม
10คะแนน
กลุ่มที่ 1 อนุรักษ์นาฏศิลป์
1
2
3
4
5
6
7
8
กลุ่มที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
9
10
11
12
13
14
15
16
38
เลขที่
รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม
ผลการ
ประเมิน
ปฏิบัติ
ตาม
ขั้นตอน
มีความ
สะอาด
สวยงาม
ให้ความ
ร่วมมือ
ในการ
ทางาน
มีความ
ละเอียด
รอบคอบ
มีภาวะ
ผู้นา
กล้า
แสดงออก
10
คะ
2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 แนน ผ มผ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
39
บรรณานุกรม
กมล เกตุศิริ. “ประเพณีเก่าชาวสุรินทร์” ในเอกสารวัฒนธรรมชุดที่ 1 เพลงพื้นบ้านและ
การละเล่นพื้นบ้านจังหวัดสุรินทร์. หน้า 178-207. สุรินทร์ : ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด
สุรินทร์ วิทยาลัยครูสุรินทร์, 2527.
คิกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. นาฎศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2526.
จิราภรณ์ วุมิพันธ์. นาฎศิลป์ อีสาน. มปท. มปป.
จรูญศรี วีระวานิช. คู่มือการสอนนาฎศิลป์ สัมพันธ์ระดับประถมศึกษาตอนต้นและประถมศึกษา
ตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวินการพิมพ์, ม.ป.ป.ดุษฎี มีป้อม .
นิลวรรณ, คู่มือการสอนเพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5 :วัฒนาพาณิชย์
ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. ศิลปะการฟ้อนภาคอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : ฝ่ายบริการ
สานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2533.
ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. ศิลปะการฟ้อนอีสาน. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม,
2533.
ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
สุมนมาลย์นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4 : อักษร
เจริญทัศน์
อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6 : สถาบัน
พัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จากัด
www.prapayneethai.com
www.bloggang.com
www. gotoknow.org
www.isan.clubs.chula.ac.th
www.kruploykpsw.wikispaces.com
www.hw4tub1-5.exteen.com
www.lks.ac.th /thaidance.com
www.personal.swu.ac.th
www.picpost.mthai.com
www.siamfreestyle.com
www.thaigoodview.com
www.xn-k3cikmwc5gwb5fxbya.com
40
ประวัติผู้จัดทา
ประวัติผู้วิจัย
นางเย็นจิตร บุญศรี
ตาแหน่งเลขที่ 27570-2(ถ)
เกิดวันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2521
ณ บ้านเลขที่165 บ้านปักคุ้ม หมู่ 6 ตาบลท่าเกวียน
อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 27160 โทรศัพท์087- 8450868
สถานที่ทางาน
ปัจจุบัน
โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา หมู่ที่ 2 ตาบลคลองไทรเดี่ยว อาเภอคลองหาด
จังหวัดสระแก้ว 27060 โทรศัพท์037 - 261386
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กระทรวงมหาดไทย
ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2551 กศ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
พ.ศ.2545 วค.ป หลักสูตรรายวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
พ.ศ.2544 ศศ.บ.วิชาเอกนาฏศิลป์และการละคร สถาบันราชภัฏจันทรเกษม
พ.ศ.2540 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
พ.ศ.2538 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโพนทองวิทยายนจังหวัดร้อยเอ็ด
พ.ศ. 2536 จบประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
41
ประวัติการ
ทางาน พ.ศ. 2540-2542 เป็นนักศึกษาช่วยงานคณะครุศาสตร์ ต่อมาช่วยงานศูนย์วิจัยและ
พัฒนานโยบาย สถาบันราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2543-2544 เป็นพนักงานโฮสเตส McDonald'sบริษัทแมคโดนัลด์ ประเทศ
ไทย จากัด สาขาโรบินสันรัชดา และสาขา ฟอร์จูน
พ.ศ. 2545 เป็นพนักงานpart - time บริษัทเลมอนฟาร์ม สาขาเพชรเกษม
พ.ศ. 2545-2546 เป็นครูอัตราจ้าง โรงเรียนบ้านคลองลัดอ้อมใหญ่ จังหวัด
นครปฐม
พ.ศ. 2546- 2548 เป็นครูสังกัดเอกชน กลุ่มโรงเรียนโสมาภา สาขาโสมาภา 2
เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2548- 2552 บรรจุพนักงานครูเทศบาลเมืองตาก โรงเรียนรัตนวิทยานุสรณ์
(เทศบาล 4)
ช่วยปฏิบัติราชการ โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ (เทศบาล 1 )
พ.ศ. 2552 โอนย้าย เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
ปัจจุบัน เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดสระแก้ว ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการ
ผลงานดีเด่น 2553 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
2558 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
42

More Related Content

What's hot

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
WoraWat Somwongsaa
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
Yutthana Sriumnaj
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
krupornpana55
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 

What's hot (20)

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 

Viewers also liked

นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทยสื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
Akegasit Yangdon
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 

Viewers also liked (20)

เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
 
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทยสื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 

Similar to ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
thkitiya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
pantiluck
 

Similar to ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น (20)

เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
962
962962
962
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

  • 1. 1
  • 2. 2 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 3. 3 กระทรวงมหาดไทย ข้าพเจ้า นายไพสิน นกศิริ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสระแก้ว ขอรับรองว่าชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้เป็นนวัตกรรมที่ นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ได้จัดทาและใช้ประกอบการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยาจริง นายไพสิน นกศิริ ตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา คารับรองของผู้บริหาร
  • 4. 4 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ )ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 รหัสวิชา ศ32102ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีความรู้เข้าใจใน ชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้จัดทาได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับ ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ซึ่งมีทั้งหมด 4 ชุดดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ชุดที่ 4 เรื่อง การประดิษฐ์ท่าราสร้างสรรค์ ชุดเซิ้งอ้อยหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย สาหรับเล่มนี้เป็นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ32102 ชุดที่ 2 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับ 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาควรอ่านเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ต่อไปในโอกาสต่อไป และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ คานา เย็นจิตร บุญศรี
  • 5. 5 เรื่อง หน้า คู่มือครู 6 คู่มือนักเรียน 10 บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ 12 บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น 25 แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 1 29 เฉลย แบบทดสอบ ตอนที่ 1 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ที่ 2 30 แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 32 เกณฑ์การให้คะแนน แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) 33 บรรณานุกรม 39 ประวัติผู้จัดทา 40 สารบัญ
  • 6. 6 คาชี้แจงสาหรับครู 1.ส่วนประกอบในชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย 1.1 คู่มือครู 1.2 คู่มือนักเรียน 1.3 บัตรเนื้อหา 1.4 แบบฝึกหัด 1.5 แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ) 2.ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ในการเรียน ใช้ประกอบแผนการ จัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นดังนี้ 2.1 บัตรเนื้อหา ได้แก่ บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น คู่มือครู
  • 7. 7 คาชี้แจง ให้ครูผู้สอน ดาเนินกิจกรรมดังนี้ 1. ศึกษาชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียน การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดผลและ ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนให้เข้าใจ 2. ศึกษา ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือ และ ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ให้เข้าใจ 3. ก่อนสอน ครูควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียน และกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน 4. ขั้นตอนการสอนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 สอน (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / กระบวนการสอนแบบอภิปราย / กระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบถาม / กระบวนการสอนแบบบรรยาย / กระบวนการสอน แบบศึกษาด้วยตนเอง / กระบวนการสอนแบบโซเครติส) ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์ ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล 5. ควรดูการทางานขณะปฏิบัติกิจกรรมในชุดการสอนนี้อย่างใกล้ชิด ถ้าเกิดปัญหา ครู ควรเป็นที่ปรึกษา หรือให้คาแนะนา ในการแก้ไขในการเรียนได้ทันที โดยเน้นให้นักเรียนได้ร่วม ร่วมปฏิบัติ และสรุป และ ประเมินผล 6. สรุปคะแนนลงในแบบสรุปคะแนนในแบบบันทึกการเรียนรู้ของแต่ละชุด 7. หลังจากที่นักเรียนดาเนินชุดการสอนประกอบการเรียนรู้นี้เรียบร้อยแล้วทาการ ทดสอบภาคปฏิบัติ 8. ทาแบบประเมินผลการเรียนเพื่อดูแลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการก้าวหน้าทางการ เรียนของนักเรียน บทบาทของครูผู้สอน
  • 8. 8 สิ่งที่ครูต้องเตรียม 1. ครูตรวจชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ให้มีครบทุกกิจกรรม เช่น 1.1 บัตรเนื้อหาเรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 1.2 บัตรคาสั่ง บัตรกิจกรรม พร้อมอุปกรณ์สื่อ ซีดี ประจา ชุดการ สอน แผนการจัดการเรียนรู้ 1.3 แบบทดสอบประจาชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ พร้อมเฉลย 1.4 แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม 2. ห้องเรียนกว้างและโล่งสาหรับการปฏิบัติการทางานกลุ่ม 3. สื่อที่ใช้ประกอบชุดการสอนกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เช่น 3.1 แผ่นภาพเรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.2 ที่ตั้งวางภาพ 3.3 อุปกรณ์บทบาทสมมติ
  • 9. 9 การประเมินผลการเรียน 1. ประเมินจากการสังเกต 2. ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม 3. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน 4. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ 5. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ) 6. ประเมินผลงานจากความสาเร็จจากการปฏิบัติ
  • 10. 10 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1.เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ของเอกสารประกอบการเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น (K) 2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น (P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น(A) 3. นักเรียนรับเอกสารประกอบการเรียนรู้ 3.1 คู่มือนักเรียน 3.2 บัตรเนื้อหา ได้แก่ 3.2.1 บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.2.2 แบบฝึกหัด 3.2.3 แบบทดสอบท้ายเอกสารประกอบการเรียนรู้ ( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ) คู่มือนักเรียน ร่วมกันการอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ฝึกการเรียนรู้ และยังได้ปฏิบัติจริงออกงานจริง ด้วยค่ะ เชิญเรียนรู้ไปพร้อมๆกันกับพวกเรานะค่ะ
  • 11. 11 คาชี้แจง ให้นักเรียนดาเนินการในชุดการสอนชุดที่ 2 เรื่อง การรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ดังนี้ 1. ศึกษาสาระสาคัญ จุดประสงค์ กิจการเรียนรู้ และประเมินผล สาระสาคัญ การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ต้องร่วมมือกัน อนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่การแสดงให้คงอยู่สืบไป กิจการเรียนรู้ของนักเรียนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 เรียนรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการเรียนแบบสืบสวนสอบถาม / กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง ) ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม พลศึกษา ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์ ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย (K) 2. นาแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยไปใช้จนเกิดผล (P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทย (A) บทบาทของนักเรียน ประเมินผล 1. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียนการรอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 3. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)ประเมินผลงานจากความสาเร็จ
  • 12. 12 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและ สืบทอดต่อกันมา ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านใน ท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ปัญหา ของการดารงชีวิตให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอดภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้ เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน มีวิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ดังนี้ การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการ ปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสม กับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทาพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสานึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ประเพณีการทาบุญข้าวเปลือกที่ วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง การคิด โครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหา รูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทากิจกรรม กันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของ ชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับ ธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ ความรู้ทามาหากินมีอยู่มาก เช่นการทาไร่ทานา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์การจับปลา จับสัตว์ การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทา เครื่องปั้นดินเผา การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่างๆ บัตรเนื้อหาที่ 2 .1 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์
  • 13. 13 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การรักษา สืบทอด และเผยแพร่นาฏศิลป์ ที่เกิด จากการสร้างสรรค์ สั่งสม และสืบทอดศิลปะการแสดงของท้องถิ่นต่างๆอันเป็นศิลปะ พื้นบ้านที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยคนในท้องถิ่นนั้นๆ ถือว่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญ ต่อการส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมของชาติดารงสืบไป เพราะการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมี ความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลายลักษณะ ได้แก่ 1. ด้านศาสนา ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย คนไทยมีความเคารพศรัทธาและ เชื่อในพระพุทธศาสนาจึง นาเอาแนวคิดและหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ใช้ในการ ดาเนินชีวิตมาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง นาฏศิลป์ เช่น การแสดงชุดระบาไตรรัตน์ ที่มีบทร้อง ประกอบการแสดงที่เกี่ยวกับความเคารพนับถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์และผลที่เกิดจากการเคารพหลักธรรมของพระพุทธศาสนา เป็นต้น วัดหรือศาสนา ระบาไตรรัตน์ 2. ด้านความเชื่อ นาฏศิลป์ ไทยรวมทั้งพิธีกรรมของนาฏศิลป์ ไทยบางพิธี เกิดจากความเชื่อใน เรื่องราวต่างๆ เช่นศาสนา พระพุทธเจ้า ภูตผี หรือ สิ่งเหนือธรรมชาติ โดยตรง เช่น พิธีไหว้ครู การแสดงต่างๆ ของ แต่ละท้องถิ่น เคารพหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ที่มาของภาพ : www.prapayneethai.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 การแสดงชุดระบาไตรรัตน์ ที่มาของภาพ : www.bloggang.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 14. 14 การไหว้ครู คือ การแสดงถึงความเคารพกตเวทีแด่ท่านบูรพาจารย์ และครูบาอาจารย์ ผู้ซึ่ง ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้เพื่อจะได้เป็นความรู้ติดตัวนาไปประกอบอาชีพ เพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรือง ให้แก่ตนเองในภายภาคหน้า พิธีไหว้ครูที่ปฏิบัติกันเคร่งครัดได้แก่ พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ ถือกันว่า เพลงหน้าพาทย์ดนตรีบางเพลง และท่าราบางท่า เป็นเพลง และท่าราที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ายังไม่ได้ทาพิธีไหว้ครู และพิธีครอบเสียก่อนแล้ว บรรดาครูอาจารย์ทั้งหลายก็ไม่กล้าสอนกล้าหัดให้ศิษย์ด้วยเชื่อกันว่าจะเกิด ผลร้ายแก่ครูผู้สอน และแก่ศิษย์เองด้วย ถ้าเกิดอุบัติเหตุใดๆขึ้นก็จะกล่าวกันว่า"ครูแรง" จึงเกิดงานพิธี ไหว้ครู และพิธีครอบครูขึ้นเป็นประจาปีละครั้งในวันพฤหัสบดีซึ่งถือเป็นวันครูในตอนต้นภาคเรียนแรก แต่ละปีการศึกษา ทานองเดียวกับโรงเรียนต่างๆ เพียงแต่มีพิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ เพิ่มจาก ไหว้ครูธรรมดา และมีพิธีครอบประกอบด้วย เพื่อครู ศิษย์และนักเรียนจะได้เริ่มสอนเริ่มเรียนกันไปอย่าง เรียบร้อยและสบายใจ และความเชื่อของการแสดงสิ่งต่างๆได้มีทุกภาคของประเทศไทย (http://hw4tub1-5.exteen.com/20100215/entry) การไหว้ครูนาฏศิลป์ ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 15. 15 คติความเชื่อทางด้านนาฏศิลป์ที่ผู้แสดงต้องขอขมาผู้อาวุโสหลังจบการแสดง สะท้อนให้เห็น ลักษณะอนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่องใด 1. การให้เกียรติและเคารพผู้อาวุโส 2. เมื่อทาผิดต้องยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ 3. ความมีน้าใจไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน 4. มารยาทอันดีงามในการแสดงความเคารพซึ่งกันและกัน ความเชื่อที่มีอิทธิพลกับการแสดงพื้นบ้านทางภาคเหนือ การฟ้อนผีมด-ผีเม็ง เป็นการฟ้อนราเพื่อเป็นการสังเวย หรือการแก้บนของบรรพบุรุษ ซึ่ง ชาวบ้านทางภาคเหนือนับถือกัน แต่ในปัจจุบันได้เลือนหายไปมากแล้ว ยังมีปฏิบัติกันอยู่บ้างในชนบท ของล้านนาไทย ซึ่งเป็นประเพณีเก่าแก่ การฟ้อนผีเจ้านาย ผีบ้านผีเมือง การฟ้อนผีทั้ง ผีเจ้านายหรือผีบ้านผีเมืองนี้ เป็นพิธีกรรมในการ เลี้ยงผีหรือสังเวยผี แต่เพิ่มการฟ้อนเพื่อความคึกคัก สนุกสนานแก่พิธีกรรม ซึ่งมักจะจัดขึ้น การฟ้อน คล้ายกับการฟ้อนผีมดผีเม็ง ทั้งการแต่งกายและดนตรี แต่จะไม่มีโหนผ้าเหมือนผีเม็งและไม่มีกิจกรรม การละเล่นเหมือนผีมด สาหรับเครื่องสังเวยกับพิธีกรรมต่างๆ ก็คลาดเคลื่อนกันไปไม่มากนัก การฟ้อนผีมด-ผีเม็ง เป็นการฟ้อนราเพื่อเป็นการสังเวย ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 การฟ้อนผีเจ้านาย ผีบ้านผีเมือง ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 16. 16 ฟ้อนผางเป็นศิลปะการฟ้อนที่มีมาแต่โบราณ เป็นการฟ้อนเพื่อบูชาองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ลีลา การฟ้อนดาเนินไปตามจังหวะของการตีกลองสะบัดชัย มือทั้งสองจะถือประทีปหรือผางผะตี้บ แต่เดิมใช้ ผู้ชายแสดง แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงท่ารา และให้ผู้หญิงแสดง ความเชื่อที่มีอิทธิพลกับการแสดงพื้นบ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฟ้อนตังหวาย ฟ้อนตังหวาย เป็นการราเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในพิธีขอขมาของชาวจังหวัด อุบลราชธานี ฟ้อนผาง ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ฟ้อนตังหวาย ที่มาของภาพ : www.hw4tub1-5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 17. 17 ฟ้อนผีฟ้า ฟ้อนผีฟ้า เป็นการเซ่นสรวงต่อผีฟ้า "พญาแถน" หรือเทวดาที่สถิตอยู่บนท้องฟ้าเพื่อขอ ความเป็นสิริมงคล อัญเชิญท่านเข้าร่างทรงให้ลงมาช่วยปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยแก่ชาวบ้านที่มา ชุมนุมใน พิธี นอกจากนี้เพื่อเชิญเจ้าเข้าทรงรักษาอาการเจ็บไข้ของผู้ป่วยเป็นรายๆ ไป การไหว้ครู และ การแสดงพื้นบ้านต่างๆ เหล่านี้ ล้วนได้รับอิทธิพลมาจากความเชื่อทั้งสิ้น จึง สามารถสรุปได้ว่า ความเชื่อ เป็นปัจจัยสาคัญ ที่ก่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมทางด้าน นาฏศิลป์ไทย 3. ประเพณีและวัฒนธรรม ที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย เช่น วันลอยกระทง วันสงกรานต์ เป็นต้น มีคุณค่าและแฝงไปด้วยคติความเชื่อ ธรรมเนียมปฏิบัติ และความรื่นเริงสนุกสนานอันนามาซึ่ง ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ระบาสุโขทัย ระบาประทีปทอง ใช้แสดงในวันลอย กระทง ประเพณีสืบชะตา ชาวล้านนามีความเชื่อว่า การทาพิธีสืบชะตาจะช่วยต่ออายุให้ตนเอง ญาติพี่ น้อง และบ้านเมืองให้ยืนยาว ทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นสิริมงคล ฟ้อนผีฟ้า ที่มาของภาพ : www.hw4tub1--5.exteen.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ระบาสุโขทัย ที่มาของภาพ : www. travel.mthai.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 18. 18 ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1000 ดวง จังหวัดตาก ที่มาของภาพ : www.siamfreestyle.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ระบาประทีปทอง ที่มาของภาพ : www.bloggang.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ประเพณีสืบชะตา จังหวัดเชียงใหม่ ที่มาของภาพ : www.thaigoodview.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 19. 19 ประเพณีบุญผะเหวด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มาของภาพ : www.xn-k3cikmwc5gwb5fxbya.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง จังหวัด บุรีรัมย์ ที่มาของภาพ : www. personal.swu.ac.th นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 การราบวงสรวงพิธีถวายราชสักการะสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่มาของภาพ : www.innnews.co.th นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 20. 20 4. วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดนาวิถีชีวิตการ ประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นต่างๆมาประดิษฐ์ สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ได้แก่ 4.1 ภาคเหนือ เช่น ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนจ้อง“ จ้อง” เป็นภาษาพื้นเมืองภาคเหนือ แปลว่า “ร่ม” การทาร่มนับได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมพื้นบ้านที่นิยมกันมากที่ตาบลบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ฟ้อนสาวไหม เกี่ยวข้องกับอาชีพการทอผ้า ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนใน ภาคเหนือ (ล้านนา) กิจกรรมในวิถีชีวิตของชาวล้านนาส่วนใหญ่ผูกพันกับด้ายที่มาจากฝ้ายเป็นต้น ฟ้อนจ้อง ที่มาของภาพ : www.gotoknow.org/posts นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ฟ้อนสาวไหม ที่มาของภาพ : www.lks.ac.th /thaidance.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 21. 21 4.2 ภาคกลาง เช่น ภาคกลางเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม การแสดงจึงมีการถ่ายทอด สืบต่อกันออกมาในรูปแบบของขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ เช่น เต้นการา เคียว เพลงเกี่ยวข้าว ระบาชาวนา เต้นการาเคียว รากลองยาว เป็นต้น ระบาชาวนา ที่มาของภาพ : www. nattapornpan.blogspot.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 รากลองยาว ที่มาของภาพ : www. www.bloggang.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 21 กรกฎาคม 2557
  • 22. 22 4.3 ภาคอีสาน แสดงในรูปแบบของการทามาหากิน โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ เซิ้งกระหยังก็ ใช้กระหยัง เป็นอุปกรณ์หลัก เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ใช้ไม้แหย่ ตะกร้าใช้ขี้ยาใต้ตะกร้าสามารถตัก น้าได้ซึ่งท่าฟ้อนจึงมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น เซิ้งกระหยัง แหย่ไข่มดแดง เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งไท ภูเขา เป็นต้น เซิ้งกระหยัง : ที่มาของภาพ ที่มาของภาพ : www.lks.ac.th /thaidance.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง: ที่มาของภาพ : www.picpost.mthai.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557 เซิ้งกระติบข้าว ที่มาของภาพ www.thaigoodview.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
  • 23. 23 4.4 ภาคใต้ เช่น พัดใบพ้อ ระบาชาวเล ระบาร่อนแร่ “ระบาพัดใบพ้อ” เป็นระบาที่คิด ประดิษฐ์ขึ้น โดยการนาเอาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้าน การจักสานพัดใบกะพ้อของชาวบ้าน โคกยาง อาเภอร่อนพิบูลย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ระบาชาวเล “ชาวเล" เป็นคาในภาษาปักษ์ใต้ ที่ย่นย่อมาจากคาว่า “ชาวทะเล” โดยรวมมีอยู่สองความหมาย คนที่อาศัยอยู่ริมทะเล ประกอบ อาชีพประมง ระบาร่อนแร่ ถ่ายทอดการทามาหากินที่แตกต่างจากภูมิภาคอื่น คือการร่อนแร่ดีบุก ซึ่งเป็นอาชีพดั้งเดิม และสร้างรายได้ให้แก่จังหวัดอย่างมหาศาลในอดีต วัสดุในการร่อนแร่ที่ เรียกว่า “เลียง” ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายกระทะ หรือตะแกรง ระบาชาวเล ที่มาของภาพ:www.kruploykpsw.wikispaces.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่24 กรกฎาคม 2557 เซิ้งไทภูเขา ที่มาของภาพ : www.isan.clubs.chula.ac.th นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557 พัดใบพ้อ ที่มาของภาพ : www. gotoknow.org นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 24 กรกฎาคม 2557
  • 24. 24 สรุป การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้ เกียรติและเคารพ การยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน มี มารยาทนาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอด ออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่ง ควร รักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบ อาชีพของ คนในท้องถิ่น ระบาร่อนแร่ ที่มาของภาพ : www.kruploykpsw.wikispaces.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่24 กรกฎาคม2557
  • 25. 25 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและ สืบทอด ต่อกันมา ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มี ความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้ ในการป้องกันและแก้ปัญหาของการดารงชีวิตให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอด ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้ เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน ภูมิปัญญาเป็น ความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้ แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การร่วมกันในชุมชน การ ปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี การแสดงความคิดเห็นในภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยและภูมิปัญญาไทยเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ควร ตระหนักถึงคุณค่าของงานนาฏศิลป์ ที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้ให้คนรุ่นต่อๆมาและสืบทอด มาจนถึงคนรุ่นปัจจุบันที่เป็นผู้รับมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทยในด้านงานนาฏศิลป์ ไทย ซึ่งเป็น ลักษณะของนาฏศิลป์ พื้นเมืองในภาคต่างๆ ของไทย ได้แก่ นาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของคน ไทยในภาคนั้นๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยมีเป้าหมายที่เข้าใจตรงกัน มีดังนี้ 1. ปลูกฝังให้ทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์ส่งเสริมนาฏศิลป์ ไทยเป็นหน้าที่ของทุกคน 2. ศึกษาเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ ไทย และนาฏศิลป์ พื้นเมือง 3. ให้ความสนใจ ค้นคว้า เรียนรู้ ฝึกหัด รับการถ่ายทอดนาฏศิลป์ ไทยที่สนใจและมี ความถนัดตามโอกาสด้วยความสมัครใจ 4. ให้การสนับสนุนในการร่วมมืออนุรักษ์ เผยแพร่ เข้าร่วมชมหรือร่วมกลุ่มจัดตั้งชมรม สมาคม และร่วมจัดกิจกรรมทางด้านนาฏศิลป์ ไทยในทุกระดับอย่างสม่าเสมอ 5. สร้างความตระหนักในคุณค่า บทบาท ความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทยที่มีต่อ ประเทศชาติและสังคมไทยคนไทยทุกคนควรภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทยผ่านงาน แสดงนาฏศิลป์ ไทยและควรร่วมกันอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยให้คงอยู่และเผยแพร่ ตลอดจน สร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป บัตรเนื้อหาที่ 2 .2 เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 26. 26 ความคิดและการแสดงออกภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อจะเข้าใจภูมิปัญญาชาวบ้าน จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเกี่ยวกับโลกหรือ ที่เรียกว่า โลกทัศน์ และเกี่ยวกับชีวิตที่เรียกว่า ชีวทัศน์ สิ่งเหล่านี้เป็นนามธรรมอันเกี่ยวข้อง สัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกในลักษณะต่างๆ ทีเป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุล เป็นแนวคิดพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย หรือที่เคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ นั้นมีหลักการว่า คนมีสุขภาพดีเมื่อร่างกายมีความ สมดุลระหว่างธาตุทั้ง 4 คือ ดินน้า ลม ไฟ คนเจ็บป่วยได้เพราะธาตุขาดความสมดุล ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดี มี หลักเกณฑ์ที่บรรพบุรุษได้สั่งสอนมา เช่น ลูกควรปฏิบัติอย่างไรกับพ่อแม่ กับญาติพี่น้อง กับ ผู้สูงอายุ พ่อแม่ควรเลี้ยงดูลูกอย่างไร ความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยากหรือมีปัญหา ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ผู้คนสมัยก่อนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด้าน ตั้งแต่ อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่พัฒนา ก้าวหน้าเหมือนทุกวันนี้ ยังไม่มีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไม่มีตลาด ชาวบ้านมีหลักเกณฑ์ใน การใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ตัดไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าขึ้นแทนที่ถูกตัดไปได้ตลอดเวลา ชาวบ้านยังไม่รู้จักสารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆ่าหญ้า ฆ่าสัตว์ไม่ใช้ปุ๋ ยเคมี ใช้สิ่งของใน ธรรมชาติให้เกื้อกูลกัน ใช้มูลสัตว์ใบไม้ใบหญ้าที่เน่าเปื่อยเป็นปุ๋ ย ทาให้ดินอุดมสมบรูณ์ น้า สะอาดและไม่เหือดแห้ง ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เชื่อว่ามีเทพมีเจ้าสถิตอยุ่ในดิน น้า ป่า เขา สถานที่ทุกแห่งจะทาอะไรต้องขออนุญาตและทาด้วยความเคารพและพอดีพองาม ชาวบ้านรู้คุณ ธรรมชาติ ที่ได้ให้ชีวิตแก่ตน พิธีกรรมต่าง ๆ ล้วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี ที่เกี่ยวกับ น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์บ้านเรือน เครื่องใช้ต่าง ๆ มีพิธีสู่ขวัญข้าว เป็นต้น ความสัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่ามนุษย์เป็นเพียงส่วน เล็กๆ ส่วนหนึ่ง ของจักรวาล ซึ่งเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลังและอานาจที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ความ เร้นลับดังกล่าวรวมถึงญาติพี่น้องและผู้คนที่ล่วงลับไปแล้ว ชาวบ้านยังความสัมพันธ์กับพวกเขา ทาบุญและราลึกถึงอย่างสม่าเสมอทุกวันหรือในโอกาสสาคัญ ๆ
  • 27. 27 การไหว้ครู คือ การแสดงถึงความเคารพกตเวทีแด่ท่านบูรพาจารย์และครูบาอาจารย์ผู้ซึ่ง ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้เพื่อจะได้เป็นความรู้ติดตัวนาไปประกอบอาชีพ เพื่อสร้างความ เจริญรุ่งเรืองให้แก่ตนเองในภายภาคหน้า พิธีไหว้ครูที่ปฏิบัติกันเคร่งครัดได้แก่ พิธีไหว้ครูอาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ ถือ กันว่าเพลงหน้าพาทย์ดนตรีบางเพลง และท่าราบางท่า เป็นเพลง และท่าราที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ายังไม่ได้ทา พิธีไหว้ครู และพิธีครอบเสียก่อนแล้ว บรรดาครูอาจารย์ทั้งหลายก็ไม่กล้าสอนกล้าหัดให้ศิษย์ด้วย เชื่อกันว่าจะเกิดผลร้ายแก่ครูผู้สอน และแก่ศิษย์เองด้วย ถ้าเกิดอุบัติเหตุใดๆขึ้นก็จะกล่าวกันว่า"ครู แรง" จึงเกิดงานพิธีไหว้ครู และพิธีครอบครูขึ้นเป็นประจาปีละครั้งในวันพฤหัสบดีซึ่งถือเป็นวันครู ในตอนต้นภาคเรียนแรกแต่ละปีการศึกษา ทานองเดียวกับโรงเรียนต่างๆ เพียงแต่มีพิธีไหว้ครู นาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ เพิ่มจากไหว้ครูธรรมดา และมีพิธีครอบประกอบด้วย เพื่อครู ศิษย์และ นักเรียนจะได้เริ่มสอนเริ่มเรียนกันไปอย่างเรียบร้อยและสบายใจ และความเชื่อของการแสดงสิ่ง ต่างๆได้มีทุกภาคของประเทศไทย (http://hw4tub1--5.exteen.com/20100215/entry ) สืบค้นโดยนางเย็นจิตร บุญศรี เมื่อ 21 กรกฎาคม 2557
  • 28. 28 แบบทดสอบ ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 29. 29 ชื่อ นาย / นางสาว..............................................นามสกุล.............................................ชั้น.............เลขที่................ ตอนที่ 1 คาชี้แจง อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ ถูกต้อง และ ( 10 คะแนน ) ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย อนุรักษ์แล้วเกิดผลอย่างไร ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ วิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทย ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ถ้าไม่อนุรักษ์จะเกิดผลอย่างไร ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ลักษณะ การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาได้แก่ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________
  • 30. 30 ตอนที่ 1 คาชี้แจง อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ถูกต้อง และ ( 10 คะแนน ) ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย อธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นดังนี้ 2. อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้เกียรติและเคารพ การยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจมี มารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน นาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคม วัฒนธรรมไทย ซึ่ง ควรรักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญา ท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการ ประกอบอาชีพของ คนในท้องถิ่น เฉลย แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เล่มที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. มีวิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ดังนี้ การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติ ตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการ รื้อฟื้นดนตรีไทย การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับ สมัยใหม่ การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง 2. อนุรักษ์แล้วเกิดผลอย่างไร ตอบ อนุรักษ์แล้วเกิดผลต่อสังคมไทยในเรื่อง การให้เกียรติและเคารพ การ ยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ มีน้าใจมีมารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน นาเกียรติยศและ ความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความ บันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่งควรรักษาคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการ แสดงนาฏศิลป์ ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและ วัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของ คนในท้องถิ่น
  • 31. 31 4. ถ้าไม่อนุรักษ์จะเกิดผลอย่างไร 1.ไม่มีการให้เกียรติและเคารพ 2.ไม่มีการยอมรับผิดและกล่าวขอโทษ 3.ไม่มีน้าใจมีมารยาทไมตรี ให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้อื่นเดือดร้อน 4.ไม่นาเกียรติยศและความน่าภาคภูมิใจสู่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ 5.ไม่มีรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน 3. ลักษณะการอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้แก่ 1. ด้านศาสนา ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย 2. ด้านความเชื่อ นาฏศิลป์ ไทยรวมทั้งพิธีกรรมของนาฏศิลป์ ไทยบางพิธี 3. ประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและวัฒนธรรมที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย 4. วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น
  • 32. 32 แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ใบคาสั่ง คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่า และความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน ( 10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่า และความสาคัญในการการอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน (10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
  • 33. 33เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เลขที่ ชื่อ – สกุล ความรู้ และหลักการ 5 คะแนน ความกล้า แสดงออก 3 คะแนน ความสามัคคี กลุ่ม 2 คะแนน รวม 10คะแนน กลุ่มที่ 1 อนุรักษ์นาฏศิลป์ 1 นายเทพปกรณ์ นามสุวรรณ์ 2 นายธีรยุทธ จองจับ 3 นายวัชระ โคตรวิชัย 4 นายวันรบ มณีสาย 5 นายวิจิตร พินิจกุล 6 นายอนันท์ ในสันเทียะ 7 นายอานนท์ ในสันเทียะ 8 นางสาวณิชาภัทร น้อยพันธ์ กลุ่มที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น 9 นางสาวจันทมณี รัตนโพธิสัย 10 นางสาวนภัสสร ด่านฆ้อง 11 นางสาวมาริยา สาเจริญ 12 นางสาวมิราวัน สมวงษ์ 13 นางสาววิภาวัลย์ จันทะหนู 14 นางสาวสุพัตรา กรองสี 15 นางสาวอรพรรณ อาณาเขต 16 นางสาวจิราพร จารุจิตร
  • 34. 34 เลขที่ รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม ผลการ ประเมิน ปฏิบัติ ตาม ขั้นตอน มีความ สะอาด สวยงาม ให้ความ ร่วมมือ ในการ ทางาน มีความ ละเอียด รอบคอบ มีภาวะ ผู้นา กล้า แสดงออก 10 คะ 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 แนน ผ มผ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
  • 35. 35 คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน รายการประเมิน/ เกณฑ์ คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน 2 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานเหมาะสมดี 1 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานเหมาะสม 0 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานไม่เหมาะสม 1.ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติตาม ขั้นตอน ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงานตาม ขั้นตอนที่วางแผนไว้ ครบถ้วน ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงานตาม ขั้นตอนที่วางแผนเพียง เล็กน้อย ไม่ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ 2.มีความรักในความไทย สนใจจดจ่อในเรื่องที่ กาลังปฏิบัติเป็นอย่างดี สนใจบ้างคุยเรื่องอื่นบ้าง ขณะที่กาลังปฏิบัติ ไม่สนใจจดจ่อในเรื่องที่ กาลังปฏิบัติ 3.ให้ความร่วมมือในการ ทางาน สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม ในการทางานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย สมาชิกบางคนมีส่วน ร่วมในการทางานตาม หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สมาชิกมีส่วนร่วมไม่มี ส่วนในการทางานตาม หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.มีความละเอียด รอบคอบ มีทักษะกระบวนการ ทางานได้ถูกต้อง ครบถ้วน มีทักษะในกระบวนการ ทางานบางส่วนถูกต้อง ครบถ้วน มีทักษะกระบวนการ ทางานไม่ถูกต้องไม่ ครบถ้วน 5.มีความมุ่งมั่นในภาวะ ผู้นากล้าแสดงออก มีทักษะการนาเสนอให้ สมาชิกสนใจฟังเป็น อย่างดี มีทักษะการนาเสนอ เล็กน้อยให้สมาชิกสนใจ ฟัง ไม่มีทักษะการนาเสนอ ให้สมาชิกสนใจฟังเลย ระดับคุณภาพ 2 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรทักษะปฏิบัติงานเหมาะสมดี 1 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานเหมาะสม 0 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานไม่เหมาะสม เกณฑ์การประเมินด้านพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานของนักเรียน ได้คะแนน 1-2 ระดับระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนต่ากว่าเกณฑ์ ได้คะแนน 3-5 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนพอใช้ ได้คะแนน 4-6 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนได้ค่อนข้างดี ได้คะแนน 7-10 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนดี เกณฑ์การประเมิน ได้คะแนน 1-5 ไม่ผ่านการประเมิน ได้คะแนน 6-10 ผ่านการประเมิน
  • 36. 36 แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลการทดสอบวัดผลหลังเรียนรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ ชื่อ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 คะแนน ปฏิบัติ รวม ชุด2 (10คะแนน) (10คะแนน) (10คะแนน) (30คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 รวม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ ลงชื่อ ผู้บันทึก (.....................................................) ตาแหน่ง วันที่
  • 37. 37 เกณฑ์การให้คะแนน คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการแสดงความคิดเห็นและสร้างคุณค่าและความสาคัญในการการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ กับภูมิปัญญาท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน( 10 คะแนน ) ใช้เวลา 30 นาที ตัวชี้วัด มฐ.ศ 3.2 ม.5 /4 นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เลขที่ ชื่อ – สกุล ความรู้ และหลักการ 5 คะแนน ความกล้า แสดงออก 3 คะแนน ความสามัคคี กลุ่ม 2 คะแนน รวม 10คะแนน กลุ่มที่ 1 อนุรักษ์นาฏศิลป์ 1 2 3 4 5 6 7 8 กลุ่มที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น 9 10 11 12 13 14 15 16
  • 38. 38 เลขที่ รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม ผลการ ประเมิน ปฏิบัติ ตาม ขั้นตอน มีความ สะอาด สวยงาม ให้ความ ร่วมมือ ในการ ทางาน มีความ ละเอียด รอบคอบ มีภาวะ ผู้นา กล้า แสดงออก 10 คะ 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 แนน ผ มผ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
  • 39. 39 บรรณานุกรม กมล เกตุศิริ. “ประเพณีเก่าชาวสุรินทร์” ในเอกสารวัฒนธรรมชุดที่ 1 เพลงพื้นบ้านและ การละเล่นพื้นบ้านจังหวัดสุรินทร์. หน้า 178-207. สุรินทร์ : ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด สุรินทร์ วิทยาลัยครูสุรินทร์, 2527. คิกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. นาฎศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2526. จิราภรณ์ วุมิพันธ์. นาฎศิลป์ อีสาน. มปท. มปป. จรูญศรี วีระวานิช. คู่มือการสอนนาฎศิลป์ สัมพันธ์ระดับประถมศึกษาตอนต้นและประถมศึกษา ตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวินการพิมพ์, ม.ป.ป.ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ, คู่มือการสอนเพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5 :วัฒนาพาณิชย์ ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. ศิลปะการฟ้อนภาคอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : ฝ่ายบริการ สานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2533. ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. ศิลปะการฟ้อนอีสาน. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2533. ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด สุมนมาลย์นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4 : อักษร เจริญทัศน์ อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6 : สถาบัน พัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จากัด www.prapayneethai.com www.bloggang.com www. gotoknow.org www.isan.clubs.chula.ac.th www.kruploykpsw.wikispaces.com www.hw4tub1-5.exteen.com www.lks.ac.th /thaidance.com www.personal.swu.ac.th www.picpost.mthai.com www.siamfreestyle.com www.thaigoodview.com www.xn-k3cikmwc5gwb5fxbya.com
  • 40. 40 ประวัติผู้จัดทา ประวัติผู้วิจัย นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งเลขที่ 27570-2(ถ) เกิดวันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2521 ณ บ้านเลขที่165 บ้านปักคุ้ม หมู่ 6 ตาบลท่าเกวียน อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 27160 โทรศัพท์087- 8450868 สถานที่ทางาน ปัจจุบัน โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา หมู่ที่ 2 ตาบลคลองไทรเดี่ยว อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว 27060 โทรศัพท์037 - 261386 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทย ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา พ.ศ.2551 กศ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2545 วค.ป หลักสูตรรายวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2544 ศศ.บ.วิชาเอกนาฏศิลป์และการละคร สถาบันราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ.2540 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา พ.ศ.2538 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโพนทองวิทยายนจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2536 จบประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
  • 41. 41 ประวัติการ ทางาน พ.ศ. 2540-2542 เป็นนักศึกษาช่วยงานคณะครุศาสตร์ ต่อมาช่วยงานศูนย์วิจัยและ พัฒนานโยบาย สถาบันราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543-2544 เป็นพนักงานโฮสเตส McDonald'sบริษัทแมคโดนัลด์ ประเทศ ไทย จากัด สาขาโรบินสันรัชดา และสาขา ฟอร์จูน พ.ศ. 2545 เป็นพนักงานpart - time บริษัทเลมอนฟาร์ม สาขาเพชรเกษม พ.ศ. 2545-2546 เป็นครูอัตราจ้าง โรงเรียนบ้านคลองลัดอ้อมใหญ่ จังหวัด นครปฐม พ.ศ. 2546- 2548 เป็นครูสังกัดเอกชน กลุ่มโรงเรียนโสมาภา สาขาโสมาภา 2 เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548- 2552 บรรจุพนักงานครูเทศบาลเมืองตาก โรงเรียนรัตนวิทยานุสรณ์ (เทศบาล 4) ช่วยปฏิบัติราชการ โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ (เทศบาล 1 ) พ.ศ. 2552 โอนย้าย เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ปัจจุบัน เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสระแก้ว ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการ ผลงานดีเด่น 2553 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว 2558 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
  • 42. 42