SlideShare a Scribd company logo
1 of 86
Download to read offline
การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
สาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2559
การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
DEVELOPMENT OF A FLIPPED LEARNING INSTRUCTIONAL DESIGN MODEL
BASED ON TPACK FRAMEWORK AND ELABORATION THEORY FOR SECONDARY SCHOOL
TEACHERS UNDER OFFICE OF THE PRIVATE EDUCATION COMMISSION
นายกิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์ ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต รหัสประจาตัวนิสิต 558 44607 27
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2558
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก :
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม :
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับ
ด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เก็บข้อมูลด้วยวิธี
วิจัยแบบผสมวิธี (Mixed-Method) มีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและครูมัธยมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบฯ
3) ทดลองใช้รูปแบบฯ และ 4) รับรองรูปแบบฯ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน ครูมัธยมศึกษาจานวน 350 คน กลุ่มทดลอง
ใช้รูปแบบฯ เป็นครูมัธยมศึกษาสังกัด สช. จานวน 8 คน ใช้ระยะเวลาทดลอง 16 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยด้วยสถิตินอนพาราเมตริก (The Wilcoxon Signed Ranks Test) และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การ
วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
มี 8 องค์ประกอบคือ 1) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 2) ผู้เรียน 3) ผู้สอน 4) ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร 5) เนื้อหา 6) กลยุทธ์การเรียนการสอน 7) สื่อ
และเทคโนโลยี และ 8) การวัดและประเมินผล และมีขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอน 12 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กาหนดเป้าหมาย 2) วิเคราะห์
ผู้เรียน 3) วิเคราะห์บริบท 4) กาหนดเนื้อหาตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด 5) กาหนดจุดประสงค์ 6) กาหนดภาระงาน/เครื่องมือ
วัดและเกณฑ์ 7) กาหนดกลยุทธ์การเรียนรู้กลับด้าน 8) เลือกสื่อการเรียนรู้ 9) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลับด้าน 10) พัฒนาสื่อและเครื่องมือวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ 11) นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอน และ 12) ประเมินการเรียนการสอน
2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดฯ
พบว่า
2.1 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ มีคะแนนความรู้ความเข้าใจในการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบ
แนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดฯ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.2 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้กลับด้านหลังจากการใช้รูปแบบฯ และผ่านการ
ประเมินจากผู้เชี่ยวชาญโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดี
2.3 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ เห็นว่ารูปแบบฯ มีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้ และนักเรียนจานวน 315 คนซึ่งเรียนด้วยแผน
จัดการเรียนรู้แบบกลับด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
3. ผู้ทรงคุณวุฒิให้การประเมินรับรองรูปแบบฯ อยู่ในระดับดีมาก
บทคัดย่อ
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
The purposes of this research and development were to develop, use, and validate a flipped learning instructional
design model based on TPACK framework and elaboration theory for secondary school teachers under Office of the Private
Education Commission (OPEC). Data were collected using a mixed-method research and divided into 4 phases as follows:
1) study opinions of experts and secondary school teachers; 2) create a model; 3) use a model by conducting an experiment
study; and 4) validate the model, The samples were 6 experts, 350 secondary school teachers, and 8 secondary school
teachers under OPEC. All eight teachers participated in experimental study lasted 16 weeks. Data were collected using
frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and nonparametric statistics (The Wilcoxon Signed Ranks Test).
Content analysis was used to analyze the qualitative data. The research results indicated that:
1. A Flipped Learning Instructional Design (FLID) model based on TPACK framework and elaboration theory for
secondary school teachers under Office of the Private Education Commission consisted of eight components: 1) learning
environments; 2) learners; 3) instructors; 4) interaction and communication; 5) contents; 6) instructional strategies; 7) media
and technology; and 8) evaluation. The twelve steps of FLID model were as follows: 1) identify the instructional goals; 2)
learner analysis; 3) contextual analysis; 4) identify the contents based on TPACK and elaboration theory; 5) identify objectives;
6) set tasks and assessment tools; 7) set the flipped learning strategies; 8) select media and technology for flipped learning;
9) develop a flipped learning lesson plan 10) develop instructional media and assessment tools; 11) implement; and
12) evaluate.
2. The results of the model usage and validation showed as follow:
2.1 The experimental group had the post-test score of the flipped learning instructional design
knowledge higher than the pre-test scores at the .05 level of significance.
2.2 After using the FLID model, the experimental group developed their own lesson plan for flipped
learning. The expert assessed the lesson plans at high level.
2.3 The experimental group agreed that FLID model was appropriate and 315 students learned with the
flipped learning were satisfied with high level.
3. The FLID model validation results by experts was appropriate at an excellent level.
ABSTRACT
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
การเรียนการสอนในปัจจุบัน
ในชั้นเรียน : ครูบรรยาย/สั่งงาน
นอกชั้นเรียน : ---------?----------
การสอน
ครู
การเรียน
ในชั้นเรียน : ฟังครูบรรยาย/รับงาน
นอกชั้นเรียน : ทางานที่ครูสั่งให้ไปทา
นักเรียน
ผลที่เกิดขึ้น !!!
ครูสอนมาก
(เน้นบรรยาย)
นักเรียน
ปฏิบัติน้อย
ทาเองไม่ได้
(งาน/การบ้าน)
ไม่มีงานส่ง
ไม่มีคะแนน
สอบไม่ผ่าน
ขาดความรู้
/ทักษะ
ฟังไม่ทัน
ไม่เข้าใจ
ทาไม่เป็น
ในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน
ผลสัมฤทธิ์ตกต่า / ขาดความรู้และทักษะ
ไม่มีทักษะการเรียนรู้ / ขาดความสามารถในการแข่งขัน
สถิติและตัวชี้วัดการศึกษาของประเทศไทย
1 2 3 4 5 6 7 8
จัดอยู่ในอันดับ 8 ในกลุ่มอาเซียน
ผลการทดสอบนานาชาติ PISA / TIMMS
ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ OECD
ผลการทดสอบระดับชาติ NT / O-NET
World Economic Forum: WEF (2013)
ผู้เรียนขาดทักษะการคิดระดับสูง
PISA 2012

“การศึกษาไทย มีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร”
ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสได้เข้าเรียนหนังสือ อยู่ในการศึกษาภาคบังคับอย่างน้อย 9 ปี
มีงบประมาณด้านการศึกษาสูงถึง 500,000 ล้านบาทและเป็นอันดับสองของโลก
ทั้งๆ ที่....
โลก “เปลี่ยนเร็ว” แต่...
การศึกษา “เปลี่ยนช้า”
? ? ? ?
“การปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษาไม่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก”
...
การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน “ขาดคุณภาพ”
? ? ? ?
ความตกต่าทางการศึกษามีหลายสาเหตุ
สาเหตุสาคัญประการหนึ่งคือ.....
“ยังเน้นการบรรยายเนื้อหาในชั้นเรียน”
“กิจกรรมการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน”
“กิจกรรมการเรียนการสอนไม่ส่งเสริมการคิดระดับสูง”
“ขาดการบูรณาการเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างเหมาะสม”
“ผู้เรียนยังต้องขวนขวายเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมนอกชั้นเรียน”
“ครูยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ
ในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาสมรรถนะสาคัญ (ในศตวรรษที่ 21)”
? ? ? ?
ทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญ
ในศตวรรษที่ 21
1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา
2. การคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม
3. ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา
4. การสื่อสาร การรู้สารสนเทศและสื่อ
5. คอมพิวเตอร์ และการรู้เทคโนโลยี
6. ความเข้าใจในความแตกต่างและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
7. วิชาชีพและการพึ่งพาตนเอง
7Cs
The Seven Cs - 21st Century Lifelong Skills
“ไม่เน้นการบรรยายเนื้อหาในชั้นเรียน”
“กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน”
“กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมการคิดระดับสูง”
“บูรณาการเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างเหมาะสม”
“ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน”
“ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญในศตวรรษที่ 21”
เน้นการจัดการเรียนการสอน “อย่างมีคุณภาพ” ในชั้นเรียน
ปรับกระบวนทัศน์
ในการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
“อย่างมีคุณภาพ”
ควรทาอย่างไร ?
ครูลดการ
บรรยาย
นักเรียน
ปฏิบัติ
มากขึ้น
ทาเองได้
(งาน/การบ้าน)
มีงานส่ง
มีคะแนน
สอบผ่าน
มีความรู้
/ทักษะ
เรียนทัน
เข้าใจ
ทาเป็น
ในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน
ลดการบรรยายเนื้อหาใน
ชั้นเรียนโดยนาเสนอเนื้อหา
ล่วงหน้าผ่านสื่อชนิดต่าง ๆ
ครูมีโอกาสดูแลนักเรียน
ในชั้นเรียนอย่างทั่วถึง
ผู้เรียนปฏิบัติโดย
ใช้ความรู้จากการ
ศึกษาเนื้อหา
มาก่อนล่วงหน้า
สร้างสรรค์ผลงาน
ร่วมกันได้หรือ
สามารถสร้างสรรค์
ผลงานได้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้กลับด้าน
Flipped Learning
การเรียนรู้กลับด้าน
Flipped Learning
ห้องเรียนกลับด้าน
Flipped Classroom
ในปี 2007 Bergmann และ Sams ครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา Woodland
Park แห่งรัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดการเรียนการสอนที่เรียกว่า
“ห้องเรียนกลับด้าน” (Flipped classroom) ซึ่งเริ่มต้นโดยใช้โปรแกรมที่สามารถ
บันทึกเสียงลงในสไลด์ PowerPoint เพื่อนาเสนอเนื้อหาและบันทึกการบรรยายสดลง
ในระบบออนไลน์เพื่อให้ผู้เรียนที่ขาดเรียนได้นาไปศึกษา วิธีการนี้ได้มีผู้สนใจนาไปใช้
และเผยแพร่อย่างกว้างขวางทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จ
แห่งหนึ่งคือโรงเรียนมัธยม Clintondale รัฐมิชิแกน ที่ครูสร้างวีดีโอ 3 เรื่องต่อ
สัปดาห์เพื่อเริ่มต้นนาร่องให้นักเรียนดูที่บ้านหรือที่โรงเรียน แต่ละวีดีโอใช้เวลา 5-7
นาทีครอบคลุมเฉพาะหัวข้อสาคัญ เวลาในชั้นเรียนจะใช้ในการปฏิบัติงานหรือทา
กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ผู้เรียนจะได้รับข้อมูลป้อนกลับทันทีจากการทากิจกรรมในชั้น
เรียน ผู้เรียนรู้สึกพึงพอใจที่ได้ทาการบ้านที่โรงเรียนโดยมีครูคอยช่วยเหลือ ก่อนหน้า
นี้ มีนักเรียน 50% ตกวิชาภาษาอังกฤษและ 44% ตกวิชาคณิตศาสตร์ แต่หลังจาก
การเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านพบว่า มีนักเรียนตกวิชาภาษาอังกฤษลดลงเหลือ
19% และวิชาคณิตศาสตร์ลดเหลือ 13%
https://www.youtube.com/watch?v=G_p63W_2F_4
https://www.youtube.com/watch?v=9aGuLuipTwg
The Flipped Class: Myths vs. Reality (Bergmann, Overmyer and Wilie, 2013)
http://www.thedailyriff.com/articles/the-flipped-class-conversation-689.php
7 THINGS YOU SHOULD KNOW ABOUT FLIPPED CLASSROOM : EDUCAUSE 2012
http://net.educause.edu/ir/library/pdf/eli7081.pdf
การเรียนรู้กลับด้าน
Flipped Learning
ดูเพิ่มเติม
การเรียนรู้แบบกลับด้าน
Flipped Learning
การเรียนรู้แบบกลับด้าน คือ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานแบบหนึ่ง
นาเอาการบรรยายหรือการนาเสนอ
เนื้อหาของครูผู้สอนออกไปไว้นอกชั้นเรียน
หรือนอกเวลาเรียนโดยให้สื่อหรือวัสดุการเรียน
แบบต่างๆ แก่ผู้เรียนนาไปศึกษานอกเวลา
ก่อนที่จะเข้าเรียนเนื้อหานั้นๆ ในชั้นเรียน
เทคโนโลยีมีบทบาทในการนาเสนอเนื้อหา
และมีปฏิสัมพันธ์นอกชั้นเรียน
นอกชั้นเรียน
ใช้เวลาในชั้นเรียนสาหรับการปฏิบัติ
งานที่เคยให้ผู้เรียนทาเป็นการบ้าน มาทา
ในชั้นเรียนหรือจัดกิจกรรมอื่นๆ ที่ให้ผู้เรียน
เกิดความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะต่างๆ
โดยใช้ความรู้จากที่ครูมอบหมายให้ไปศึกษา
มาล่วงหน้าก่อนการเรียนในชั้นเรียนและ
เทคโนโลยีมีส่วนเสริมในกิจกรรม
ของชั้นเรียน
ในชั้นเรียน
(Bergmann, Overmyer and Wille, 2012; Bergmann and Sams, 2014)
บทบาทของผู้เรียน คือ ปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
บทบาทของครู คือ การช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียนรู้เป็นรายบุคคล / กลุ่ม
การเรียนรู้แบบกลับด้าน
Flipped Learning
ความสาคัญของการเรียนรู้แบบกลับด้าน
การเรียนรู้ในชั้นเรียนเน้นการเรียน
แบบกระตือรือร้น (Active Learning)
ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมของชั้นเรียน
เน้นการใช้ความคิดระดับสูง เน้นการเรียนรู้
ร่วมกันและเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยขยาย
ความรู้จากเนื้อหาที่ศึกษามาก่อนหน้า
ผู้เรียนกากับ และตรวจสอบ
การเรียนรู้ของตนเอง
การนาเสนอเนื้อหารายวิชา
ด้วยสื่อหรือวัสดุการเรียนแบบต่างๆ
ที่ครูพัฒนาขึ้นโดยเทคโนโลยีในการนาเสนอ
เนื้อหา และมีการติดต่อสื่อสารนอกชั้นเรียน
ระหว่างผู้สอน-ผู้เรียน / ผู้เรียนกับผู้เรียน
และผู้เรียนกับสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
นอกชั้นเรียน
ในชั้นเรียน
- ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี
- ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารด้วยเทคโนโลยี
- ผู้เรียนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
- ครูมีทักษะด้านการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี
- ครูมีทักษะในการวิเคราะห์เนื้อหาและการออกแบบ
การเรียนการสอน
- ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการคิดระดับสูง
- ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
- ผู้เรียนกากับและตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
และพัฒนาตามศักยภาพในการเรียนรู้ของตนเอง
- ครูมีเวลามากขึ้นในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
- ครูสามารถช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล/กลุ่ม
(Spencer, Wolf and Sams, 2011; EDUCAUSE, 2012; Fulton, 2012; Bishop, 2013;
Rochester Institute of Technology, 2013; Center of Teaching and learning, 2014)
ระดับการศึกษา กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมนอกชั้นเรียน จานวน
ผู้เรียน
จานวนผู้เรียน
(ควบคุม)
เครื่องมือ การเก็บข้อมูล กรอบแนวคิดหลัก
Lage ชั้นปีที่ 1 กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 40 - สารวจ หลังเรียน LS
Kaner ป.ตรี กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย - - สารวจ หลังเรียน LS
Bergmann ม.ปลาย - - - - - - -
Talbert ป.ตรี กลุ่มเล็ก+ทดสอบ วีดีโอบรรยาย 7 - สารวจ หลังเรียน PBL
Gannod ป.ตรี-โท การบ้าน+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 20-160 - สารวจ ก่อน-หลัง Co-op
Toto ชั้นปีที่ 2 - วีดีโอบรรยาย+สอบ 74 - สารวจ ก่อน-หลัง
ต่างกัน
AL, LS
Zappe ป.ตรี การบ้าน+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+สอบ 77 - สารวจ ระหว่าง-หลังเรียน AL
Demetry ป.ตรี กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+สอบ 125 - - - PBL
Day ป.ตรี-โท กลุ่มเล็ก วีดีโอ+การบ้าน 28 18 สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Constr.
Foertsh ป.ตรี-โท กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 415 234 สารวจ หลังเรียน Co-op
Kellog ป.ตรี - บทเรียนคอมฯ - - - - LS
Warter-Peraz ปีที่ 1-2 บรรยาย+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 25-30 - สารวจ ก่อน-หลัง PBL, CL
Dollar ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ - - ทดสอบ ก่อน-หลัง LS
Tan ชั้นปีที่ 1 บรรยาย+วีดีโอ การบ้าน 75 - สารวจ หลังเรียน Al
Baker ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ - - - หลังเรียน AL
Bland ปีที่2-4 การบ้าน การบ้าน - - สารวจ หลังเรียน AL
Franciszkowicz ปีที่ 1-2 การบ้าน การบ้าน 1074 - สารวจ ระหว่าง-หลังเรียน Al, PBL
Thomas ป.ตรี การบ้าน วีดีโอบรรยาย 405 275-668 ทดสอบ หลังเรียน -
Stelzer ป.ตรี บรรยาย-กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+
คอมพิวเตอร์
500+ 500+ สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Al
Moravec ปีที่ 1-2 บรรยาย+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 795 1310 สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Al
Strayer ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ 23 26 สารวจ หลังเรียน Piagetian
Papadopoulos ป.ตรี บรรยาย บทเรียนคอมฯ +การบ้าน 43 11 สารวจ+ทดสอบ ก่อน-หลัง PBL
(Bishop, 2013)วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน
22
เนื้อหา / วิชา ระดับ
ผู้เรียน
กิจกรรม
นอกชั้นเรียน
สื่อนาเสนอ
ผู้เรียน
กิจกรรม
ในชั้นเรียน
การ
ประเมิน
จุดประสงค์
ของการศึกษา
Li et al.
(2013)
บูรณาการ
เทคโนโลยีการศึกษา
ปริญญาตรี
ชั้นที่ 1-4
- เรียนรู้จากสื่อ - ถามคาถาม
- แสดงความคิดเห็น
- สื่อออนไลน์ (Facebook)
- เกม / วีดีโอสาธิต
- รายงานปากเปล่า
- อภิปราย - ปฏิบัติ
- ผลสัมฤทธิ์ - ความพึงพอใจ
- การร่วมกิจกรรม
ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ
เรียนแบบกลับด้าน
Toqueer
(2013)
การอบรมการจัดการ
และภาวะผู้นา
ผู้ใหญ่ - เรียนรู้จากสื่อ
- บันทึกเนื้อหา
- วีดีโอบรรยาย - ทดสอบ - ชี้แจง ทบทวน
- อภิปราย
- ความรู้ความเข้าใจ
- เจตคติ - การมีส่วนร่วม
ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ
เรียนแบบกลับด้าน
Clark
(2013)
คณิตศาสตร์ มัธยม
ผู้เรียน 2 กลุ่ม
- เรียนรู้จากสื่อ - อ่านเนื้อหา
- ดูการสาธิต
- วีดีโอบรรยาย - เสียงบรรยาย
- ระบบBlackboard
- ปฏิบัติกิจกรรม
- การนาความรู้ไปใช้ - ทดสอบ
- สารวจ - สัมภาษณ์
- ทดสอบ
เปรียบเทียบการเรียนแบบ
กลับด้านกับแบบเดิม
Wiginton
(2013
คณิตศาสตร์ มัธยม (เกรด 9)
ผู้เรียน 3 กลุ่ม
- เรียนรู้จากสื่อ - บันทึกเนื้อหา
- ถามคาถาม
- วีดีโอบรรยาย - เนื้อหาออนไลน์
- เว็บไซต์ (Blog)
- Active learning
- Mastery learning
- Traditional
- ปฏิบัติกิจกรรม - ทดสอบ
- แบบทดสอบ
- แบบวัด Self-efficacy
- แบบสัมภาษณ์กลุ่ม
- แบบสังเกต
ตรวจสอบการเรียน 3 แบบ
- Active learning
- Mastery learning
- Traditional
Enfield
(2013)
การผลิตสื่อโทรทัศน์ ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอ 38 ชุด
- เนื้อหาอ่าน 2 ชุด
- ทดสอบ - สาธิต
- อภิปราย / ปฏิบัติ
- สารวจ - สัมภาษณ์
- ทดสอบ
ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ
เรียนแบบกลับด้าน
Kim et al.
(2014)
วิศวกรรมศาสตร์
สังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์
ปริญญาตรี
ผู้เรียน 3 กลุ่ม
- เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอบรรยาย
- ระบบ LMS
- Hang out
- การแก้ปัญหา
- การทาโครงงาน
- การอภิปรายกลุ่ม
- สารวจ
- สัมภาษณ์
- ตรวจงานเอกสาร
ตรวจสอบผลของผู้เรียน
3 กลุ่ม
Butt
(2014)
คณิตศาสตร์ ปริญญาตรี
ปีที่ 4
- อ่านเนื้อหา - บันทึกการอ่าน
- ถาม-ตอบออนไลน์
- หนังสือเรียน - ระบบ Moodle
- แบบสารวจออนไลน์
- ซักถาม - อภิปราย
- สรุปเนื้อหา
- สารวจ - สอบถาม พัฒนาวิธีการเรียนแบบ
กลับด้าน
Palanski
(2012)
วิทยาศาสตร์ ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ
- ทาแบบทดสอบสั้นๆ ออนไลน์
- วีดีโอบรรยาย - แบ่งกลุ่ม / ทบทวน – ทา
แบบฝึกหัด ทาผัง / เสนอความคิด
- ทดสอบ - สังเกต
- สัมภาษณ์
พัฒนาวิธีการสอนแบบ
กลับด้าน
Thompson
(2012)
บริหารธุรกิจ
เบื้องต้น
ปริญญาตรี
ผู้เรียน
- เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอบรรยาย - ทดสอบสั้น ๆ - ซักถาม
- ตอบคาถาม - ทาโครงงาน
- สอบถาม
- สัมภาษณ์
เปรียบเทียบผลวิธีสอน
2 แบบ
เดชรัตน สุขกา
เนิด (2556)
เศรษฐศาสตร์
(ม.เกษตรศาสตร์)
ปริญญาตรี -- เรียนรู้จากสื่อ
- ซักถามออนไลน์กับผู้สอน
- วีดีโอ / อินโฟกราฟิก
- เนื้อหาออนไลน์ - Facebook
-- การอภิปราย - เกมสถานการณ์
จาลอง - ทดสอบความรู้
- สอบถาม
- สังเกต
พัฒนาวิธีการสอนแบบ
กลับด้าน
สุพิศ
ฤทธิ์แก้ว
(2556)
คณิตศาสตร์
(ม.วลัยลักษณ์)
ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ - สืบค้นข้อมูล
จากระบบออนไลน์
- ซักถามออนไลน์กับผู้สอน
- เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล
- สื่อในระบบออนไลน์
- Youtube - ClassStart.org
- การนาเสนอความรู้ – การทดสอบ
- การระดมสมอง
- การร่วมกันแก้ปัญหา
- การทาแบบฝึกหัด
- สังเกต
- สอบถาม
- ทดสอบ
พัฒนาวิธีการสอนแบบ
กลับด้าน
วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
11
สรุป วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน
– วีดิโอการบรรยายมีการนามาใช้มากที่สุด และมีบทเรียนคอมพิวเตอร์ เช่น
e-book CAI หรืออาจเป็น PowerPoint นอกจากนี้ยังอาจเป็นเอกสารที่ให้
ผู้เรียนอ่านมาล่วงหน้า เช่น หนังสือ ตารา เอกสารประกอบ หรือจาก
เว็บไซต์ที่ครูกาหนด
- มักใช้กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม เช่น การอภิปราย การระดม
สมอง การร่วมแก้ปัญหา แบ่งกลุ่มทบทวน ทาแบบฝึกหัด และการนาเสนอ
แนวคิดหรือผลงาน
- แบบฝึกหัด แบบทดสอบ แบบประเมินการปฏิบัติ แบบประเมินผลงาน
แบบสารวจ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ ฯลฯ
- ส่วนใหญ่ใช้การเรียนแบบเชิงรุก (Active learning) ควบคู่ไปกับ
การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative learning) หรือการเรียนรู้ร่วมกัน
(Collaborative learning) การทาโครงงาน (Project approach) และ
การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Performance-based)
สื่อนาเสนอเนื้อหา
กิจกรรมในชั้นเรียน
เครื่องมือวัด
กลยุทธ์การเรียนรู้
ในชั้นเรียน
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
การเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้เนื้อหาและมีทักษะในการปฏิบัติได้ตั้งแต่ 30-75 %
?
?
ผู้เรียนเรียนรู้ล่วงหน้าจากสื่อชนิด
ต่างๆ ที่ครูจัดให้ และสรุปเนื้อหา
เตรียมมาทากิจกรรมในชั้นเรียน
การเรียนรู้กลับด้าน แบ่งพื้นที่การเรียนออกเป็น 3 ส่วน
ก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นเรียน หลังชั่วโมงเรียน
เรียนรู้จากการปฏิบัติ/ร่วมกิจกรรม
ทุกคนมีส่วนร่วม
เน้นการคิดระดับสูง
กากับ/ตรวจสอบการเรียนของตนเอง
ขยาย/ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาก่อนหน้า
ผู้เรียนใช้ความรู้จากการฝึกฝน
และปฏิบัติในชั้นเรียนไปพัฒนา
องค์ความรู้/ผลิตผลงาน
?
การเรียนแบบผสมผสาน
การเรียนรู้ผ่านสื่อ
การเรียนรู้เชิงรุก
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนรู้ร่วมกัน
การเรียนแบบโครงงาน
การเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน
การออกแบบ - การผลิต
การสร้างสรรค์ผลงาน
การนาเสนอผลงงาน
การเผยแพร่ผลงาน
กลยุทธ์ที่นามาใช้จัดการเรียนการสอน
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
?
?
ความจา
ความเข้าใจ
การนาไปใช้
การวิเคราะห์
การประเมิน
การสร้างสรรค์
ผู้เรียนเรียนรู้ล่วงหน้าจากสื่อชนิด
ต่างๆ ที่ครูจัดให้ และสรุปเนื้อหา
เตรียมมาทากิจกรรมในชั้นเรียน
แบ่งพื้นที่การเรียนออกเป็น 3 ส่วน
ก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นเรียน หลังชั่วโมงเรียน
เรียนรู้จากการปฏิบัติ/ร่วมกิจกรรม
ทุกคนมีส่วนร่วม
เน้นการคิดระดับสูง
กากับ/ตรวจสอบการเรียนของตนเอง
ขยาย/ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาก่อนหน้า
ผู้เรียนใช้ความรู้จากการฝึกฝน
และปฏิบัติในชั้นเรียนไปพัฒนา
องค์ความรู้/ผลิตผลงาน
?
ผู้เรียนสามารถบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ได้ในระดับสูง
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
แนวคิด ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
กรอบแนวคิด TPACK
TPACK Framework
Shulman (1986)
Mishra & Koehler (2006)
Mishra, P. & Koehler, M.J. (2006). Technological Pedagogical Content Knowledge: A Framework for Teacher Knowledge. Teacher College Record, Vol. 108 (6),1017-1054
Technological Knowledge
ความรู้เทคโนโลยี
Pedagogical Knowledge
ความรู้วิธีการสอน
Content Knowledge
ความรู้เนื้อหาวิชา
TPK TCK
PCK
TPACK
TK
PK CK
Pedagogical Content Knowledge
ความรู้วิธีการสอนเนื้อหา
Technological
Content
Knowledge
ความรู้เนื้อหาที่
เกี่ยวกับเทคโนโลยี
Technological
Pedagogical
Knowledge
ความรู้วิธีสอน
ที่ใช้เทคโนโลยี
Technological Pedagogical Content Knowledge: TPACK
TPACK FRAMEWORK
(Mishra & Koehler, 2006)
Teacher’ TPACK = Teacher’ Ability
กรอบแนวคิด TPACK จะช่วยให้ครูมีความรู้ที่
ชัดเจนในการจัดการเรียนการสอนใน 3 ส่วน คือ
เมื่อนาความรู้ทั้ง 3 ส่วน มาบูรณาการจะช่วยให้
ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาไปพร้อมๆ กับความรู้และทักษะ
ทางเทคโนโลยี
Teacher’ TPACK จะเน้นในการพัฒนาศักยภาพ
ครูในการวิเคราะห์ แจกแจง และเพิ่มเติมเนื้อหา
สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
TCK.. PCK..
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบแนวคิด TPACK วิชา สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์) ชั้น ม.3
ตัวชี้วัด ส 5.1.1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม
ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
TK
PK CK
ความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีของระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์
(Geographic Informative
System: GIS)
ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ
สอนแบบสืบสอบ
(Inquiry Based Learning)
TPK TCK
PCK
TPACK
การสืบสอบ
การวิเคราะห์
การนาเสนอ
Teacher’ TPACK
ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้
ในการจัดระบบและเสนอข้อมูล
สารสนเทศภูมิศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสอนแบบสืบสอบ
ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวน
การสอนแบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบและ
นาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการสอน
แบบสืบสอบเพื่อการเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดระบบ
และการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
(Reigeluth, 1980, 1983, 1999; Dick, Carey and Carey, 2009; Jackson, 1993; Marek, 1997; Chen, 2002; วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ คงเผ่า, 2548)
ความสาคัญของทฤษฎีขยายความคิด
ขั้นตอนการจัดการเนื้อหา
ตามแนวทฤษฎีขยายความคิด
1. พิจารณาคัดเลือกเนื้อหา
2. จัดทาโครงสร้างเนื้อหา
3. จัดวางเนื้อหาหลักให้เป็นระบบ
4. เพิ่มเติมเนื้อหาสนับสนุน
5. จัดเนื้อหาลงในบทเรียนระดับต่างๆ
6. จัดลาดับเนื้อหาภายในบทเรียนย่อยๆ
ทฤษฎีขยายความคิด Elaboration Theory
1. ช่วยให้ครูสามารถเลือกและวิเคราะห์เนื้อหาที่สาคัญ
และเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้
2. ช่วยให้ครูสามารถจัดลาดับความสาคัญและเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ของเนื้อหาในระดับต่างๆ
3. ช่วยให้ครูสามารถจัดทาโครงสร้างเนื้อหาได้อย่าง
สะดวก รวดเร็ว เหมาะสมและถูกต้อง
4. ช่วยให้ครูสามารถกาหนดเนื้อหาที่เป็น
- เนื้อหาความรู้เดิมที่จาเป็น
- เนื้อหลัก
- เนื้อหารอง
- เนื้อหาย่อย
- เนื้อหาอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง
- เนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความรู้ที่กว้างขวาง
และลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น
5. ช่วยให้ครูมีความชัดเจนในการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับบทเรียนย่อยๆ
(Charles M. Reigeluth, 1980)
“แนวทางการเลือกใช้กลยุทธ์ในการจัดการ
เนื้อหาความรู้ในรายวิชาต่างๆ”
(Reigeluth, 1980, 1983, 1999; Dick, Carey and Carey, 2009; Jackson, 1993; Marek, 1997; Chen, 2002; วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ คงเผ่า, 2548)
1. พิจารณาคัดเลือกเนื้อหา
2. จัดทาโครงสร้างเนื้อหา
3. จัดวางเนื้อหาหลักให้เป็นระบบ
4. เพิ่มเติมเนื้อหาสนับสนุน
5. จัดเนื้อหาลงในบทเรียนระดับต่างๆ
6. จัดลาดับเนื้อหาภายในบทเรียนย่อยๆ
ทฤษฎีขยายความคิด Elaboration Theory (Charles M. Reigeluth, 1980)
1. โครงสร้างเนื้อหาเชิงมโนทัศน์
(Conceptual structure)
2. โครงสร้างเนื้อหาเชิงทฤษฎี
(Theoretical structure)
3. โครงสร้างเนื้อหาเชิงกระบวนการ
(Procedural structure)
โครงสร้างเนื้อหา
กลยุทธ์การจัดลาดับเนื้อหา
1. การจัดลาดับของการขยายความคิด
2. จัดลาดับเนื้อหาพื้นฐานที่จาเป็นต่อการเรียนรู้
3. สรุปใจความสาคัญของเนื้อหา
4. สังเคราะห์เนื้อหา
5. เปรียบเทียบกับความรู้เดิม
6. การใช้กลยุทธ์กระตุ้นทางปัญญา
7. ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ของตนเอง
ขั้นตอนการจัดการเนื้อหา
ตามแนวทฤษฎีขยายความคิด
บทเรียน 1 บทเรียน 2 บทเรียน 3 บทเรียน 4
ทฤษฎีสี
โครงสร้างเนื้อหา : เชิงมโนทัศน์
(Conceptual Structure)
แม่สี
วัตถุธาตุ
แม่สี
ของแสง
จิตวิทยาเกี่ยวกับสี
สารจาก
ธรรมชาติ
สาร
สังเคราะห์
แสง
พืช สัตว์ แร่ธาตุ
สีเอกรงค์ สีส่วนรวม ความเข้ม
ของสี
สี
ตัดกัน
สีร้อน
สีเย็น
ความเป็นมาของสี แม่สี คุณลักษณะของสี
1 2 3 4
1.1 1.2 1.3
1.2.1 1.2.2 1.2.3
2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5
โครงสร้างเนื้อหาเชิงมโนทัศน์ (Conceptual structure)
1. แสดงเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กันตามลาดับจาก เนื้อหาหลัก (superordinate) เนื้อหารอง (coordinate) และ เนื้อหาย่อย
(subordinate) ซึ่งจะแสดงความสัมพันธ์กันในแนวตั้ง ทิศทางจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา
2. แสดงเนื้อหาที่ต้องเรียนรู้อย่างเป็นลาดับขั้นตอน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์กันในแนวนอน
1 2 3 4
พัฒนาความรู้ความเข้าใจ
ตัวอย่าง
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
เป้าหมาย
โครงสร้างเนื้อหา : เชิงกระบวนการ
(Procedural Structure)
ขั้นตอนย่อย
2.3
ขั้นที่ 4
ขั้นตอนย่อย
2.1
ขั้นตอนย่อย
2.2
ทักษะย่อย 1.1 ทักษะย่อย 1.3
ทักษะพื้นฐาน 1.2
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3
ทักษะย่อย 2.2.1 ทักษะย่อย 2.2.2
ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6
โครงสร้างเนื้อหาเชิงกระบวนการ (Procedural structure)
แสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนในกระบวนการ โดยเริ่มต้นจากทักษะย่อย และทักษะพื้นฐานที่ต้องมีก่อนเรียน ไปสู่
ขั้นตอนหลัก และไปสู่ขั้นตอนต่อไป บางขั้นตอนอาจมีขั้นตอนย่อยที่ต้องปฏิบัติก่อนไปยังขั้นตอนต่อไป ซึ่งในแต่ละขั้นตอนย่อย อาจมี
ทักษะย่อยอื่นๆ ด้วย ทิศทางจะเริ่มจากล่างขึ้นบนและจากซ้ายไปขวา
ทักษะที่ต้องมีมาก่อน
การเรียนในเนื้อหานี้
พัฒนาทักษะ-การปฏิบัติ
ตัวอย่าง
(Dick, Carey and Carey, 2009 p.84)
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
โครงสร้างเนื้อหา : เชิงกระบวนการ
(Procedural Structure)
สอดแม่แรง
เข้าใต้
ท้องรถ
ใส่ยาง
4
กาหนดวิธี
การใช้
แม่แรง
หาจุดยก
เพื่อสอด
แม่แรง
เตรียมยางดี
และเครื่องมือ
1
ยกรถ
2
ถอดยาง
3
เอารถลง
5
การเปลี่ยนยางรถยนต์
ยกรถ
ด้วย
แม่แรง
บล็อคยาง
ทั้งหน้า
และหลัง
คลาย
น็อต
แม่แรง
ดูว่ารถ
และแม่แรง
มั่นคง
ใช่
ไม่
3
ถอด
น็อต
ใส่
น็อต
ถอด
ยาง
ใส่
ยาง
พัฒนาทักษะ-การปฏิบัติ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม สามารถเปลี่ยนยางรถยนต์ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ภาระงาน / เงื่อนไข หลังจากการเรียน ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนยางรถยนต์ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน มีความปลอดภัย และจัดเก็บ
อุปกรณ์ที่ใช้ได้อย่างเรียบร้อย ภายในเวลาไม่เกิน 20 นาที
ตัวอย่าง
(Dick, Carey and Carey, 2009 p.87)
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
การเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
(Bonwell and Eison, 1991; Bonwell, 2000)
1. การเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning)
2. การเรียนแบบรู้จริง
(Mastery Learning)
3. การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
(Meaningful Verbal Learning)
4. การเรียนรู้ร่วมกัน
(Collaborative Learning)
5. การเรียนแบบร่วมมือ
(Cooperative Learning)
6. การเรียนรู้จากการปฏิบัติ
(Performance-Based Learning)
หลักการใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
ในการเรียนรู้แบบกลับด้าน
1. ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. เน้นการใช้ความคิดระดับสูง
3. เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน / ร่วมมือ
4. ผู้เรียนดูแลและตรวจสอบการเรียนรู้
ของตนเอง
5. เรียนรู้จากการปฏิบัติ
6. ขยายความรู้ความเข้าใจจากเนื้อหาที่
เรียนมาก่อนหน้า
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มุ่งให้ผู้เรียน
ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันในชั้นเรียนโดยไม่ใช่นั่งฟัง
การบรรยายเพียงอย่างเดียว เน้นการคิดระดับสูง โดยครูเปลี่ยน
บทบาทเป็นจากผู้ให้ความรู้เป็นผู้สนับสนุนและช่วยเหลือในการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
กลยุทธ์การเรียนรู้แบบเชิงรุก
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
หน้า 145
Center for Research on Learning and Teaching,
University of Michigan
Writing
(Minute paper)
Large group
discussion
Self-assessment
Writing
(Minute paper)
Think-pair-share
Informal group
Triad group
Peer review
Case studies
Group
evaluations
Interactive
lecture
Brains
storming
Hands-on
technology
Role playing
Game or
simulation
Forum
theater
Inquiry learning
Jigsaw
discussion
Experiential
Learning
(Site visits)Pause and
reflections
Collaborative – Cooperative learning
Complex learningIndividual or Group
การเรียนรู้
เชิงรุก
Active Learning
(Center of Research on Learning and Teaching, University of Michigan; 2014;
Rochester Institute of Technology, 2013; Center of Teaching and Learning, University of Minnesota, 2014)
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
ประเภทของสื่อการเรียนรู้ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
กลยุทธ์ที่สามารถนามาใช้ ได้แก่ การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การสอนบนเว็บ (Web-based Instruction) การเรียนรู้
อิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน (Computer support collaborative learning: CSCL) ฯลฯ
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
วิธีดาเนินการวิจัย
1. รูปแบบฯ
3. ครูมัธยมศึกษาฯ
ควรมีองค์ประกอบและขั้นตอนอย่างไร
2. การใช้รูปแบบ
สามารถพัฒนาความสามารถของ
ครูมัธยมศึกษาได้อย่างไรบ้าง
มีความคิดเห็นต่อการนา
รูปแบบไปใช้อย่างไรบ้าง
คาถามวิจัย
1. เพื่อสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการ
เรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับ
ครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
2. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยาย
ความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. ครูกลุ่มทดลองฯ มีผลการทดสอบวัดความรู้
ความเข้าใจหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองใช้
รูปแบบฯ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ครูกลุ่มทดลองฯ มีคะแนนจากการประเมิน
คุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ที่กาหนดโดยเฉลี่ย
อยู่ในระดับดี
สมมุติฐานของการวิจัย
P ≤ .05
Post-test > Pre-test
5
4
3
2
1
ขอบเขตของการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 3กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น
เป็นครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษา สังกัด สพฐ.และ สช.
จานวน 350 คน
2. กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
ให้ความคิดเห็น ตรวจเครื่องมือ และประเมินรูปแบบ
จานวน 19 คน
3. กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้รูปแบบฯ
เป็นครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
จานวน 8 คน
ให้ความคิดเห็น ตรวจเครื่องมือ รับรองรูปแบบ
ศึกษารูปแบบ พัฒนาแผนการสอน ทดลองสอน
ขอบเขตของการวิจัย
ตัวแปรอิสระ คือ การใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
ตัวแปรตาม คือ ความสามารถด้านการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด โดยแบ่งเป็น 3 ด้านดังนี้
1. ด้านการออกแบบการเรียนการสอน
2. ด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
3. ด้านการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอน
ผลการทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ
ในการออกแบบการเรียนการสอนฯ
ผลการประเมิน
แผนการจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็นของครูกลุ่มทดลอง
จากการนารูปแบบฯ ไปใช้สอน1 2 3
สมมุติฐานงานวิจัย (1) สมมุติฐานงานวิจัย (2)
กรอบแนวคิดในการวิจัย
1
การวิจัยเชิงสารวจ
การพัฒนารูปแบบฯ
การวิจัยเชิงทดลอง
การรับรองรูปแบบฯ
2
3
4
ศึกษา-รวบรวม
ความคิดเห็น
เกี่ยวกับการพัฒนา
รูปแบบฯ
สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 6 คน สอบถามครูมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 350 คน
แนวทางการพัฒนารูปแบบฯ
แนวทางการพัฒนาครูผู้สอนฯ
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อจากัด
ปัจจัยสาคัญ
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ดาเนินการสร้าง
รูปแบบการออกแบบ
การเรียนการสอนแบบ
การเรียนรู้กลับด้าน ฯ ผู้เชี่ยวชาญประเมินรูปแบบฯ
คู่มือและเครื่องมือ 5 คนครูทดลองศึกษา 3 คน
พัฒนารูปแบบฯ
และคู่มือการใช้งานฯ
(ร่าง) รูปแบบฯ
คู่มือการใช้(ร่าง)รูปแบบฯ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การรับรองจากผู้เชี่ยวชาญ
Try-out 1:1
ทดลองใช้
รูปแบบการออกแบบ
การเรียนการสอนแบบ
การเรียนรู้กลับด้านฯ
การรับรอง
รูปแบบการออกแบบ
การเรียนการสอนแบบ
การเรียนรู้กลับด้านฯ
ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ 8 คน
ชี้แจงและสอบก่อนการทดลอง
ครูกลุ่มทดลองฯ พัฒนาแผนฯ
ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจแผนฯ
3 คน ครูกลุ่มทดลองฯ สอนจริง 8 คน
ความรู้ความเข้าใจ
ในการออกแบบ
การสอนฯ
ผลประเมินแผนฯ
ความคิดเห็นของครู
ความคิดเห็นนักเรียน
รวบรวมข้อมูลจาก
การทดลองใช้รูปแบบ
และผลการประเมิน
ต่างๆ นาเสนอ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบฯ 5 คน
ผลการรับรองรูปแบบฯ
จากผู้ทรงคุณวุฒิ
รูปแบบการออกแบบ
การเรียนการสอนฯ
ผล
ผล
ผล
ผล
16 สัปดาห์
12 สัปดาห์
16 สัปดาห์
4 สัปดาห์
Research & Development / Mixed-Method
One group pretest-posttest design
วิธีดาเนินการวิจัย
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
ขั้นที่ 1 การศึกษาความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ
วิเคราะห์ข้อมูล
เชิงคุณภาพ
ผลสรุปข้อมูล
เชิงคุณภาพ พัฒนาเครื่องมือ
(แบบสอบถาม)
เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
จากครูมัธยมศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูล
เชิงปริมาณ
ผลสรุปวิจัยเชิงปริมาณ
จากครูมัธยมศึกษา
ตีความ-สรุปผลวิจัย
เชิงคุณภาพ+ปริมาณ
เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมวิธี (Mixed-method) โดยใช้
ตามแบบแผนการสารวจ : รูปแบบการพัฒนาเครื่องมือ (Exploratory Design: Instrument Development Model) ของ
Creswell และ Clark (2007)
มี 2 ขั้นตอนคือ
1. สัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน (qual)
2. สอบถามความคิดเห็นจากครูมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 500 คน (QUAN)
(qual) (qual) (qual)
(Quan) (Quan)(Quan) Quan)(qual
ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ
1. การเลือกเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน
2. การเลือกสื่อและเทคโนโลยี
3. การเลือกใช้กลยุทธ์การเรียนการสอน
4. การบูรณาการเนื้อหาตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
5. องค์ประกอบและขั้นตอนของการออกแบบ
6. ปัจจัยที่เอื้อต่อความสาเร็จ
7. สิ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน
8. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของครูผู้สอน
9. การเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน
10. การจัดทาคู่มือการใช้รูปแบบฯ
1. สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน
- ติดต่อสัมภาษณ์เป็นรายบุคล
- ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 15 วัน
- ใช้แบบบันทึกและบันทึกเสียง
1. เป็นผู้สอน หรือมีประสบการณ์ในการพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน
การเรียนแบบผสมสาน การสอนบนเว็บ การพัฒนาหลักสูตรและการสอน ทั้งในระดับ
มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือ
2. เป็นผู้สอนในระดับอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือ
3. เป็นผู้มีผลงานด้านการวิจัย หรือเขียนหนังสือตาราเรียนในสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือ
4. มีตาแหน่งทางวิชาการ หรือมีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตในสาขาที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็นครูมัธยมศึกษา
แบบสอบถามความคิดเห็นฯ แบ่งออกเป็น 4 ตอนได้แก่
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สภาพการณ์การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน (13 ข้อ)
ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน (29 ข้อ)
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ
แบบสอบถามความคิดเห็นฯ มีทั้งหมด 12 หน้า มี 3 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
แบบประมาณค่า (Rating Scale) และแบบปลายเปิด (Open-ended)
การหาคุณภาพของเครื่องมือ
นาแบบสอบถามฯ เสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาในด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) หลังจาก
ผ่านการตรวจพิจารณาจากอาจารย์ที่ปรึกษาและแก้ไขปรับปรุงแล้วนาไปทดลองให้ครูระดับมัธยมศึกษาฯ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 5 คน อ่านเพื่อตรวจสอบความเข้าใจด้านภาษา คาถาม และสานวนที่ใช้ในแบบสอบถามฯ จากนั้นนาแบบสอบถามฯ เสนอ
ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 คน เพื่อตรวจพิจารณาด้านความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิที่เลือกเป็นครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการ
สอนระดับมัธยมศึกษามากว่า 20 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 1 คน สาขาวิชาวิจัยและพัฒนา
การศึกษา 1 คน และสาขาวิชาการบริหารการศึกษา 1 คน โดยใช้แบบประเมินความสอดคล้องและความตรงเชิงเนื้อหารายข้อฯ ของ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผลการประเมินแบบสอบถามฯ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency: IOC) เท่ากับ 1.0
2. สอบถามความคิดเห็นครูมัธยมศึกษาจานวน 500 คน
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร เป็นครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ทั่วประเทศ จานวน 111,424 คน และครูที่สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียน
สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ทั่วประเทศ จานวน 25,176 คน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557) รวม
ทั้งหมด 136,600 คน
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster sampling) จานวนกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงจากตารางสาเร็จของ Yamane
(1973) ที่ความคลาดเคลื่อน 5% ใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน โดยแบ่งตามภูมิภาคต่าง ๆ 5 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ ภาคละ 10 โรงเรียน (แบ่งเป็นโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน 5 โรงเรียน และสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 5 โรงเรียน) รวมทั้งหมด 50 โรงเรียน เก็บข้อมูล
โรงเรียนละ 10 คน
รวมจานวนแบบสอบถามฯ ที่ส่งไปทั้งหมด 500 ชุด ได้รับกลับคืน 370 ชุด คิดเป็นร้อยละ 74.0 แต่มีแบบสอบถามที่มี
ข้อมูลสมบูรณ์ครบถ้วนเพียง 350 ชุด คิดเป็นร้อยละ 70 จากที่ส่งไป แต่ถ้าคิดตามจานวนที่ต้องการ (400 ชุด) จะได้แบบสอบถามฯ
กลับคืนคิดเป็นร้อยละ 87.5
1. การวิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม
2. การเลือกเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน
3. สื่อการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไปศึกษาก่อนเรียน
4. ลักษณะการเรียนรู้ที่เหมาะสม
5. เทคโนโลยีที่ครูนามาใช้จัดการเรียนการสอน
6. กิจกรรมที่ครูจัดให้กับผู้เรียนก่อนเข้าชั้นเรียน
7. กิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน
8. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของครูผู้สอน
9. การเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน
10. คู่มือในการออกแบบการเรียนการสอน
ผลการสอบถามความ
คิดเห็นครูมัธยมศึกษา
จานวน 350 คน
ความคิดเห็นจากครูมัธยมศึกษา
ภาคเหนือ 98 คน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 68 คน
ภาคกลาง 69 คน
ภาคตะวันออก 57 คน
ภาคใต้ 58 คน
19.6%
13.6%
13.8%
11.4%
11.6%
ครูสังกัด สช. 193 คน คิดเป็น 55.1%
ครูสังกัด สพฐ. 157 คน คิดเป็น 44.9% ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 90 วัน
ส่งแบบสอบถาม 500 ชุด ได้รับคืน 350 ชุด (70%)
ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและครูมัธยมศึกษา นามาพัฒนาเป็นรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิด
ทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
การเรียนแบบ
ผสมผสาน
Blended Learning
กรอบแนวคิด
ทีแพค
TPACK framework
ทฤษฎีขยายความคิด
Elaboration
theory
การเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
ผลการสอบถามความคิดเห็นครู
มัธยมศึกษาจานวน 350 คน
ผลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 6 คน
รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน
Instructional Design Model
การเรียนรู้กลับด้าน
Flipped Learning
รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
สาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพค
และทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
หลักการสาคัญของรูปแบบฯ
1. จัดการเรียนการสอนในลักษณะผสมผสานระหว่างการเรียนการสอน
ในชั้นเรียนกับการเรียนแบบออนไลน์
2. วิเคราะห์และจัดการเนื้อหาโดยบูรณาการความรู้เทคโนโลยีเข้าไปใน
การเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา
3. จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อช่วยในการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของรูปแบบฯ
1. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนและออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดของครูมัธยมศึกษาฯ
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพครูมัธยมศึกษาฯ ในด้านการออกแบบและพัฒนาแผนการจัดเรียนรู้
สาหรับการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
กรอบแนวคิดในการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน
ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
องค์ประกอบของรูปแบบฯ
1. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
(Learning environments)
2. ผู้เรียน
(Learners)
3. ผู้สอน
(Instructors)
4. ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร
(Interaction and Communication)
5. จุดประสงค์และเนื้อหา
(Objectives and Contents)
6. กลยุทธ์การเรียนการสอน
(Instructional Strategies)
7. สื่อและเทคโนโลยี
(Media and Technology)
8. การวัดและประเมินผล
(Evaluation)
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
สาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
สาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
5
6
7 8
9
10
1
4
3
2 11
12
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอนตามรูปแบบฯ 12 ขั้นตอน
พัฒนาคู่มือการใช้รูปแบบฯ และใบงานสาหรับการฝึกปฏิบัติ
การประเมินรับรองรูปแบบฯ
ผลการประเมินรับรอง
รูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิ
จานวน 5 คน
ความเหมาะสมขององค์ประกอบ
ของรูปแบบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด
(𝑿 = 4.7, SD = .42)
ความเหมาะสมของขั้นตอนของ
รูปแบบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด
(𝑿 = 4.7, SD = .55)
ผู้เชี่ยวชาญซึ่งทาหน้าที่ตรวจพิจารณาและประเมินรับรองรูปแบบ
การออกแบบการเรียนการสอนฯ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 5 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจงผ่านการพิจารณาของอาจารย์ที่
ปรึกษา โดย ทั้ง 5 คน เป็นผู้สอนในระดับอุดมศึกษา สาขาคณะครุศาสตร์-
ศึกษาศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ทุกคนมีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตใน
สาขาที่เกี่ยวข้อง และ 4 ใน 5 คนมีตาแหน่งทางวิชาการเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์
ขั้นที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบ
แนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ
สอบก่อนการทดลอง ให้เงื่อนไขการทดลอง
ศึกษา-พัฒนาแผนฯ
และนาแผนไปใช้สอน
สอบหลังการทดลอง ตีความ
สรุปผลวิจัย
เชิงปริมาณ
และคุณภาพ
Based on
QUAN (qual)
results
สังเกตช่วงพัฒนาแผนฯ และช่วงนาแผนฯ ไปใช้สอน
บันทึกหลังสอน/สอบถาม/สัมภาษณ์ครู-นักเรียน/
After Action Review: AAR (qual)
เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวสอบก่อนหลังการทดลอง
(one group pretest-posttest design) ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมวิธี (Mixed-method) ตามแบบแผน
รองรับภายใน : รูปแบบการทดลอง (Embedded Experimental Model) ของ Creswell และ Clark (2007)
Quan (O2)Quan (O1)
แบบแผนการทดลอง
แบบแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล
กลุ่มตัวอย่าง การสอบก่อน
การทดลอง
ตัวแปร
จัดกระทา
การสอบหลัง
การทดลอง
E O1 X O2
มีขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย 4 ขั้นตอน
ผลการประเมิน
ความสอดคล้องและความตรง
เชิงเนื้อหาของแบบทดสอบฯ
จากผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน
แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การออกแบบการเรียนการสอนแบบ
การเรียนรู้กลับด้าน 65 ข้อ
(IOC = .88)
ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณาแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจฯ
ระยะเวลาตรวจพิจาณา 15 วัน
หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้กลุ่มตัวอย่างทดลองสอบ (try-out) จานวน 40 คน
ผลการวิเคราะห์ค่าความยาก (p) และอานาจจาแนก (r) รายข้อ
ค่าความยากเฉลี่ย 0.49 ค่าอานาจจาแนกเฉลี่ย 0.50
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.30 โดยใช้สูตร KR-20
ค่าความเชื่อมั่น (Reliability)
ของแบบทดสอบฯ เท่ากับ .82
ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 คน 2 คนเป็นครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการสอน
ระดับมัธยมศึกษามากกว่า 20 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา
หลักสูตรและการสอน 1 คน สาขาวิจัยและพัฒนาการศึกษา 1 คน อีก 1
คนเป็นศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
การพัฒนาแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจในการออกแบบการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
ขั้นตอนที่ 1 สอบก่อนการทดลอง ชี้แจงและแจกคู่มือการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนฯ
ขั้นที่ 2 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
1. ศึกษารูปแบบและขั้นตอนการออกแบบฯ
2. วิเคราะห์และออกแบบการเรียนการสอน
3. พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
4. พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล
5. พัฒนาสื่อและวัสดุการเรียนการสอน
จัดทาวีดีทัศน์นาเสนอเนื้อหาก่อนเรียน
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-Research

More Related Content

What's hot

อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดBas Kit
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Wichit Thepprasit
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

What's hot (20)

57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 

Viewers also liked

บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromKrupol Phato
 
Classroom
ClassroomClassroom
Classroombeta_t
 
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroomห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroomสมใจ จันสุกสี
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางKomsun See
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroomwaa edad
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 

Viewers also liked (11)

บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classrom
 
Classroom
ClassroomClassroom
Classroom
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroomห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom
ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทาง
 
What is a flipped classroom?
What is a flipped classroom?What is a flipped classroom?
What is a flipped classroom?
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 

Similar to Flipped Learning-Research

การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3Prachyanun Nilsook
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...Siriratbruce
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์DrJoe Weawsorn
 
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3noeiinoii
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 

Similar to Flipped Learning-Research (20)

55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
World class
World classWorld class
World class
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
006
006006
006
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์
 
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
โจทย์ปัญหาการหาพื้นผิวปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 

More from Kittipun Udomseth

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Kittipun Udomseth
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newKittipun Udomseth
 

More from Kittipun Udomseth (6)

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
 
Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 

Flipped Learning-Research

  • 2. การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน DEVELOPMENT OF A FLIPPED LEARNING INSTRUCTIONAL DESIGN MODEL BASED ON TPACK FRAMEWORK AND ELABORATION THEORY FOR SECONDARY SCHOOL TEACHERS UNDER OFFICE OF THE PRIVATE EDUCATION COMMISSION นายกิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์ ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต รหัสประจาตัวนิสิต 558 44607 27 ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม :
  • 3. การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับ ด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เก็บข้อมูลด้วยวิธี วิจัยแบบผสมวิธี (Mixed-Method) มีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและครูมัธยมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบฯ 3) ทดลองใช้รูปแบบฯ และ 4) รับรองรูปแบบฯ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน ครูมัธยมศึกษาจานวน 350 คน กลุ่มทดลอง ใช้รูปแบบฯ เป็นครูมัธยมศึกษาสังกัด สช. จานวน 8 คน ใช้ระยะเวลาทดลอง 16 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยด้วยสถิตินอนพาราเมตริก (The Wilcoxon Signed Ranks Test) และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ มี 8 องค์ประกอบคือ 1) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 2) ผู้เรียน 3) ผู้สอน 4) ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร 5) เนื้อหา 6) กลยุทธ์การเรียนการสอน 7) สื่อ และเทคโนโลยี และ 8) การวัดและประเมินผล และมีขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอน 12 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กาหนดเป้าหมาย 2) วิเคราะห์ ผู้เรียน 3) วิเคราะห์บริบท 4) กาหนดเนื้อหาตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด 5) กาหนดจุดประสงค์ 6) กาหนดภาระงาน/เครื่องมือ วัดและเกณฑ์ 7) กาหนดกลยุทธ์การเรียนรู้กลับด้าน 8) เลือกสื่อการเรียนรู้ 9) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลับด้าน 10) พัฒนาสื่อและเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู้ 11) นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอน และ 12) ประเมินการเรียนการสอน 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดฯ พบว่า 2.1 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ มีคะแนนความรู้ความเข้าใจในการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบ แนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดฯ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้กลับด้านหลังจากการใช้รูปแบบฯ และผ่านการ ประเมินจากผู้เชี่ยวชาญโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดี 2.3 ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ เห็นว่ารูปแบบฯ มีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้ และนักเรียนจานวน 315 คนซึ่งเรียนด้วยแผน จัดการเรียนรู้แบบกลับด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3. ผู้ทรงคุณวุฒิให้การประเมินรับรองรูปแบบฯ อยู่ในระดับดีมาก บทคัดย่อ (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 4. The purposes of this research and development were to develop, use, and validate a flipped learning instructional design model based on TPACK framework and elaboration theory for secondary school teachers under Office of the Private Education Commission (OPEC). Data were collected using a mixed-method research and divided into 4 phases as follows: 1) study opinions of experts and secondary school teachers; 2) create a model; 3) use a model by conducting an experiment study; and 4) validate the model, The samples were 6 experts, 350 secondary school teachers, and 8 secondary school teachers under OPEC. All eight teachers participated in experimental study lasted 16 weeks. Data were collected using frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and nonparametric statistics (The Wilcoxon Signed Ranks Test). Content analysis was used to analyze the qualitative data. The research results indicated that: 1. A Flipped Learning Instructional Design (FLID) model based on TPACK framework and elaboration theory for secondary school teachers under Office of the Private Education Commission consisted of eight components: 1) learning environments; 2) learners; 3) instructors; 4) interaction and communication; 5) contents; 6) instructional strategies; 7) media and technology; and 8) evaluation. The twelve steps of FLID model were as follows: 1) identify the instructional goals; 2) learner analysis; 3) contextual analysis; 4) identify the contents based on TPACK and elaboration theory; 5) identify objectives; 6) set tasks and assessment tools; 7) set the flipped learning strategies; 8) select media and technology for flipped learning; 9) develop a flipped learning lesson plan 10) develop instructional media and assessment tools; 11) implement; and 12) evaluate. 2. The results of the model usage and validation showed as follow: 2.1 The experimental group had the post-test score of the flipped learning instructional design knowledge higher than the pre-test scores at the .05 level of significance. 2.2 After using the FLID model, the experimental group developed their own lesson plan for flipped learning. The expert assessed the lesson plans at high level. 2.3 The experimental group agreed that FLID model was appropriate and 315 students learned with the flipped learning were satisfied with high level. 3. The FLID model validation results by experts was appropriate at an excellent level. ABSTRACT (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 10. สถิติและตัวชี้วัดการศึกษาของประเทศไทย 1 2 3 4 5 6 7 8 จัดอยู่ในอันดับ 8 ในกลุ่มอาเซียน ผลการทดสอบนานาชาติ PISA / TIMMS ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ OECD ผลการทดสอบระดับชาติ NT / O-NET World Economic Forum: WEF (2013) ผู้เรียนขาดทักษะการคิดระดับสูง PISA 2012  “การศึกษาไทย มีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร” ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสได้เข้าเรียนหนังสือ อยู่ในการศึกษาภาคบังคับอย่างน้อย 9 ปี มีงบประมาณด้านการศึกษาสูงถึง 500,000 ล้านบาทและเป็นอันดับสองของโลก ทั้งๆ ที่....
  • 11. โลก “เปลี่ยนเร็ว” แต่... การศึกษา “เปลี่ยนช้า” ? ? ? ? “การปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษาไม่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก” ...
  • 12. การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน “ขาดคุณภาพ” ? ? ? ? ความตกต่าทางการศึกษามีหลายสาเหตุ สาเหตุสาคัญประการหนึ่งคือ.....
  • 13. “ยังเน้นการบรรยายเนื้อหาในชั้นเรียน” “กิจกรรมการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน” “กิจกรรมการเรียนการสอนไม่ส่งเสริมการคิดระดับสูง” “ขาดการบูรณาการเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างเหมาะสม” “ผู้เรียนยังต้องขวนขวายเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมนอกชั้นเรียน” “ครูยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาสมรรถนะสาคัญ (ในศตวรรษที่ 21)” ? ? ? ?
  • 14. ทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญ ในศตวรรษที่ 21 1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา 2. การคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม 3. ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา 4. การสื่อสาร การรู้สารสนเทศและสื่อ 5. คอมพิวเตอร์ และการรู้เทคโนโลยี 6. ความเข้าใจในความแตกต่างและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 7. วิชาชีพและการพึ่งพาตนเอง 7Cs The Seven Cs - 21st Century Lifelong Skills
  • 15. “ไม่เน้นการบรรยายเนื้อหาในชั้นเรียน” “กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน” “กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมการคิดระดับสูง” “บูรณาการเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างเหมาะสม” “ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน” “ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญในศตวรรษที่ 21” เน้นการจัดการเรียนการสอน “อย่างมีคุณภาพ” ในชั้นเรียน ปรับกระบวนทัศน์ ในการจัดการเรียนการสอน
  • 17. ครูลดการ บรรยาย นักเรียน ปฏิบัติ มากขึ้น ทาเองได้ (งาน/การบ้าน) มีงานส่ง มีคะแนน สอบผ่าน มีความรู้ /ทักษะ เรียนทัน เข้าใจ ทาเป็น ในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ลดการบรรยายเนื้อหาใน ชั้นเรียนโดยนาเสนอเนื้อหา ล่วงหน้าผ่านสื่อชนิดต่าง ๆ ครูมีโอกาสดูแลนักเรียน ในชั้นเรียนอย่างทั่วถึง ผู้เรียนปฏิบัติโดย ใช้ความรู้จากการ ศึกษาเนื้อหา มาก่อนล่วงหน้า สร้างสรรค์ผลงาน ร่วมกันได้หรือ สามารถสร้างสรรค์ ผลงานได้ด้วยตนเอง
  • 20. ในปี 2007 Bergmann และ Sams ครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา Woodland Park แห่งรัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดการเรียนการสอนที่เรียกว่า “ห้องเรียนกลับด้าน” (Flipped classroom) ซึ่งเริ่มต้นโดยใช้โปรแกรมที่สามารถ บันทึกเสียงลงในสไลด์ PowerPoint เพื่อนาเสนอเนื้อหาและบันทึกการบรรยายสดลง ในระบบออนไลน์เพื่อให้ผู้เรียนที่ขาดเรียนได้นาไปศึกษา วิธีการนี้ได้มีผู้สนใจนาไปใช้ และเผยแพร่อย่างกว้างขวางทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จ แห่งหนึ่งคือโรงเรียนมัธยม Clintondale รัฐมิชิแกน ที่ครูสร้างวีดีโอ 3 เรื่องต่อ สัปดาห์เพื่อเริ่มต้นนาร่องให้นักเรียนดูที่บ้านหรือที่โรงเรียน แต่ละวีดีโอใช้เวลา 5-7 นาทีครอบคลุมเฉพาะหัวข้อสาคัญ เวลาในชั้นเรียนจะใช้ในการปฏิบัติงานหรือทา กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ผู้เรียนจะได้รับข้อมูลป้อนกลับทันทีจากการทากิจกรรมในชั้น เรียน ผู้เรียนรู้สึกพึงพอใจที่ได้ทาการบ้านที่โรงเรียนโดยมีครูคอยช่วยเหลือ ก่อนหน้า นี้ มีนักเรียน 50% ตกวิชาภาษาอังกฤษและ 44% ตกวิชาคณิตศาสตร์ แต่หลังจาก การเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านพบว่า มีนักเรียนตกวิชาภาษาอังกฤษลดลงเหลือ 19% และวิชาคณิตศาสตร์ลดเหลือ 13% https://www.youtube.com/watch?v=G_p63W_2F_4 https://www.youtube.com/watch?v=9aGuLuipTwg The Flipped Class: Myths vs. Reality (Bergmann, Overmyer and Wilie, 2013) http://www.thedailyriff.com/articles/the-flipped-class-conversation-689.php 7 THINGS YOU SHOULD KNOW ABOUT FLIPPED CLASSROOM : EDUCAUSE 2012 http://net.educause.edu/ir/library/pdf/eli7081.pdf การเรียนรู้กลับด้าน Flipped Learning ดูเพิ่มเติม
  • 21. การเรียนรู้แบบกลับด้าน Flipped Learning การเรียนรู้แบบกลับด้าน คือ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานแบบหนึ่ง นาเอาการบรรยายหรือการนาเสนอ เนื้อหาของครูผู้สอนออกไปไว้นอกชั้นเรียน หรือนอกเวลาเรียนโดยให้สื่อหรือวัสดุการเรียน แบบต่างๆ แก่ผู้เรียนนาไปศึกษานอกเวลา ก่อนที่จะเข้าเรียนเนื้อหานั้นๆ ในชั้นเรียน เทคโนโลยีมีบทบาทในการนาเสนอเนื้อหา และมีปฏิสัมพันธ์นอกชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ใช้เวลาในชั้นเรียนสาหรับการปฏิบัติ งานที่เคยให้ผู้เรียนทาเป็นการบ้าน มาทา ในชั้นเรียนหรือจัดกิจกรรมอื่นๆ ที่ให้ผู้เรียน เกิดความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะต่างๆ โดยใช้ความรู้จากที่ครูมอบหมายให้ไปศึกษา มาล่วงหน้าก่อนการเรียนในชั้นเรียนและ เทคโนโลยีมีส่วนเสริมในกิจกรรม ของชั้นเรียน ในชั้นเรียน (Bergmann, Overmyer and Wille, 2012; Bergmann and Sams, 2014) บทบาทของผู้เรียน คือ ปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน บทบาทของครู คือ การช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียนรู้เป็นรายบุคคล / กลุ่ม
  • 22. การเรียนรู้แบบกลับด้าน Flipped Learning ความสาคัญของการเรียนรู้แบบกลับด้าน การเรียนรู้ในชั้นเรียนเน้นการเรียน แบบกระตือรือร้น (Active Learning) ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมของชั้นเรียน เน้นการใช้ความคิดระดับสูง เน้นการเรียนรู้ ร่วมกันและเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยขยาย ความรู้จากเนื้อหาที่ศึกษามาก่อนหน้า ผู้เรียนกากับ และตรวจสอบ การเรียนรู้ของตนเอง การนาเสนอเนื้อหารายวิชา ด้วยสื่อหรือวัสดุการเรียนแบบต่างๆ ที่ครูพัฒนาขึ้นโดยเทคโนโลยีในการนาเสนอ เนื้อหา และมีการติดต่อสื่อสารนอกชั้นเรียน ระหว่างผู้สอน-ผู้เรียน / ผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ นอกชั้นเรียน ในชั้นเรียน - ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี - ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารด้วยเทคโนโลยี - ผู้เรียนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง - ครูมีทักษะด้านการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี - ครูมีทักษะในการวิเคราะห์เนื้อหาและการออกแบบ การเรียนการสอน - ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการคิดระดับสูง - ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น - ผู้เรียนกากับและตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง และพัฒนาตามศักยภาพในการเรียนรู้ของตนเอง - ครูมีเวลามากขึ้นในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน - ครูสามารถช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล/กลุ่ม (Spencer, Wolf and Sams, 2011; EDUCAUSE, 2012; Fulton, 2012; Bishop, 2013; Rochester Institute of Technology, 2013; Center of Teaching and learning, 2014)
  • 23. ระดับการศึกษา กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมนอกชั้นเรียน จานวน ผู้เรียน จานวนผู้เรียน (ควบคุม) เครื่องมือ การเก็บข้อมูล กรอบแนวคิดหลัก Lage ชั้นปีที่ 1 กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 40 - สารวจ หลังเรียน LS Kaner ป.ตรี กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย - - สารวจ หลังเรียน LS Bergmann ม.ปลาย - - - - - - - Talbert ป.ตรี กลุ่มเล็ก+ทดสอบ วีดีโอบรรยาย 7 - สารวจ หลังเรียน PBL Gannod ป.ตรี-โท การบ้าน+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 20-160 - สารวจ ก่อน-หลัง Co-op Toto ชั้นปีที่ 2 - วีดีโอบรรยาย+สอบ 74 - สารวจ ก่อน-หลัง ต่างกัน AL, LS Zappe ป.ตรี การบ้าน+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+สอบ 77 - สารวจ ระหว่าง-หลังเรียน AL Demetry ป.ตรี กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+สอบ 125 - - - PBL Day ป.ตรี-โท กลุ่มเล็ก วีดีโอ+การบ้าน 28 18 สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Constr. Foertsh ป.ตรี-โท กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 415 234 สารวจ หลังเรียน Co-op Kellog ป.ตรี - บทเรียนคอมฯ - - - - LS Warter-Peraz ปีที่ 1-2 บรรยาย+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 25-30 - สารวจ ก่อน-หลัง PBL, CL Dollar ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ - - ทดสอบ ก่อน-หลัง LS Tan ชั้นปีที่ 1 บรรยาย+วีดีโอ การบ้าน 75 - สารวจ หลังเรียน Al Baker ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ - - - หลังเรียน AL Bland ปีที่2-4 การบ้าน การบ้าน - - สารวจ หลังเรียน AL Franciszkowicz ปีที่ 1-2 การบ้าน การบ้าน 1074 - สารวจ ระหว่าง-หลังเรียน Al, PBL Thomas ป.ตรี การบ้าน วีดีโอบรรยาย 405 275-668 ทดสอบ หลังเรียน - Stelzer ป.ตรี บรรยาย-กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย+ คอมพิวเตอร์ 500+ 500+ สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Al Moravec ปีที่ 1-2 บรรยาย+กลุ่มเล็ก วีดีโอบรรยาย 795 1310 สารวจ+ทดสอบ หลังเรียน Al Strayer ป.ตรี กลุ่มเล็ก บทเรียนคอมฯ 23 26 สารวจ หลังเรียน Piagetian Papadopoulos ป.ตรี บรรยาย บทเรียนคอมฯ +การบ้าน 43 11 สารวจ+ทดสอบ ก่อน-หลัง PBL (Bishop, 2013)วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน 22
  • 24. เนื้อหา / วิชา ระดับ ผู้เรียน กิจกรรม นอกชั้นเรียน สื่อนาเสนอ ผู้เรียน กิจกรรม ในชั้นเรียน การ ประเมิน จุดประสงค์ ของการศึกษา Li et al. (2013) บูรณาการ เทคโนโลยีการศึกษา ปริญญาตรี ชั้นที่ 1-4 - เรียนรู้จากสื่อ - ถามคาถาม - แสดงความคิดเห็น - สื่อออนไลน์ (Facebook) - เกม / วีดีโอสาธิต - รายงานปากเปล่า - อภิปราย - ปฏิบัติ - ผลสัมฤทธิ์ - ความพึงพอใจ - การร่วมกิจกรรม ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ เรียนแบบกลับด้าน Toqueer (2013) การอบรมการจัดการ และภาวะผู้นา ผู้ใหญ่ - เรียนรู้จากสื่อ - บันทึกเนื้อหา - วีดีโอบรรยาย - ทดสอบ - ชี้แจง ทบทวน - อภิปราย - ความรู้ความเข้าใจ - เจตคติ - การมีส่วนร่วม ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ เรียนแบบกลับด้าน Clark (2013) คณิตศาสตร์ มัธยม ผู้เรียน 2 กลุ่ม - เรียนรู้จากสื่อ - อ่านเนื้อหา - ดูการสาธิต - วีดีโอบรรยาย - เสียงบรรยาย - ระบบBlackboard - ปฏิบัติกิจกรรม - การนาความรู้ไปใช้ - ทดสอบ - สารวจ - สัมภาษณ์ - ทดสอบ เปรียบเทียบการเรียนแบบ กลับด้านกับแบบเดิม Wiginton (2013 คณิตศาสตร์ มัธยม (เกรด 9) ผู้เรียน 3 กลุ่ม - เรียนรู้จากสื่อ - บันทึกเนื้อหา - ถามคาถาม - วีดีโอบรรยาย - เนื้อหาออนไลน์ - เว็บไซต์ (Blog) - Active learning - Mastery learning - Traditional - ปฏิบัติกิจกรรม - ทดสอบ - แบบทดสอบ - แบบวัด Self-efficacy - แบบสัมภาษณ์กลุ่ม - แบบสังเกต ตรวจสอบการเรียน 3 แบบ - Active learning - Mastery learning - Traditional Enfield (2013) การผลิตสื่อโทรทัศน์ ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอ 38 ชุด - เนื้อหาอ่าน 2 ชุด - ทดสอบ - สาธิต - อภิปราย / ปฏิบัติ - สารวจ - สัมภาษณ์ - ทดสอบ ศึกษาผลการใช้รูปแบบการ เรียนแบบกลับด้าน Kim et al. (2014) วิศวกรรมศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ปริญญาตรี ผู้เรียน 3 กลุ่ม - เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอบรรยาย - ระบบ LMS - Hang out - การแก้ปัญหา - การทาโครงงาน - การอภิปรายกลุ่ม - สารวจ - สัมภาษณ์ - ตรวจงานเอกสาร ตรวจสอบผลของผู้เรียน 3 กลุ่ม Butt (2014) คณิตศาสตร์ ปริญญาตรี ปีที่ 4 - อ่านเนื้อหา - บันทึกการอ่าน - ถาม-ตอบออนไลน์ - หนังสือเรียน - ระบบ Moodle - แบบสารวจออนไลน์ - ซักถาม - อภิปราย - สรุปเนื้อหา - สารวจ - สอบถาม พัฒนาวิธีการเรียนแบบ กลับด้าน Palanski (2012) วิทยาศาสตร์ ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ - ทาแบบทดสอบสั้นๆ ออนไลน์ - วีดีโอบรรยาย - แบ่งกลุ่ม / ทบทวน – ทา แบบฝึกหัด ทาผัง / เสนอความคิด - ทดสอบ - สังเกต - สัมภาษณ์ พัฒนาวิธีการสอนแบบ กลับด้าน Thompson (2012) บริหารธุรกิจ เบื้องต้น ปริญญาตรี ผู้เรียน - เรียนรู้จากสื่อ - วีดีโอบรรยาย - ทดสอบสั้น ๆ - ซักถาม - ตอบคาถาม - ทาโครงงาน - สอบถาม - สัมภาษณ์ เปรียบเทียบผลวิธีสอน 2 แบบ เดชรัตน สุขกา เนิด (2556) เศรษฐศาสตร์ (ม.เกษตรศาสตร์) ปริญญาตรี -- เรียนรู้จากสื่อ - ซักถามออนไลน์กับผู้สอน - วีดีโอ / อินโฟกราฟิก - เนื้อหาออนไลน์ - Facebook -- การอภิปราย - เกมสถานการณ์ จาลอง - ทดสอบความรู้ - สอบถาม - สังเกต พัฒนาวิธีการสอนแบบ กลับด้าน สุพิศ ฤทธิ์แก้ว (2556) คณิตศาสตร์ (ม.วลัยลักษณ์) ปริญญาตรี - เรียนรู้จากสื่อ - สืบค้นข้อมูล จากระบบออนไลน์ - ซักถามออนไลน์กับผู้สอน - เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล - สื่อในระบบออนไลน์ - Youtube - ClassStart.org - การนาเสนอความรู้ – การทดสอบ - การระดมสมอง - การร่วมกันแก้ปัญหา - การทาแบบฝึกหัด - สังเกต - สอบถาม - ทดสอบ พัฒนาวิธีการสอนแบบ กลับด้าน วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557) 11
  • 25. สรุป วิเคราะห์การเรียนการสอนแบบกลับด้าน – วีดิโอการบรรยายมีการนามาใช้มากที่สุด และมีบทเรียนคอมพิวเตอร์ เช่น e-book CAI หรืออาจเป็น PowerPoint นอกจากนี้ยังอาจเป็นเอกสารที่ให้ ผู้เรียนอ่านมาล่วงหน้า เช่น หนังสือ ตารา เอกสารประกอบ หรือจาก เว็บไซต์ที่ครูกาหนด - มักใช้กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม เช่น การอภิปราย การระดม สมอง การร่วมแก้ปัญหา แบ่งกลุ่มทบทวน ทาแบบฝึกหัด และการนาเสนอ แนวคิดหรือผลงาน - แบบฝึกหัด แบบทดสอบ แบบประเมินการปฏิบัติ แบบประเมินผลงาน แบบสารวจ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ ฯลฯ - ส่วนใหญ่ใช้การเรียนแบบเชิงรุก (Active learning) ควบคู่ไปกับ การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative learning) หรือการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative learning) การทาโครงงาน (Project approach) และ การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Performance-based) สื่อนาเสนอเนื้อหา กิจกรรมในชั้นเรียน เครื่องมือวัด กลยุทธ์การเรียนรู้ ในชั้นเรียน (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 26. การเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้เนื้อหาและมีทักษะในการปฏิบัติได้ตั้งแต่ 30-75 %
  • 27. ? ? ผู้เรียนเรียนรู้ล่วงหน้าจากสื่อชนิด ต่างๆ ที่ครูจัดให้ และสรุปเนื้อหา เตรียมมาทากิจกรรมในชั้นเรียน การเรียนรู้กลับด้าน แบ่งพื้นที่การเรียนออกเป็น 3 ส่วน ก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นเรียน หลังชั่วโมงเรียน เรียนรู้จากการปฏิบัติ/ร่วมกิจกรรม ทุกคนมีส่วนร่วม เน้นการคิดระดับสูง กากับ/ตรวจสอบการเรียนของตนเอง ขยาย/ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาก่อนหน้า ผู้เรียนใช้ความรู้จากการฝึกฝน และปฏิบัติในชั้นเรียนไปพัฒนา องค์ความรู้/ผลิตผลงาน ? การเรียนแบบผสมผสาน การเรียนรู้ผ่านสื่อ การเรียนรู้เชิงรุก การเรียนแบบร่วมมือ การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนแบบโครงงาน การเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน การออกแบบ - การผลิต การสร้างสรรค์ผลงาน การนาเสนอผลงงาน การเผยแพร่ผลงาน กลยุทธ์ที่นามาใช้จัดการเรียนการสอน (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 28. ? ? ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมิน การสร้างสรรค์ ผู้เรียนเรียนรู้ล่วงหน้าจากสื่อชนิด ต่างๆ ที่ครูจัดให้ และสรุปเนื้อหา เตรียมมาทากิจกรรมในชั้นเรียน แบ่งพื้นที่การเรียนออกเป็น 3 ส่วน ก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นเรียน หลังชั่วโมงเรียน เรียนรู้จากการปฏิบัติ/ร่วมกิจกรรม ทุกคนมีส่วนร่วม เน้นการคิดระดับสูง กากับ/ตรวจสอบการเรียนของตนเอง ขยาย/ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาก่อนหน้า ผู้เรียนใช้ความรู้จากการฝึกฝน และปฏิบัติในชั้นเรียนไปพัฒนา องค์ความรู้/ผลิตผลงาน ? ผู้เรียนสามารถบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ได้ในระดับสูง (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 30. กรอบแนวคิด TPACK TPACK Framework Shulman (1986) Mishra & Koehler (2006) Mishra, P. & Koehler, M.J. (2006). Technological Pedagogical Content Knowledge: A Framework for Teacher Knowledge. Teacher College Record, Vol. 108 (6),1017-1054
  • 31. Technological Knowledge ความรู้เทคโนโลยี Pedagogical Knowledge ความรู้วิธีการสอน Content Knowledge ความรู้เนื้อหาวิชา TPK TCK PCK TPACK TK PK CK Pedagogical Content Knowledge ความรู้วิธีการสอนเนื้อหา Technological Content Knowledge ความรู้เนื้อหาที่ เกี่ยวกับเทคโนโลยี Technological Pedagogical Knowledge ความรู้วิธีสอน ที่ใช้เทคโนโลยี Technological Pedagogical Content Knowledge: TPACK TPACK FRAMEWORK (Mishra & Koehler, 2006) Teacher’ TPACK = Teacher’ Ability กรอบแนวคิด TPACK จะช่วยให้ครูมีความรู้ที่ ชัดเจนในการจัดการเรียนการสอนใน 3 ส่วน คือ เมื่อนาความรู้ทั้ง 3 ส่วน มาบูรณาการจะช่วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาไปพร้อมๆ กับความรู้และทักษะ ทางเทคโนโลยี Teacher’ TPACK จะเน้นในการพัฒนาศักยภาพ ครูในการวิเคราะห์ แจกแจง และเพิ่มเติมเนื้อหา สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ TCK.. PCK.. (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 32. ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบแนวคิด TPACK วิชา สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์) ชั้น ม.3 ตัวชี้วัด ส 5.1.1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ TK PK CK ความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Informative System: GIS) ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ สอนแบบสืบสอบ (Inquiry Based Learning) TPK TCK PCK TPACK การสืบสอบ การวิเคราะห์ การนาเสนอ Teacher’ TPACK ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ ในการจัดระบบและเสนอข้อมูล สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสอนแบบสืบสอบ ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวน การสอนแบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบและ นาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการสอน แบบสืบสอบเพื่อการเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดระบบ และการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 33. (Reigeluth, 1980, 1983, 1999; Dick, Carey and Carey, 2009; Jackson, 1993; Marek, 1997; Chen, 2002; วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ คงเผ่า, 2548) ความสาคัญของทฤษฎีขยายความคิด ขั้นตอนการจัดการเนื้อหา ตามแนวทฤษฎีขยายความคิด 1. พิจารณาคัดเลือกเนื้อหา 2. จัดทาโครงสร้างเนื้อหา 3. จัดวางเนื้อหาหลักให้เป็นระบบ 4. เพิ่มเติมเนื้อหาสนับสนุน 5. จัดเนื้อหาลงในบทเรียนระดับต่างๆ 6. จัดลาดับเนื้อหาภายในบทเรียนย่อยๆ ทฤษฎีขยายความคิด Elaboration Theory 1. ช่วยให้ครูสามารถเลือกและวิเคราะห์เนื้อหาที่สาคัญ และเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ 2. ช่วยให้ครูสามารถจัดลาดับความสาคัญและเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของเนื้อหาในระดับต่างๆ 3. ช่วยให้ครูสามารถจัดทาโครงสร้างเนื้อหาได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว เหมาะสมและถูกต้อง 4. ช่วยให้ครูสามารถกาหนดเนื้อหาที่เป็น - เนื้อหาความรู้เดิมที่จาเป็น - เนื้อหลัก - เนื้อหารอง - เนื้อหาย่อย - เนื้อหาอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง - เนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความรู้ที่กว้างขวาง และลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น 5. ช่วยให้ครูมีความชัดเจนในการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับบทเรียนย่อยๆ (Charles M. Reigeluth, 1980) “แนวทางการเลือกใช้กลยุทธ์ในการจัดการ เนื้อหาความรู้ในรายวิชาต่างๆ”
  • 34. (Reigeluth, 1980, 1983, 1999; Dick, Carey and Carey, 2009; Jackson, 1993; Marek, 1997; Chen, 2002; วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ คงเผ่า, 2548) 1. พิจารณาคัดเลือกเนื้อหา 2. จัดทาโครงสร้างเนื้อหา 3. จัดวางเนื้อหาหลักให้เป็นระบบ 4. เพิ่มเติมเนื้อหาสนับสนุน 5. จัดเนื้อหาลงในบทเรียนระดับต่างๆ 6. จัดลาดับเนื้อหาภายในบทเรียนย่อยๆ ทฤษฎีขยายความคิด Elaboration Theory (Charles M. Reigeluth, 1980) 1. โครงสร้างเนื้อหาเชิงมโนทัศน์ (Conceptual structure) 2. โครงสร้างเนื้อหาเชิงทฤษฎี (Theoretical structure) 3. โครงสร้างเนื้อหาเชิงกระบวนการ (Procedural structure) โครงสร้างเนื้อหา กลยุทธ์การจัดลาดับเนื้อหา 1. การจัดลาดับของการขยายความคิด 2. จัดลาดับเนื้อหาพื้นฐานที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ 3. สรุปใจความสาคัญของเนื้อหา 4. สังเคราะห์เนื้อหา 5. เปรียบเทียบกับความรู้เดิม 6. การใช้กลยุทธ์กระตุ้นทางปัญญา 7. ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ของตนเอง ขั้นตอนการจัดการเนื้อหา ตามแนวทฤษฎีขยายความคิด
  • 35. บทเรียน 1 บทเรียน 2 บทเรียน 3 บทเรียน 4 ทฤษฎีสี โครงสร้างเนื้อหา : เชิงมโนทัศน์ (Conceptual Structure) แม่สี วัตถุธาตุ แม่สี ของแสง จิตวิทยาเกี่ยวกับสี สารจาก ธรรมชาติ สาร สังเคราะห์ แสง พืช สัตว์ แร่ธาตุ สีเอกรงค์ สีส่วนรวม ความเข้ม ของสี สี ตัดกัน สีร้อน สีเย็น ความเป็นมาของสี แม่สี คุณลักษณะของสี 1 2 3 4 1.1 1.2 1.3 1.2.1 1.2.2 1.2.3 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 โครงสร้างเนื้อหาเชิงมโนทัศน์ (Conceptual structure) 1. แสดงเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กันตามลาดับจาก เนื้อหาหลัก (superordinate) เนื้อหารอง (coordinate) และ เนื้อหาย่อย (subordinate) ซึ่งจะแสดงความสัมพันธ์กันในแนวตั้ง ทิศทางจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา 2. แสดงเนื้อหาที่ต้องเรียนรู้อย่างเป็นลาดับขั้นตอน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์กันในแนวนอน 1 2 3 4 พัฒนาความรู้ความเข้าใจ ตัวอย่าง (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 36. เป้าหมาย โครงสร้างเนื้อหา : เชิงกระบวนการ (Procedural Structure) ขั้นตอนย่อย 2.3 ขั้นที่ 4 ขั้นตอนย่อย 2.1 ขั้นตอนย่อย 2.2 ทักษะย่อย 1.1 ทักษะย่อย 1.3 ทักษะพื้นฐาน 1.2 ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ทักษะย่อย 2.2.1 ทักษะย่อย 2.2.2 ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6 โครงสร้างเนื้อหาเชิงกระบวนการ (Procedural structure) แสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนในกระบวนการ โดยเริ่มต้นจากทักษะย่อย และทักษะพื้นฐานที่ต้องมีก่อนเรียน ไปสู่ ขั้นตอนหลัก และไปสู่ขั้นตอนต่อไป บางขั้นตอนอาจมีขั้นตอนย่อยที่ต้องปฏิบัติก่อนไปยังขั้นตอนต่อไป ซึ่งในแต่ละขั้นตอนย่อย อาจมี ทักษะย่อยอื่นๆ ด้วย ทิศทางจะเริ่มจากล่างขึ้นบนและจากซ้ายไปขวา ทักษะที่ต้องมีมาก่อน การเรียนในเนื้อหานี้ พัฒนาทักษะ-การปฏิบัติ ตัวอย่าง (Dick, Carey and Carey, 2009 p.84) (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 37. โครงสร้างเนื้อหา : เชิงกระบวนการ (Procedural Structure) สอดแม่แรง เข้าใต้ ท้องรถ ใส่ยาง 4 กาหนดวิธี การใช้ แม่แรง หาจุดยก เพื่อสอด แม่แรง เตรียมยางดี และเครื่องมือ 1 ยกรถ 2 ถอดยาง 3 เอารถลง 5 การเปลี่ยนยางรถยนต์ ยกรถ ด้วย แม่แรง บล็อคยาง ทั้งหน้า และหลัง คลาย น็อต แม่แรง ดูว่ารถ และแม่แรง มั่นคง ใช่ ไม่ 3 ถอด น็อต ใส่ น็อต ถอด ยาง ใส่ ยาง พัฒนาทักษะ-การปฏิบัติ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม สามารถเปลี่ยนยางรถยนต์ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ภาระงาน / เงื่อนไข หลังจากการเรียน ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนยางรถยนต์ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน มีความปลอดภัย และจัดเก็บ อุปกรณ์ที่ใช้ได้อย่างเรียบร้อย ภายในเวลาไม่เกิน 20 นาที ตัวอย่าง (Dick, Carey and Carey, 2009 p.87) (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 38. การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning (Bonwell and Eison, 1991; Bonwell, 2000) 1. การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 2. การเรียนแบบรู้จริง (Mastery Learning) 3. การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful Verbal Learning) 4. การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) 5. การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 6. การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Performance-Based Learning) หลักการใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ในการเรียนรู้แบบกลับด้าน 1. ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. เน้นการใช้ความคิดระดับสูง 3. เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน / ร่วมมือ 4. ผู้เรียนดูแลและตรวจสอบการเรียนรู้ ของตนเอง 5. เรียนรู้จากการปฏิบัติ 6. ขยายความรู้ความเข้าใจจากเนื้อหาที่ เรียนมาก่อนหน้า เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มุ่งให้ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันในชั้นเรียนโดยไม่ใช่นั่งฟัง การบรรยายเพียงอย่างเดียว เน้นการคิดระดับสูง โดยครูเปลี่ยน บทบาทเป็นจากผู้ให้ความรู้เป็นผู้สนับสนุนและช่วยเหลือในการ เรียนรู้ของผู้เรียน กลยุทธ์การเรียนรู้แบบเชิงรุก (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2557)
  • 39. หน้า 145 Center for Research on Learning and Teaching, University of Michigan
  • 40. Writing (Minute paper) Large group discussion Self-assessment Writing (Minute paper) Think-pair-share Informal group Triad group Peer review Case studies Group evaluations Interactive lecture Brains storming Hands-on technology Role playing Game or simulation Forum theater Inquiry learning Jigsaw discussion Experiential Learning (Site visits)Pause and reflections Collaborative – Cooperative learning Complex learningIndividual or Group การเรียนรู้ เชิงรุก Active Learning (Center of Research on Learning and Teaching, University of Michigan; 2014; Rochester Institute of Technology, 2013; Center of Teaching and Learning, University of Minnesota, 2014) (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 42. กลยุทธ์ที่สามารถนามาใช้ ได้แก่ การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การสอนบนเว็บ (Web-based Instruction) การเรียนรู้ อิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน (Computer support collaborative learning: CSCL) ฯลฯ (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 44. 1. รูปแบบฯ 3. ครูมัธยมศึกษาฯ ควรมีองค์ประกอบและขั้นตอนอย่างไร 2. การใช้รูปแบบ สามารถพัฒนาความสามารถของ ครูมัธยมศึกษาได้อย่างไรบ้าง มีความคิดเห็นต่อการนา รูปแบบไปใช้อย่างไรบ้าง คาถามวิจัย
  • 45. 1. เพื่อสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการ เรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับ ครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยาย ความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน วัตถุประสงค์ของการวิจัย
  • 46. 1. ครูกลุ่มทดลองฯ มีผลการทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองใช้ รูปแบบฯ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ครูกลุ่มทดลองฯ มีคะแนนจากการประเมิน คุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ที่กาหนดโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับดี สมมุติฐานของการวิจัย P ≤ .05 Post-test > Pre-test 5 4 3 2 1
  • 47. ขอบเขตของการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 3กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น เป็นครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษา สังกัด สพฐ.และ สช. จานวน 350 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ความคิดเห็น ตรวจเครื่องมือ และประเมินรูปแบบ จานวน 19 คน 3. กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้รูปแบบฯ เป็นครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จานวน 8 คน ให้ความคิดเห็น ตรวจเครื่องมือ รับรองรูปแบบ ศึกษารูปแบบ พัฒนาแผนการสอน ทดลองสอน
  • 48. ขอบเขตของการวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ การใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด ตัวแปรตาม คือ ความสามารถด้านการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด โดยแบ่งเป็น 3 ด้านดังนี้ 1. ด้านการออกแบบการเรียนการสอน 2. ด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 3. ด้านการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอน ผลการทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ ในการออกแบบการเรียนการสอนฯ ผลการประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็นของครูกลุ่มทดลอง จากการนารูปแบบฯ ไปใช้สอน1 2 3 สมมุติฐานงานวิจัย (1) สมมุติฐานงานวิจัย (2)
  • 50. 1 การวิจัยเชิงสารวจ การพัฒนารูปแบบฯ การวิจัยเชิงทดลอง การรับรองรูปแบบฯ 2 3 4 ศึกษา-รวบรวม ความคิดเห็น เกี่ยวกับการพัฒนา รูปแบบฯ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 6 คน สอบถามครูมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 350 คน แนวทางการพัฒนารูปแบบฯ แนวทางการพัฒนาครูผู้สอนฯ ปัญหา/อุปสรรค/ข้อจากัด ปัจจัยสาคัญ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ดาเนินการสร้าง รูปแบบการออกแบบ การเรียนการสอนแบบ การเรียนรู้กลับด้าน ฯ ผู้เชี่ยวชาญประเมินรูปแบบฯ คู่มือและเครื่องมือ 5 คนครูทดลองศึกษา 3 คน พัฒนารูปแบบฯ และคู่มือการใช้งานฯ (ร่าง) รูปแบบฯ คู่มือการใช้(ร่าง)รูปแบบฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การรับรองจากผู้เชี่ยวชาญ Try-out 1:1 ทดลองใช้ รูปแบบการออกแบบ การเรียนการสอนแบบ การเรียนรู้กลับด้านฯ การรับรอง รูปแบบการออกแบบ การเรียนการสอนแบบ การเรียนรู้กลับด้านฯ ครูกลุ่มทดลองใช้รูปแบบฯ 8 คน ชี้แจงและสอบก่อนการทดลอง ครูกลุ่มทดลองฯ พัฒนาแผนฯ ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจแผนฯ 3 คน ครูกลุ่มทดลองฯ สอนจริง 8 คน ความรู้ความเข้าใจ ในการออกแบบ การสอนฯ ผลประเมินแผนฯ ความคิดเห็นของครู ความคิดเห็นนักเรียน รวบรวมข้อมูลจาก การทดลองใช้รูปแบบ และผลการประเมิน ต่างๆ นาเสนอ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบฯ 5 คน ผลการรับรองรูปแบบฯ จากผู้ทรงคุณวุฒิ รูปแบบการออกแบบ การเรียนการสอนฯ ผล ผล ผล ผล 16 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 16 สัปดาห์ 4 สัปดาห์ Research & Development / Mixed-Method One group pretest-posttest design วิธีดาเนินการวิจัย (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 51. ขั้นที่ 1 การศึกษาความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ ผลสรุปข้อมูล เชิงคุณภาพ พัฒนาเครื่องมือ (แบบสอบถาม) เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ จากครูมัธยมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณ ผลสรุปวิจัยเชิงปริมาณ จากครูมัธยมศึกษา ตีความ-สรุปผลวิจัย เชิงคุณภาพ+ปริมาณ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมวิธี (Mixed-method) โดยใช้ ตามแบบแผนการสารวจ : รูปแบบการพัฒนาเครื่องมือ (Exploratory Design: Instrument Development Model) ของ Creswell และ Clark (2007) มี 2 ขั้นตอนคือ 1. สัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน (qual) 2. สอบถามความคิดเห็นจากครูมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 500 คน (QUAN) (qual) (qual) (qual) (Quan) (Quan)(Quan) Quan)(qual
  • 52. ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 1. การเลือกเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน 2. การเลือกสื่อและเทคโนโลยี 3. การเลือกใช้กลยุทธ์การเรียนการสอน 4. การบูรณาการเนื้อหาตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด 5. องค์ประกอบและขั้นตอนของการออกแบบ 6. ปัจจัยที่เอื้อต่อความสาเร็จ 7. สิ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน 8. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของครูผู้สอน 9. การเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน 10. การจัดทาคู่มือการใช้รูปแบบฯ 1. สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 คน - ติดต่อสัมภาษณ์เป็นรายบุคล - ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 15 วัน - ใช้แบบบันทึกและบันทึกเสียง 1. เป็นผู้สอน หรือมีประสบการณ์ในการพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน การเรียนแบบผสมสาน การสอนบนเว็บ การพัฒนาหลักสูตรและการสอน ทั้งในระดับ มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือ 2. เป็นผู้สอนในระดับอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือ 3. เป็นผู้มีผลงานด้านการวิจัย หรือเขียนหนังสือตาราเรียนในสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือ 4. มีตาแหน่งทางวิชาการ หรือมีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตในสาขาที่เกี่ยวข้อง
  • 53. พัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็นครูมัธยมศึกษา แบบสอบถามความคิดเห็นฯ แบ่งออกเป็น 4 ตอนได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สภาพการณ์การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน (13 ข้อ) ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน (29 ข้อ) ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ แบบสอบถามความคิดเห็นฯ มีทั้งหมด 12 หน้า มี 3 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบประมาณค่า (Rating Scale) และแบบปลายเปิด (Open-ended) การหาคุณภาพของเครื่องมือ นาแบบสอบถามฯ เสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาในด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) หลังจาก ผ่านการตรวจพิจารณาจากอาจารย์ที่ปรึกษาและแก้ไขปรับปรุงแล้วนาไปทดลองให้ครูระดับมัธยมศึกษาฯ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 5 คน อ่านเพื่อตรวจสอบความเข้าใจด้านภาษา คาถาม และสานวนที่ใช้ในแบบสอบถามฯ จากนั้นนาแบบสอบถามฯ เสนอ ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 คน เพื่อตรวจพิจารณาด้านความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิที่เลือกเป็นครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการ สอนระดับมัธยมศึกษามากว่า 20 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 1 คน สาขาวิชาวิจัยและพัฒนา การศึกษา 1 คน และสาขาวิชาการบริหารการศึกษา 1 คน โดยใช้แบบประเมินความสอดคล้องและความตรงเชิงเนื้อหารายข้อฯ ของ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการประเมินแบบสอบถามฯ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency: IOC) เท่ากับ 1.0
  • 54. 2. สอบถามความคิดเห็นครูมัธยมศึกษาจานวน 500 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร เป็นครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ทั่วประเทศ จานวน 111,424 คน และครูที่สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ทั่วประเทศ จานวน 25,176 คน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557) รวม ทั้งหมด 136,600 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster sampling) จานวนกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงจากตารางสาเร็จของ Yamane (1973) ที่ความคลาดเคลื่อน 5% ใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน โดยแบ่งตามภูมิภาคต่าง ๆ 5 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ ภาคละ 10 โรงเรียน (แบ่งเป็นโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 5 โรงเรียน และสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 5 โรงเรียน) รวมทั้งหมด 50 โรงเรียน เก็บข้อมูล โรงเรียนละ 10 คน รวมจานวนแบบสอบถามฯ ที่ส่งไปทั้งหมด 500 ชุด ได้รับกลับคืน 370 ชุด คิดเป็นร้อยละ 74.0 แต่มีแบบสอบถามที่มี ข้อมูลสมบูรณ์ครบถ้วนเพียง 350 ชุด คิดเป็นร้อยละ 70 จากที่ส่งไป แต่ถ้าคิดตามจานวนที่ต้องการ (400 ชุด) จะได้แบบสอบถามฯ กลับคืนคิดเป็นร้อยละ 87.5
  • 55. 1. การวิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม 2. การเลือกเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน 3. สื่อการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไปศึกษาก่อนเรียน 4. ลักษณะการเรียนรู้ที่เหมาะสม 5. เทคโนโลยีที่ครูนามาใช้จัดการเรียนการสอน 6. กิจกรรมที่ครูจัดให้กับผู้เรียนก่อนเข้าชั้นเรียน 7. กิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน 8. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของครูผู้สอน 9. การเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน 10. คู่มือในการออกแบบการเรียนการสอน ผลการสอบถามความ คิดเห็นครูมัธยมศึกษา จานวน 350 คน ความคิดเห็นจากครูมัธยมศึกษา ภาคเหนือ 98 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 68 คน ภาคกลาง 69 คน ภาคตะวันออก 57 คน ภาคใต้ 58 คน 19.6% 13.6% 13.8% 11.4% 11.6% ครูสังกัด สช. 193 คน คิดเป็น 55.1% ครูสังกัด สพฐ. 157 คน คิดเป็น 44.9% ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 90 วัน ส่งแบบสอบถาม 500 ชุด ได้รับคืน 350 ชุด (70%)
  • 57. ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิด ทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ การเรียนแบบ ผสมผสาน Blended Learning กรอบแนวคิด ทีแพค TPACK framework ทฤษฎีขยายความคิด Elaboration theory การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผลการสอบถามความคิดเห็นครู มัธยมศึกษาจานวน 350 คน ผลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 6 คน รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน Instructional Design Model การเรียนรู้กลับด้าน Flipped Learning รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด สาหรับครูมัธยมศึกษา สังกัดสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
  • 58. รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพค และทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ หลักการสาคัญของรูปแบบฯ 1. จัดการเรียนการสอนในลักษณะผสมผสานระหว่างการเรียนการสอน ในชั้นเรียนกับการเรียนแบบออนไลน์ 2. วิเคราะห์และจัดการเนื้อหาโดยบูรณาการความรู้เทคโนโลยีเข้าไปใน การเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา 3. จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อช่วยในการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ของรูปแบบฯ 1. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนและออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดของครูมัธยมศึกษาฯ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพครูมัธยมศึกษาฯ ในด้านการออกแบบและพัฒนาแผนการจัดเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
  • 59. กรอบแนวคิดในการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้าน ตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ องค์ประกอบของรูปแบบฯ 1. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning environments) 2. ผู้เรียน (Learners) 3. ผู้สอน (Instructors) 4. ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร (Interaction and Communication) 5. จุดประสงค์และเนื้อหา (Objectives and Contents) 6. กลยุทธ์การเรียนการสอน (Instructional Strategies) 7. สื่อและเทคโนโลยี (Media and Technology) 8. การวัดและประเมินผล (Evaluation) (กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์, 2558)
  • 63. การประเมินรับรองรูปแบบฯ ผลการประเมินรับรอง รูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน ความเหมาะสมขององค์ประกอบ ของรูปแบบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑿 = 4.7, SD = .42) ความเหมาะสมของขั้นตอนของ รูปแบบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑿 = 4.7, SD = .55) ผู้เชี่ยวชาญซึ่งทาหน้าที่ตรวจพิจารณาและประเมินรับรองรูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอนฯ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจงผ่านการพิจารณาของอาจารย์ที่ ปรึกษา โดย ทั้ง 5 คน เป็นผู้สอนในระดับอุดมศึกษา สาขาคณะครุศาสตร์- ศึกษาศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ทุกคนมีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตใน สาขาที่เกี่ยวข้อง และ 4 ใน 5 คนมีตาแหน่งทางวิชาการเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์
  • 64. ขั้นที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบ แนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิดสาหรับครูมัธยมศึกษาฯ สอบก่อนการทดลอง ให้เงื่อนไขการทดลอง ศึกษา-พัฒนาแผนฯ และนาแผนไปใช้สอน สอบหลังการทดลอง ตีความ สรุปผลวิจัย เชิงปริมาณ และคุณภาพ Based on QUAN (qual) results สังเกตช่วงพัฒนาแผนฯ และช่วงนาแผนฯ ไปใช้สอน บันทึกหลังสอน/สอบถาม/สัมภาษณ์ครู-นักเรียน/ After Action Review: AAR (qual) เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวสอบก่อนหลังการทดลอง (one group pretest-posttest design) ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมวิธี (Mixed-method) ตามแบบแผน รองรับภายใน : รูปแบบการทดลอง (Embedded Experimental Model) ของ Creswell และ Clark (2007) Quan (O2)Quan (O1) แบบแผนการทดลอง แบบแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง การสอบก่อน การทดลอง ตัวแปร จัดกระทา การสอบหลัง การทดลอง E O1 X O2 มีขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย 4 ขั้นตอน
  • 65. ผลการประเมิน ความสอดคล้องและความตรง เชิงเนื้อหาของแบบทดสอบฯ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การออกแบบการเรียนการสอนแบบ การเรียนรู้กลับด้าน 65 ข้อ (IOC = .88) ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณาแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจฯ ระยะเวลาตรวจพิจาณา 15 วัน หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้กลุ่มตัวอย่างทดลองสอบ (try-out) จานวน 40 คน ผลการวิเคราะห์ค่าความยาก (p) และอานาจจาแนก (r) รายข้อ ค่าความยากเฉลี่ย 0.49 ค่าอานาจจาแนกเฉลี่ย 0.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.30 โดยใช้สูตร KR-20 ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบฯ เท่ากับ .82 ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 คน 2 คนเป็นครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการสอน ระดับมัธยมศึกษามากกว่า 20 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา หลักสูตรและการสอน 1 คน สาขาวิจัยและพัฒนาการศึกษา 1 คน อีก 1 คนเป็นศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ มีวุฒิการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา การพัฒนาแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจในการออกแบบการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด
  • 66. ขั้นตอนที่ 1 สอบก่อนการทดลอง ชี้แจงและแจกคู่มือการใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนฯ
  • 67. ขั้นที่ 2 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้กลับด้านตามกรอบแนวคิดทีแพคและทฤษฎีขยายความคิด 1. ศึกษารูปแบบและขั้นตอนการออกแบบฯ 2. วิเคราะห์และออกแบบการเรียนการสอน 3. พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ 4. พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล 5. พัฒนาสื่อและวัสดุการเรียนการสอน จัดทาวีดีทัศน์นาเสนอเนื้อหาก่อนเรียน