SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
 
 
ถือศีลอดเราะมะฎอนดวยศรัทธาและหวังการตอบแทน
[ ไทย – Thai – ‫] ﺗﺎﻳﻼﻧﺪي‬  
 
อัสมัน แตอาลี
 
ตรวจทานโดย : ซุฟอัม อุษมาน 
2011 – 1432 
 
 
 
 
 
 
﴿‫واﺣﺘﺴﺎﺑﺎ‬ ‫إﻳﻤﺎﻧﺎ‬ ‫رﻣﻀﺎن‬ ‫ﺻﺎم‬ ‫ﻣﻦ‬﴾
»‫اﺤﻛ‬ ‫ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ‬‫ﺎﻳﻼﻧﺪﻳ‬‫ﺔ‬«
‫ﻋﺰﻣﺎن‬‫ﻲﻠﻋ‬
‫ﻣﺮاﺟﻌﺔ‬:‫ﻋﺜﻤﺎن‬ ‫ﺻﺎﻲﻓ‬
2011 – 1432
3 
 
ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ
“ถือศีลอดเราะมะฎอนดวยศรัทธาและหวังการตอบแทน”
คุฏบะฮฺวันศุกรที่ 5 เราะมะฎอน ฮ.ศ. 1429 /5 กันยายน 2551
ณ มัสยิดวิทยาลัยอิสลามศึกษา มอ.ปตตานี
โดย อ.อัสมัน แตอาลี
‫إن‬‫اﺤﻟﻤﺪ‬‫ﷲ‬‫ﺤﻧﻤﺪه‬‫وﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ‬‫وﻧﺴﺘﻐﻔﺮه‬‫وﻧﺘﻮب‬‫ﻪ‬ ‫إ‬،‫وﻧﻌﻮذﺑﺎﷲ‬
‫ﻣﻦ‬‫ﺮﺷور‬‫أﻧﻔﺴﻨﺎ‬‫وﺳﻴﺌﺎت‬‫أﻋﻤﺎﺠﺎ‬،‫ﻣﻦ‬‫ﻳﻬﺪه‬‫اﷲ‬‫ﻓﻼ‬‫ﻣﻀﻞ‬‫وﻣﻦ‬
‫ﻳﻀﻠﻞ‬‫ﻓﻼﻫﺎدي‬،‫وأﺷﻬﺪ‬‫أن‬‫ﻻ‬‫ﻪﻟ‬‫اﻻ‬‫اﷲ‬‫وﺣﺪه‬‫ﻻ‬‫ﺮﺷﻳﻚ‬،
‫وأﺷﻬﺪ‬‫أن‬‫ﺤﻣﻤﺪا‬‫ﻋﺒﺪه‬‫ورﺳﻮ‬،‫اﻢﻬﻠﻟ‬‫ﺻﻞ‬‫ﺒﻟ‬‫ﻧﺒﻴﻨﺎ‬‫ﺤﻣﻤﺪ‬‫وﺒﻟ‬‫آ‬
‫وﺻﺤﺒﻪ‬‫وﻣﻦ‬‫دﺨ‬‫ﺑﺪﻋﻮﺗﻪ‬‫إﻰﻟ‬‫ﻳﻮم‬‫ﻳﻦ‬ ‫ا‬.
‫أﻣﺎ‬،‫ﺑﻌﺪ‬‫ﻓﻘﺎل‬‫اﷲ‬‫ﺗﻌﺎﻰﻟ‬:‫ﻳﺎ‬‫أﻳﻬﺎ‬‫ﻳﻦ‬ ‫ا‬‫آﻣﻨﻮا‬‫اﺗﻘﻮا‬‫اﷲ‬‫ﺣﻖ‬‫ﺗﻘﺎﺗﻪ‬
‫وﻻ‬‫ﺗﻤﻮﺗﻦ‬‫إ‬‫ﻻ‬‫وأﻧﺘﻢ‬‫ﻣﺴﻠﻤﻮن‬.
พี่นองมุสลิมที่เคารพรักทั้งหลาย
อัลหัมดุลิลลาฮฺ พวกเราทุกคนตองขอชุกูรตออัลลอฮฺ สุบหา
นะฮูวะตะอาลา ที่พระองคทรงเมตตาใหเราทุกคนไดมาใชชีวิตในเดือน
เราะมะฎอนในปนี้ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งพวกเราทุกคนตางก็เฝารอคอยเดือนที่
เปยมไปดวยความบะเราะกะฮฺนี้มาตลอดทั้งป เปนชวงวันที่เราทุกคนตาง
4 
 
ก็นอมรับคําบัญชาจากองคอัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา เพื่อทําอิบา
ดะฮฺอัศศิยามหรือการถือศีลอด ซึ่งเปนหนึ่งในรุกนอิสลามหาประการที่
มุสลิมทุกคนตองยึดถือปฏิบัติ
ในชวงกลางวันเราทุกคนตางก็อดอาหาร อดน้ําและละเวนทุก
สิ่งทุกอยางที่จะทําใหการถือศีลอดเปนโมฆะ และในชวงกลางคืนเราก็ลุก
ขึ้นทําการละหมาดตะรอวีหฺหลังจากละหมาดอิชาอ การกระทําดังกลาวนี้
หาใชเปนการทรมานตัวเองไม หากแตเปนการถวายความจงรักภักดี
ตออัลลอฮฺพระผูเปนเจาผูยิ่งใหญ ผูอภิบาลสากลจักรวาลเทานั้น
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
เราทุกคนตางก็มีความรูสึกปติยินดีและมีความสุขกับการมา
เยือนของเดือนเราะมะฎอน และนี่ก็เปนความรูสึกที่สอดคลองกับหะดีษ
ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม บทหนึ่ง ทานนบีไดกลาววา
»ْ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬
َّ
‫ﻞ‬َ‫ﺟ‬َ‫و‬ َّ‫ﺰ‬َ‫ﻋ‬ ُ‫اﷲ‬
َ
‫ض‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ ،
ٌ
‫ك‬َ‫ﺎر‬َ‫ﺒ‬ُ‫ﻣ‬ ٌ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬ ،
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬ ْ‫ﻢ‬
ُ
‫ﺎﻛ‬
َ
‫ﺗ‬
َ
‫أ‬
ُّ
‫ﻞ‬
َ
‫ﻐ‬
ُ
‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ِ‫ﻢ‬
ْ
‫ﻴ‬ِ‫ﺤ‬َْ
‫اﺠﻟ‬ ُ‫اب‬َ‫ﻮ‬ْ‫ﺑ‬
َ
‫أ‬ ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ُ‫ﻖ‬
َ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻐ‬
ُ
‫ﻳ‬َ‫و‬ ،ِ‫ء‬‫ﺎ‬َ‫ﻤ‬ َّ‫اﻟﺴ‬ ُ‫اب‬َ‫ﻮ‬ْ‫ﺑ‬
َ
‫أ‬ ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ُ‫ﺢ‬َ‫ﺘ‬
ْ
‫ﻔ‬
ُ
‫ﻳ‬ ،
ُ
‫ﻪ‬َ‫ﺎﻣ‬َ‫ﻴ‬ ِ‫ﺻ‬
ِ‫ﻣ‬ ٌ ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﺧ‬ َ ِ‫ﻲﻫ‬
ٌ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ ِ ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ِ‫ﷲ‬ ، ِ
ْ
‫ﻦﻴ‬ِ‫ﺎﻃ‬َ‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﺸ‬
ُ
‫ة‬
َ
‫د‬َ‫ﺮ‬َ‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬َ‫م‬ِ‫ﺮ‬ُ‫ﺣ‬ ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬ ،ٍ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬ ِ‫ﻒ‬
ْ
‫ﻟ‬
َ
‫أ‬ ْ‫ﻦ‬
َ‫م‬ِ‫ﺮ‬ُ‫ﺣ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻫ‬َ ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﺧ‬«)‫ﻲﻓ‬ ‫ﻛﻤﺎ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ، ‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫رواه‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬
‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫ﺳﻦﻨ‬ ‫وﺿﻌﻴﻒ‬٢١٠٦(
5 
 
ความวา “เราะมะฎอนไดมาเยือนพวกทานทั้งหลายแลว เดือนแหงความ
ประเสริฐ อัลลอฮฺทรงใชใหพวกเจาถือศีลอดในเดือนนี้ บรรดาประตู
สวรรคจะถูกเปดไว และบรรดาประตูนรกก็ถูกปดลง บรรดามารราย
ชัยฏอนก็จะถูกลามโซไว สําหรับอัลลอฮฺในเดือนนี้ มีอยูคืนหนึ่งที่(การอิ
บาดะฮฺในคืนนั้น)ประเสริฐกวา(การอิบาดะฮฺใน)หนึ่งเดือน ผูใดที่ไมไดรับ
ความดีของคืนดังกลาว แทจริงเขาก็จะ(เปนผูที่)ถูกหามจากความดีงาม”
(บันทึกโดย อัน-นะสาอียฺ, อัล-อัลบานียฺ วินิจฉัยวาเปนหะดีษเศาะฮีหฺ ดู
เศาะฮีหฺ วะ เฎาะอีฟ สุนัน อัน-นะสาอียฺ หมายเลข 2106)
ทานอิบนุ เราะญับ ไดกลาววา “อุละมาอบางทานระบุวา หะ
ดีษนี้เปนการแสดงความยินดี (ตะฮฺนิอะฮฺ) ระหวางผูศรัทธาดวยกัน เนื่อง
ในโอกาสการมาเยือนของเดือนเราะมะฎอน จะไมใหผูศรัทธาแสดงความ
ยินดีไดอยางไร ในเมื่อประตูสวรรคไดถูกเปดเตรียมไวแลวสําหรับพวก
เขา? ในขณะที่ประตูนรกก็ถูกลงกลอนและปดลง อีกทั้ง มารรายชัยฏอน
ก็ถูกลามโซไว ? จะหาโอกาสและเวลาใดอีกเลาที่จะมีความประเสริฐ
เสมือนกับเวลาในเดือนนี้”
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
อิบาดะฮฺในเดือนเราะมะฎอนตามที่เราเคยไดศึกษาและเรียนรู
มาก็มีหลายประการดวยกัน แตที่หลักๆที่เราปฏิบัติกันเฉพาะเดือนนี้ก็มี
6 
 
สองประการ ประการแรกคืออัศ-ศิยามหรือการถือศีลอดในชวงกลางวัน
ซึ่งถือเปนการทําอิบาดะฮฺที่เปนฟรฎอัยนฺหรือวาญิบ ศาสนกิจบังคับที่
จําเปนตองทํา และอีกประการหนึ่งคือการกิยามหรือการละหมาดในยาม
ค่ําคืนไมวาจะเปนละหมาดตะรอวีหฺ ตะฮัจุด หรือวิติรฺ แต ณ ที่นี้
กระผมของพูดถึงการละหมาดตะรอวีหฺ เนื่องจากการละหมาดดังกลาวมี
เฉพาะในเดือนเราะมะฎอนเทานั้น ซึ่งถือเปนการละหมาดสุนัตที่มี
ความสําคัญอยางยิ่ง
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
บรรดาอุละมาอไดใหคํานิยาม ศิยามเราะมะฎอน ไววา
หมายถึง การงดหรือละเวนจากการกระทําตางๆ ที่จะทําใหศิยามเปน
โมฆะ โดยมีการตั้งเจตนาในตอนกลางคืน และการงดนั้นจะเริ่มตั้งแต
เวลารุงอรุณจนถึงเวลาดวงอาทิตยตก
ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
»ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬ْ‫ﻢ‬
َ
‫ﻟ‬
ْ
‫ﺖ‬ِّ‫ﻴ‬َ‫ﺒ‬ُ‫ﻳ‬َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬
َ
‫ﻞ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻗ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺠ‬
َ
‫ﻔ‬
ْ
‫اﻟ‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﻓ‬َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِ‫ﺻ‬ُ َ
«)‫رواه‬، ‫اﻟﻨﺴﺎ‬
‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫اﻷﻛﺎ‬‫ﻛﻤﺎ‬‫ﻲﻓ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫وﺿﻌﻴﻒ‬‫ﺳﻦﻨ‬‫اﻟﻨﺴﺎ‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬
٢٣٣١(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ไมไดตั้งเจตนาทําการถือศีลอดไวในเวลากลางคืน
ก็ถือวาไมมีการถือศีลอดสําหรับเขา(สําหรับวันนั้น)” (บันทึกโดย อัน-นะ
7 
 
สาอียฺ, อัล-อัลบานียฺ วินิจฉัยวาเปนหะดีษเศาะฮีหฺ ดู เศาะฮีหฺ วะ เฎาะ
อีฟ สุนัน อัน-นะสาอียฺ หมายเลข 2331)
อัลลอฮฺไดตรัสวา
﴿
ْ
‫وا‬
ُ ُ
‫ك‬َ‫و‬
ْ
‫وا‬ُ‫ب‬َ ۡ
‫ٱش‬َ‫و‬ٰ َّ‫ت‬َ‫ح‬َ َّ
‫ي‬َ‫ب‬
َ
‫ت‬َ‫ي‬ُ‫م‬
ُ
‫ك‬
َ
‫ل‬ُ‫ط‬ۡ‫ي‬َ ۡ
‫ٱل‬
ُ
‫ض‬َ‫ي‬ۡ‫ب‬
َ ۡ
‫ٱل‬َ‫ِن‬‫م‬ِ‫ط‬ۡ‫ي‬َ ۡ
‫ٱل‬
ِ‫د‬َ‫و‬ۡ‫س‬
َ ۡ
‫ٱل‬َ‫ِن‬‫م‬ِۖ‫ر‬ۡ‫ج‬
َ
‫ف‬
ۡ
‫ٱل‬َّ‫م‬
ُ
‫ث‬
ْ
‫وا‬ُّ‫ِم‬‫ت‬
َ
‫أ‬َ‫ام‬َ‫ي‬ ِ
ّ‫ٱلص‬
َ
ِ‫إ‬ِۚ‫ل‬ۡ َّ
‫ٱل‬﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٧(
ความวา “และพวกเจาทั้งหลาย จงกิน จงดื่ม จนกระทั่งเสนสีขาว(แสง
สวางของรุงอรุณ) จะประจักษแกพวกเจาจากเสนสีดํา(ความมืดของ
กลางคืน) แลวพวกเจาจงทําใหการถือศีลอดครบสมบูรณจนถึงพลบค่ํา”
(อัล-บะเกาะเราะฮฺ 187)
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
สําหรับอายะฮฺที่เปนหลักฐานวาวาญิบถือศีลอดในเดือนเราะ
มะฏอนนั้น อัลลอฮฺไดตรัสวา
﴿َ‫ه‬ُّ‫ي‬
َ
‫أ‬ٰٓ َ
‫ي‬‫ا‬َ‫ِين‬
َّ
‫ٱل‬
ْ
‫وا‬ُ‫ن‬َ‫ام‬َ‫ء‬َ‫ب‬ِ‫ت‬
ُ
‫ك‬ُ‫م‬
ُ
‫ك‬ۡ‫ي‬
َ
‫ل‬
َ
‫ع‬ُ‫ام‬َ‫ي‬ ِ
ّ‫ٱلص‬‫ا‬َ‫م‬
َ
‫ك‬َ‫ب‬ِ‫ت‬
ُ
‫ك‬
َ َ
َ‫ِين‬
َّ
‫ٱل‬‫ِن‬‫م‬ۡ‫م‬
ُ
‫ِك‬‫ل‬ۡ‫ب‬
َ
‫ق‬ۡ‫م‬
ُ
‫ك‬
َّ
‫ل‬َ‫ع‬
َ
‫ل‬
َ
‫ون‬
ُ
‫ق‬َّ‫ت‬
َ
‫ت‬١٨٣﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٣(
ความวา “โอบรรดาศรัทธาชนทั้งหลาย การถือศีลอดไดถูกบัญญัติแก
พวกเจาแลว เชนเดียวกับที่ไดถูกบัญญัติแกบรรดาประชาชาติกอนหนา
พวกเจามาแลว เพื่อวาพวกเจาจะไดตักวา” (อัลบะเกาะเราะฮฺ 183)
8 
 
และอีกอายะฮฺหนึ่ง อัลลอฮฺไดตรัสวา
﴿ُ‫ر‬ۡ‫ه‬
َ
‫ش‬
َ
‫ان‬
َ
‫ض‬َ‫م‬َ‫ر‬ٓ‫ِي‬
َّ
‫ٱل‬
َ
‫ل‬ِ‫نز‬
ُ
‫أ‬ِ‫ه‬‫ِي‬‫ف‬
ُ
‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬
ُ
‫ق‬
ۡ
‫ٱل‬
ٗ
‫د‬
ُ
‫ه‬‫ى‬ِ‫اس‬َّ‫ِلن‬
ّ
‫ل‬ٖ‫ت‬ٰ َ‫ن‬ِ
ّ‫ي‬َ‫ب‬َ‫و‬َ‫ِن‬ّ‫م‬
ٰ‫ى‬َ‫د‬ُ‫ه‬
ۡ
‫ٱل‬ِۚ‫ان‬
َ
‫ق‬ۡ‫ر‬
ُ
‫ف‬
ۡ
‫ٱل‬َ‫و‬‫ن‬َ‫م‬
َ
‫ف‬َ‫د‬ِ‫ه‬
َ
‫ش‬ُ‫م‬
ُ
‫ِنك‬‫م‬َ‫ر‬ۡ‫ه‬
َّ
‫ٱلش‬ُۖ‫ه‬ۡ‫م‬ ُ‫ص‬َ‫ي‬
ۡ
‫ل‬
َ
‫ف‬﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:
١٨٥(
ความวา “เดือนเราะมะฎอนนั้น เปนเดือนที่อัลกุรอานไดถูกประทานลง
มาเพื่อเปนทางนําสําหรับมวลมนุษย เปนคําแจกแจงที่มาจากแนวทางที่
ถูกตองและแยกสัจธรรมออกจากความมดเท็จ ดังนั้น ผูใดในหมูพวกเจา
เขาอยูในเดือนนี้แลวก็จงถือศีลอดเถิด” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 185)
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
หลังจากที่เราไดเขาใจความหมายและหุกมของการถือศีลอด
เดือนเราะมะฎอนแลว ยังมีคําถามอีกหนึ่งคําถามที่เราตองหาคําตอบก็
คือ เราจะทําอยางไรใหการถือศีลอดหรือศิยามของเราใหเต็มไปดวยอี
มาน(ความศรัทธา)และอิหฺติสาบ(หวังผลบุญจากอัลลอฮฺ/ความคาดหวัง
เพื่อใหอัลลอฮฺทรงตอบรับ)? ทั้งนี้ก็เนื่องจากวาการถือศีลอดหรือศิยาม
ในลักษณะดังกลาวนี้จะมีผลทําใหบาปของเราที่ผานมาจะถูกลบลางไป
ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
9 
 
»ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬ َ‫ﺻ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬
ً
‫ﺎﻧ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ُ
‫ﻏ‬ُ َ
‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬
َّ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫ذ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٨‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٧(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน ดวยความศรัทธา
(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทนจากพระองค
แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา” (อัล-บุคอรียฺ
38, มุสลิม 1817)
ทานอัล-หาฟซ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดอธิบายใน
หนังสือของทานฟตหุลบารียวา “คําวาอีมาน หมายถึง “ความเชื่อมั่นใน
สัญญาของอัลลอฮฺตอการปฏิบัติดังกลาว” และคําวาอิหฺติสาบ หมายถึง
“หวังผลตอบแทน (ผลบุญจากอัลลอฮฺ) เทานั้น ไมมีเจตนาอื่นใดแอบแฝง
ไมวาจะเปนการโออวด (ริยาอ) หรือหวังคําชมเชยจากมนุษย หรือถือศีล
อดเพียงปฏิบัติตามผูอื่น(ตักลีด) หรือสาเหตุอื่นๆ”
และอุละมาอยังไดอธิบายคําวาบาป(ซันบุน)ในหะดีษนี้อีกวา
อัลลอฮฺจะลบลางบาปทั้งหมดที่ผานมาไมวาจะเปนบาปเล็กหรือบาป
ใหญ แตตามทัศนะของุมฮูรฺ(อุละมาอสวนใหญ)เห็นวาในหะดีษนี้
หมายถึงบาปเล็กเทานั้น เนื่องจากบาปใหญจําเปนจะตองเตาบะฮฺอยาง
แทจริง ดังหะดีษที่ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
10 
 
»
ُ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬َ‫و‬
َ
‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ا‬َ‫ﺮ‬
ِّ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻜ‬ُ‫ﻣ‬
ٌ
‫ت‬‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َّ‫ﻦ‬ُ‫ﻬ‬
َ
‫ﻨ‬
ْ
‫ﻴ‬َ‫ﺑ‬‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺐ‬
َ
‫ﻨ‬َ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺟ‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﺋ‬‫ﺎ‬َ‫ﺒ‬
َ
‫ﻜ‬
ْ
‫اﻟ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٥٧٤(
ความวา “และระหวางเดือนเราะมะฎอนของแตละป เปนชวงเวลาแหง
การลบลางความผิดหรือบาปที่เกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว ยกเวนบาป
ใหญ” (มุสลิม 574)
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
อัลลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา ไดใหความสําคัญกับอิบา
ดะฮฺศิยามเดือนเราะมะฎอนมากกวาอิบาดะฮฺอื่นๆ ดังหะดีษกุดสียฺ
ตอไปนี้
‫أن‬‫ﺎ‬َ‫ﺑ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ة‬َ‫ﺮ‬ْ‫ﻳ‬َ‫ﺮ‬
ُ
‫ﻫ‬َ ِ َ‫ر‬ُ َّ
‫اﺑ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬:ُ‫ﺖ‬
ْ
‫ﻌ‬ِ‫ﻤ‬َ‫ﺳ‬
َ
‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ
‫اﺑ‬
ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬:»
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬ُ َّ
‫اﺑ‬َّ‫ﺰ‬َ‫ﻋ‬
َّ
‫ﻞ‬َ‫ﺟ‬َ‫و‬:
ُّ ُ
‫ﻞﻛ‬ِ‫ﻞ‬َ‫ﻤ‬
َ
‫ﻗ‬ِ‫ﻦ‬ْ‫اﺑ‬َ‫م‬
َ
‫آد‬ُ ََّ
‫ﻻ‬ِ‫إ‬
َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬،َ‫ﻮ‬
ُ
‫ﻫ‬ِ‫ﻲﻟ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻧ‬
َ
‫أ‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ﺰ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ
‫أ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬:٢٧٦٠(
ความวา รายงานจากทานอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ กลาววา
ฉันไดยินทานเราะซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา “อัลลอฮฺไดมี
ดํารัสวา การงานทุกอยางของลูกหลานอาดัมนั้นจะไดรับผลบุญตามสวน
ที่เขาไดกระทํา ยกเวนศิยาม ซึ่งเปนสิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตาม
ความประสงคของเราเอง” (มุสลิม 2760)
11 
 
»ُ‫ك‬ُ ْ
‫ﺮﺘ‬
َ
‫ﻓ‬
ُ
‫ﻪ‬َ‫ﺎﻣ‬َ‫ﻌ‬ َ‫ﻃ‬
ُ
‫ﻪ‬َ‫اﺑ‬َ َ
‫ﺮﺷ‬َ‫و‬َ‫و‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﺗ‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻲﻠ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ
‫أ‬،ُ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬ِ‫ﻲﻟ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻧ‬
َ
‫أ‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ﺰ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ
‫أ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬،
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻨ‬ َ‫ﺴ‬َْ
‫اﺤﻟ‬َ‫و‬ِ
ْ
‫ﺮﺸ‬َ‫ﻌ‬ِ‫ﺑ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬ِ‫ﻟ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺜ‬
ْ
‫ﻣ‬
َ
‫أ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬١٨٩٤(
ความวา “ผูที่ถือศีลอดไดละเวนและอดกลั้นจากอาหารของเขา เครื่องดื่ม
ของเขา และอารมณใครของเขาเพื่อเรา(อัลลอฮฺ) ดังนั้นการถือศีลอดเปน
สิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตามความประสงคของเราเอง ซึ่งการทํา
ความดี(ทั่วๆ ไป)หนึ่งครั้งนั้นจะไดผลบุญสิบเทา” (อัล-บุคอรียฺ 1894)
ทานอิมามอัน-นะวะวียไดอธิบายในหนังสือชัรหฺ เศาะฮีหฺ
มุสลิม (7/271) วา ความจริงแลว อิบาดะฮฺทุกอยางก็เปนสิทธิของอัลลอฮฺ
ในการให ผลตอบแทน แตบรรดาอุละมาอมีความเห็นตางกันใน
ความหมายของหะดีษนี้
- บางคนใหความหมายวา ก็เพราะการถือศีลอดเปนอิบาดะฮฺ
ที่หางไกลจากการริยาอ(โออวด) ทั้งนี้เนื่องจากวาเปนอิบาดะฮฺที่มี
ลักษณะถูกเก็บซอนไวกับตัว ซึ่งมีความแตกตางจากการละหมาด หัจญ
การบริจาคทาน และอื่นๆ ที่มีลักษณะการกระทําที่เปดเผยตอ
สาธารณชนยอมมีความเสี่ยงที่จะเกิดการโออวดหรือตองการคําชื่นชม
เยินยอ จากผูที่พบเห็น
- บางคนใหความหมายวา ก็เพราะการไมรับประทานอาหาร
และไมดื่ม เปนสวนหนึ่งของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ ดังนั้นผูที่ถือศีลอด
12 
 
ในชวงเวลาประมาณสิบสี่ชั่วโมงก็มีความใกลเคียงกัน ถึงแมวา
คุณลักษณะของอัลลอฮฺจะแตกตางกับสิ่งที่ถูกสรางทั้งหมดก็ตาม
- บางคนใหความหมายวา อัลลอฮฺผูเดียวที่ทรงรูจํานวนผล
บุญของการถือศีลอด ดังนั้นพระองคจะทรงเพิ่มพูนผลบุญของการถือศีล
อดหลายตอหลายเทา ตามพระประสงคของพระองค ซึ่งจะแตกตาง
จากอิบาดะฮฺอื่นๆ ที่พระองคไดทรงกําหนดไวเชน สิบเทา ยี่สิบหาเทา
เจ็ดสิบเทา เจ็ดรอยเทา เปนตน พระองคจึงตรัสในลักษณะแสดงความ
เปนเจาของวา “การถือศีลอดเปนสิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตาม
ความประสงคของเราเอง” แสดงใหเห็นวาเปนอิบาดะฮฺที่ประเสริฐและมี
ผลตอบแทนอยางมหาศาล
พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน
อิบาดะฮฺอีกประการหนึ่งที่มีเฉพาะในเดือนเราะมะฎอนคือ
ละหมาดตะรอวีหฺ ซึ่ง ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา
»ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ﺎ‬
ً
‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ُ
‫ﻏ‬ُ َ
‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬
َّ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫ذ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٥(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในเดือนเราะมะฎอน
ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน
จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา”
(อัล-บุคอรียฺ 37, มุสลิม 1815)
13 
 
และหะดีษอีกบทหนึ่งทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
กลาววา
»َ‫ﻣ‬ْ‫ﻦ‬َ‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َ
ِ‫ر‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
ْ
‫اﻟ‬‫ﺎ‬
ً
‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ُ
‫ﻏ‬ُ َ
‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬
َّ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫ذ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬١٩٠١(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในค่ําคืนลัยละตุลก็อดรฺ
ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน
จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา”
(อัล-บุคอรียฺ 1901)
คําวา "‫ﻗﺎم‬
َ
‫ﻗ‬َ‫ﺎم‬" ในสองหะดีษขางตนนั้นหมายถึงการละหมาดใน
ยามค่ําคืนซึ่งในเดือนเราะมะฎอนจะมีการละหมาดชนิดหนึ่งที่
บทบัญญัติอิสลามไดกําหนดขึ้นเฉพาะในเดือนเราะมะฎอนเทานั้น นั่นก็
คือ “ละหมาดตะรอวีหฺ” ซึ่งคําวา ตะรอวีหฺ มาจากคําวา “รอหะฮฺ” มี
ความหมายวา การหยุดพัก ทั้งนี้ ก็เนื่องจากวาผูละหมาดตะรอวีหฺจะมี
การหยุดพักหลังจากละหมาดครบสี่ร็อกอะฮฺหรือในทุกๆ สี่ร็อกอะฮฺ
สําหรับหุกมของการ “ละหมาดตะรอวีหฺ” หรือเรียกอีกอยาง
หนึ่งวา “กิยาม เราะมะฎอน” นั้นเปน สุนัต มุอักกะดะฮฺ ตามหะดีษที่
ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
14 
 
»ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ﺎ‬
ً
‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ُ
‫ﻏ‬ُ َ
‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬
َّ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫ذ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٥(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในเดือนเราะมะฎอน
ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน
จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา”
(อัล-บุคอรียฺ 37, มุสลิม 1815)
หะดีษรายงานโดยทานหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา
َّ
‫ن‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ
‫اﺑ‬ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﺧ‬َ‫ج‬
َ
‫ات‬
َ
‫ذ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ف‬ْ‫ﻮ‬َ‫ﺟ‬
ِ‫ﻞ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬،
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺼ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺼ‬
َ
‫ﻓ‬
ٌ
‫ﺎل‬َ‫ﺟ‬ِ‫ر‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺗ‬
َ
‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬،َ‫ﺢ‬َ‫ﺒ‬
ْ
‫ﺻ‬
َ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻓ‬ُ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬
‫ﻮا‬
ُ
‫ﺛ‬
َّ
‫ﺪ‬َ‫ﺤ‬َ‫ﺘ‬
َ
‫ﻓ‬،َ‫ﻊ‬َ‫ﻤ‬َ‫ﺘ‬
ْ
‫ﺎﺟ‬
َ
‫ﻓ‬ُ َ
‫ﺮﺜ‬
ْ
‫ﻛ‬
َ
‫أ‬ْ‫ﻢ‬ُ‫ﻬ‬
ْ
‫ﻨ‬ِ‫ﻣ‬‫ا‬ْ‫ﻮ‬
َّ
‫ﻠ‬ َ‫ﺼ‬
َ
‫ﻓ‬
ُ
‫ﻪ‬َ‫ﻌ‬َ‫ﻣ‬،َ‫ﺢ‬َ‫ﺒ‬
ْ
‫ﺻ‬
َ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻓ‬ُ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ﺛ‬
َّ
‫ﺪ‬َ‫ﺤ‬َ‫ﺘ‬
َ
‫ﻓ‬
َ ُ
‫ﺮﺜ‬
َ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻓ‬
ُ
‫ﻞ‬
ْ
‫ﻫ‬
َ
‫أ‬ِ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬
َ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬ِ‫ﺔ‬ِ‫ﺔ‬َ
ِ‫ﺎﺨﻛ‬َّ‫اﺨﻛ‬،َ‫ج‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﺨ‬
َ
‫ﻓ‬
ُ
‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ
‫اﺑ‬
ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬‫ا‬ْ‫ﻮ‬
َّ
‫ﻠ‬ َ‫ﺼ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺗ‬
َ
‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬،‫ﺎ‬َّ‫ﻤ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ﺖ‬
َ
‫ﻧ‬
َ
‫ﺎﻛ‬
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬
ُ
‫ﺔ‬َ‫ﻌ‬ِ‫اﺑ‬َّ‫اﻟﺮ‬َ‫ﺰ‬َ‫ﺠ‬َ‫ﻋ‬
ُ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬ْ‫ﻦ‬
َ
‫ﻗ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻠ‬
ْ
‫ﻫ‬
َ
‫أ‬،‫ﻤﻟﺴﻠﻢ‬ ‫رواﻳﺔ‬ ‫و‬ ‫ـ‬:ْ‫ﻢ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ج‬ُ‫ﺮ‬
ْ َ
‫ﺨﻳ‬ْ‫ﻢ‬ِ‫ﻬ‬ْ َ
ِ‫إ‬
ُ
‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬
ِ
َّ
‫اﺑ‬-‫ﺻﻰﻠ‬‫اﷲ‬‫ﻋﻠﻴﻪ‬‫وﺳ‬‫ﻠﻢ‬-َ‫ﻖ‬ِ‫ﻔ‬ َ‫ﻄ‬
َ
‫ﻓ‬
ٌ
‫ﺎل‬َ‫ﺟ‬ِ‫ر‬ْ‫ﻢ‬ُ‫ﻬ‬
ْ
‫ﻨ‬ِ‫ﻣ‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﻮﻟ‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬:
َ
‫ة‬
َ
‫ﻼ‬ َّ‫اﻟﺼ‬،
ْ‫ﻢ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ج‬ُ‫ﺮ‬
ْ َ
‫ﺨﻳ‬ْ‫ﻢ‬ِ‫ﻬ‬ْ َ
ِ‫إ‬
ُ
‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬‫ﺻﻰﻠ‬‫اﷲ‬‫ﻋﻠﻴﻪ‬‫وﺳﻠﻢ‬‫ـ‬َّ َ‫ﺣ‬َ‫ج‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﺧ‬
ِ‫ة‬
َ
‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﻟ‬ِ‫ﺢ‬
ْ
‫ﺒ‬ ُّ‫اﻟﺼ‬‫ﺎ‬َّ‫ﻤ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬
َ َ
‫ﻗ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺠ‬
َ
‫ﻔ‬
ْ
‫اﻟ‬
َ
‫ﻞ‬َ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻗ‬
َ
‫أ‬
َ َ‫ﺒﻟ‬ِ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬
َ
‫ﺪ‬
َّ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺸ‬
َ
‫ﺘ‬
َ
‫ﻓ‬َّ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻋ‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬:
15 
 
»‫ﺎ‬
َّ
‫ﻣ‬
َ
‫أ‬ُ‫ﺪ‬
ْ
‫ﻌ‬َ‫ﻧ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬
َ
‫ﻓ‬ْ‫ﻢ‬
َ
‫ﻟ‬
َ
‫ﻒ‬
ْ َ
‫ﺨﻳ‬َّ َ َ‫ﻲﻠﻋ‬ْ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
ُ
‫ﻧ‬
َ
‫ﺎﻜ‬َ‫ﻣ‬ِّ‫ﻲﻨ‬ِ‫ﻜ‬
َ
‫ﻟ‬ُ‫ﻴﺖ‬ ِ‫ﺸ‬
َ
‫ﺧ‬
ْ
‫ن‬
َ
‫أ‬
َ
‫ض‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻔ‬
ُ
‫ﻳ‬
ْ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬‫وا‬ُ‫ﺰ‬ِ‫ﺠ‬
ْ
‫ﻌ‬َ‫ﺘ‬
َ
‫ﻓ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻗ‬«‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٩٢٤‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨٢٠(
ความวา ทานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดออกไปยังมัสญิด
ในยามดึก(ของเดือนเราะมะฎอน)แลวทําการละหมาด และไดมีเศาะ
หาบะฮฺบางคนละหมาดพรอมทานดวย เหตุการณที่เกิดขึ้นไดมีการพูด
ตอๆ กันไปในหมูเศาะหาบะฮฺ จนกระทั่งมีคนมาละหมาดกับทานมากขึ้น
คืนที่สองทานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดออกไปละหมาดอีก
ไดมีผูคนมาละหมาดกับทานมากขึ้นอีก และพวกเขาก็ไดพูดถึงเรื่องนี้ใน
เวลารุงขึ้น เมื่อถึงคืนที่สามทานเราะสูลไดออกไปละหมาดอีกและไดมี
ผูคนไปละหมาดกับทานเหมือนเดิม พอถึงคืนที่สี่มัสยิดก็เต็มจนไม
สามารถจุผูคนที่มีจํานวนเยอะได (ในรายงานของมุสลิมระบุวา ทานเราะ
สูลไมออกมาในคืนนี้ ผูชายบางคนจึงไดกลาววา อัศ-เศาะลาฮฺ(มา
ละหมาดกันเถิด) ทานเราะสูลยังคงไมออกไป) จนกระทั่งถึงรุงเชา ทาน
จึงออกไปละหมาดฟจญรฺ(ละหมาดศุบหฺ) เมื่อทานละหมาดเสร็จทานได
หันหนาเขาหาผูที่มารวมละหมาด และกลาววา “แทจริงแลว เรื่องราวที่
เกิดขึ้นเมื่อคืนนี้ เรารับรูทั้งหมด แตสาเหตุที่เรามิไดออกมาละหมาดกับ
พวกทานอีกนั้น ก็เพราะเรากลัววาการละหมาดในยามค่ําคืนจะถูก
บัญญัติใหเปนฟรฎสําหรับพวกทาน แลวพวกทานก็จะออนแรงที่จะ
ปฏิบัติมัน” (อัล-บุคอรียฺ 924, มุสลิม 1820)
16 
 
สําหรับเวลาและวิธีการละหมาดตะรอวีหฺนั้น เวลาของวิธีการ
ละหมาดตะรอวีหฺ จะเริ่มการละหมาดหลังจากละหมาดอิชาอไปจนถึง
กอนละหมาดศุบหฺ โดยจะมีการใหสลามในทุกๆ สองร็อกอะฮฺ และมีการ
หยุดพักหลังจากสี่ร็อกอะฮฺ
ทานอิมามอัน-นะวะวียไดกลาวถึงเกี่ยวกับรูปแบบการละหมาดตะรอวีหฺ
ในหนังสือบทอธิบายเศาะฮีหฺมุสลิม (6/286) มีใจความวา บรรดาอุ
ละมาอมีความเห็นที่แตกตางกันระหวางการละหมาดตะรอวีหฺคนเดียวที่
บานกับการละหมาดตะรอวีหฺในลักษณะญะมาอะฮฺที่มัสญิด การ
ละหมาดในลักษณะใดดีกวากัน? ซึ่งอิมามอัช-ชาฟอีย อิมาม, อบู หะนี
ฟะฮฺ, อิมามอะหฺมัด และอุละมาอมัซฮับมาลิกียบางคนมีทัศนะวาการ
ละหมาดตะรอวีหฺในลักษณะญะมาอะฮฺที่มัสญิดดีกวา ดังเชนการกระทํา
ของทานอุมัรฺ อิบนุ อัล-ค็อฏฏอบ และบรรดาเศาะหาบะฮฺ ในขณะที่อิ
มามมาลิก อบู ยูซุฟ และอุละมาอมัซฮับอัช-ชาฟอียบางคนมีทัศนะวา
การละหมาดตะรอวีหฺคนเดียวที่บานดีกวา โดยยึดหะดีษทานนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ไดกลาวไวความวา “การละหมาดที่ดีที่สุด
คือ การละมาดคนเดียวที่บาน ยกเวนการละหมาดฟรฎ(หาเวลา)”
สําหรับจํานวนร็อกอะฮฺนั้น คือ สิบเอ็ดร็อกอะฮฺรวมละหมาดวิ
ติรฺ ตามหะดีษที่รายงานโดยทานหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา วา
ْ‫ﻦ‬
َ
‫ﻗ‬ِ
َ
‫أ‬
َ
‫ﺔ‬َ‫ﻤ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬ِ‫ﻦ‬ْ‫ﺑ‬
َ
‫ﻗ‬ِ‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬ِ‫ﻦ‬َ ْ
‫ﻤﺣ‬َّ‫اﻟﺮ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬
َ
‫ﻛ‬
َ
‫ل‬
َ
‫ﺄ‬َ‫ﺳ‬
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺸ‬ِ‫ﺋ‬ َ‫ﺨ‬َ ِ َ‫ر‬ُ َّ
‫اﺑ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻗ‬:
َ
‫ﻒ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻛ‬
ْ
‫ﺖ‬
َ
‫ﻧ‬
َ
‫ﺎﻛ‬
ُ
‫ة‬
َ
‫ﻼ‬ َ‫ﺻ‬ِ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ
‫اﺑ‬ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬ِ‫ﻲﻓ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫؟‬
17 
 
ْ
‫ﺖ‬
َ
‫ﺎﻟ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬:‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬
َ
‫ن‬
َ
‫ﺎﻛ‬ُ‫ﻳﺪ‬ِ‫ﺰ‬َ‫ﻳ‬ِ‫ﻲﻓ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬
َ
‫ﻻ‬َ‫و‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ه‬ِ
ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﻟ‬
َ َ‫ﺒﻟ‬‫ى‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ﺣ‬ِ‫إ‬
َ
‫ة‬َ ْ
‫ﺮﺸ‬َ‫ﻋ‬.
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٢٠١٣(
ความวา จาก อบู สะละมะฮฺ บิน อับดุรเราะหมาน ไดถามทานหญิงอาอิ
ชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา วา การละหมาดของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม ในเดือนเราะมะฎอนเปนเชนไร? ทานหญิงอาอิชะฮฺตอบวา
ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ละหมาดทั้งในเดือนเราะมะฎอน
และในเดือนอื่นๆ ไมเกินสิบเอ็ดร็อกอะฮฺ (อัล-บุคอรียฺ 2013)
ทาน อัล-หาฟซ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดรวบรวมใน
ฟตหุลบารีย เกี่ยวกับจํานวนร็อกอะฮฺของการละหมาดตะรอวีหฺและวิติรฺ
ที่ไดมีการปฏิบัติกัน คือ 11 ร็อกอะฮฺ, 13 ร็อกอะฮฺ, 21 ร็อกอะฮฺ, 23
ร็อกอะฮฺ, 36 ร็อกอะฮฺ, 41 ร็อกอะฮฺ และ 47 ร็อกอะฮฺ
ซึ่งการละหมาดยี่สิบร็อกอะฮฺไมรวมวิติรฺเปนการกระทําของ
ทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุ อัล-ค็อฏฏอบ และ 36 ร็อกอะฮฺก็เปนการ
กระทําของทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ
อยางไรก็ตามหะดีษที่เศาะฮีหฺที่เกี่ยวกับการละหมาดของทานน
บีในเดือนเราะมะฎอนนั้น คือหะดีษอาอิชะฮฺขางตน สวนหะดีษของ
ทานอิบนุ อับบาสที่รายงานวาทานนบีละหมาดในเดือนเราะมะฎอนยี่สิบ
ร็อกอะฮฺและวิติรฺนั้น เปนหะดีษที่เฎาะอีฟ ตามที่ทานอัล-หาฟซ อิบนุ
หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดกลาวไว
18 
 
และสุนัตใหละหมาดตะรอวีหฺพรอมกับอิมามจนเสร็จสิ้นการ
ละหมาด ตามหะดีษที่รายงานโดยอบู ซัรร ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม ไดกลาววา
»
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬ِ‫إ‬ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬َ‫ﻊ‬َ‫ﻣ‬ِ‫ﺎم‬
َ‫ﻣ‬ِ
ْ
‫اﻹ‬َّ َ‫ﺣ‬
َ
‫ف‬ِ
َ‫ﺮﺼ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻓ‬َ‫ﺐ‬َ‫ﺘ‬
َ
‫ﻛ‬ُ َّ
‫اﺑ‬ُ ََ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ِ‫ﻗ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َ
«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٧٣٤‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫واﻟﻨﺴﺎ‬ ،١٥٨٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫واﺑﻦ‬ ،
١٣١٧‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﻛﻤﺎ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺢ‬ ،‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤١٧(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ละหมาดพรอมกับอิมามจนเสร็จสิ้นการละหมาด
เขาจะไดรับผลบุญเทากับการละหมาดตลอดทั้งคืน” (อัต-ติรมิซียฺ 734,
อัน-นะสาอียฺ 1587, อิบนุ มาญะฮฺ 1317, อัล-อัลบานียฺ กลาววาเปนหะ
ดีษเศาะฮีหฺ ดู เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 2417)
‫ﺑﺎرك‬‫اﷲ‬‫ﻲﻟ‬‫وﻟﻜﻢ‬‫ﻲﻓ‬‫اﻟﻘﺮآن‬،‫اﻟﻌﻈﻴﻢ‬‫وﻧﻔﻌﻲﻨ‬‫وإﻳﺎﻛﻢ‬‫ﺑﻤﺎ‬‫ﻓﻴﻪ‬‫ﻣﻦ‬
‫اﻵﻳﺎت‬‫ﻛﺮ‬ ‫وا‬،‫اﺤﻟﻜﻴﻢ‬‫وﺗﻘﺒﻞ‬‫ﻣﻲﻨ‬‫وﻣﻨﻜﻢ‬،‫ﺗﻼوﺗﻪ‬‫إﻧﻪ‬‫ﻫﻮ‬‫اﻟﺴﻤﻴﻊ‬
‫اﻟﻌﻠﻴ‬‫ﻢ‬.‫و‬‫أ‬‫ﺳﺘﻐﻔﺮ‬‫اﷲ‬‫ﻲﻟ‬‫وﻟﻜﻢ‬‫ﻣﻦ‬‫ﻞﻛ‬‫ذﻧﺐ‬‫ﻓﺎﺳﺘﻐﻔﺮوه‬‫إﻧﻪ‬‫ﻫﻮ‬‫اﻟﻐﻔﻮر‬
‫اﻟﺮﺣﻴﻢ‬.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺกุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺsunnahstudent
 
Th tuwaijiriy aliman_billah
Th tuwaijiriy aliman_billahTh tuwaijiriy aliman_billah
Th tuwaijiriy aliman_billahIslamHouseCom
 
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมานsunnahstudent
 
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรม
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรมหลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรม
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรมIslamic Invitation
 
Th muhammad is not terrorist
Th muhammad is not terroristTh muhammad is not terrorist
Th muhammad is not terroristLoveofpeople
 
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtod
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtodTh addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtod
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtodLoveofpeople
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมาน
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมานละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมาน
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมานsunnahstudent
 
Th pawae istiqbal_ramadhan
Th pawae istiqbal_ramadhanTh pawae istiqbal_ramadhan
Th pawae istiqbal_ramadhanLoveofpeople
 
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์islam house
 
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺ
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺอันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺ
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺislam house
 

La actualidad más candente (13)

กุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺกุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺ
 
Th tuwaijiriy aliman_billah
Th tuwaijiriy aliman_billahTh tuwaijiriy aliman_billah
Th tuwaijiriy aliman_billah
 
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
 
Th asman ramadhan
Th asman ramadhanTh asman ramadhan
Th asman ramadhan
 
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรม
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรมหลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรม
หลากหลายคำถามที่นำชาวชีอะฮฺสู่สัจธรรม
 
Th muhammad is not terrorist
Th muhammad is not terroristTh muhammad is not terrorist
Th muhammad is not terrorist
 
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtod
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtodTh addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtod
Th addorar 2-025_ruseuk_plodphai_chak_kan_longtod
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมาน
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมานละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมาน
ละหมาดตะรอวีหฺ เขียนโดย อารีฟีน แสงวิมาน
 
Samkok10
Samkok10Samkok10
Samkok10
 
Th pawae istiqbal_ramadhan
Th pawae istiqbal_ramadhanTh pawae istiqbal_ramadhan
Th pawae istiqbal_ramadhan
 
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์
อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์
 
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺ
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺอันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺ
อันตรายของชีอะฮฺรอฟิเฎาะฮฺ
 

Destacado

Informativo ASCOSEBAN
Informativo ASCOSEBANInformativo ASCOSEBAN
Informativo ASCOSEBANASCOSEBAN
 
Comics en la web (1)
Comics en la web (1)Comics en la web (1)
Comics en la web (1)Jessika Wanko
 
Proteção anti incêndio - gestão de riscos
Proteção anti incêndio - gestão de riscosProteção anti incêndio - gestão de riscos
Proteção anti incêndio - gestão de riscosJoão Ailton Brondino
 
Bullying psicologia
Bullying psicologiaBullying psicologia
Bullying psicologiaeste22fania
 
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1playmobil4
 
FACEBOOK COMMERCE INTRO
FACEBOOK COMMERCE INTROFACEBOOK COMMERCE INTRO
FACEBOOK COMMERCE INTRODML Srl
 

Destacado (9)

Informativo ASCOSEBAN
Informativo ASCOSEBANInformativo ASCOSEBAN
Informativo ASCOSEBAN
 
Comics en la web (1)
Comics en la web (1)Comics en la web (1)
Comics en la web (1)
 
Proteção anti incêndio - gestão de riscos
Proteção anti incêndio - gestão de riscosProteção anti incêndio - gestão de riscos
Proteção anti incêndio - gestão de riscos
 
eteerer
eteerereteerer
eteerer
 
Neumática e hidráulica
Neumática e hidráulicaNeumática e hidráulica
Neumática e hidráulica
 
manga 553 de bleach
manga 553 de bleachmanga 553 de bleach
manga 553 de bleach
 
Bullying psicologia
Bullying psicologiaBullying psicologia
Bullying psicologia
 
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1
Capitulo 6 - A Casa do Lago - Parte 1
 
FACEBOOK COMMERCE INTRO
FACEBOOK COMMERCE INTROFACEBOOK COMMERCE INTRO
FACEBOOK COMMERCE INTRO
 

Más de Loveofpeople

Ms pillars of islam
Ms pillars of islamMs pillars of islam
Ms pillars of islamLoveofpeople
 
Ms pillars of eman
Ms pillars of emanMs pillars of eman
Ms pillars of emanLoveofpeople
 
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentMs dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentLoveofpeople
 
Ms brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamMs brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamLoveofpeople
 
Ms islam religi all
Ms islam religi allMs islam religi all
Ms islam religi allLoveofpeople
 
Zh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webZh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webLoveofpeople
 
En why people accept islam
En why people accept islamEn why people accept islam
En why people accept islamLoveofpeople
 
Zh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenZh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenLoveofpeople
 
Ru znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyRu znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyLoveofpeople
 
Ru talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarRu talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarLoveofpeople
 
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaRu ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaLoveofpeople
 

Más de Loveofpeople (20)

Ms virus syiah
Ms virus syiahMs virus syiah
Ms virus syiah
 
Ms prophets pray
Ms prophets prayMs prophets pray
Ms prophets pray
 
Ms pillars of islam
Ms pillars of islamMs pillars of islam
Ms pillars of islam
 
Ms pillars of eman
Ms pillars of emanMs pillars of eman
Ms pillars of eman
 
Ms im a muslim
Ms im a muslimMs im a muslim
Ms im a muslim
 
Ms hisn muslim
Ms hisn muslimMs hisn muslim
Ms hisn muslim
 
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentMs dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
 
Ms brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamMs brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islam
 
Ms islam religi all
Ms islam religi allMs islam religi all
Ms islam religi all
 
Ms azkar muslim
Ms azkar muslimMs azkar muslim
Ms azkar muslim
 
Sr jednoca boga
Sr jednoca bogaSr jednoca boga
Sr jednoca boga
 
Zh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webZh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly web
 
Zh this is islam
Zh this is islamZh this is islam
Zh this is islam
 
En why people accept islam
En why people accept islamEn why people accept islam
En why people accept islam
 
Zh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenZh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeen
 
Ru znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyRu znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydy
 
Ru talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarRu talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisar
 
Ru subhan llah
Ru subhan llahRu subhan llah
Ru subhan llah
 
Ru prizyv k aqyde
Ru prizyv k aqydeRu prizyv k aqyde
Ru prizyv k aqyde
 
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaRu ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
 

Th asman siyam_eimanan_wa_ihtisaban

  • 2.       ﴿‫واﺣﺘﺴﺎﺑﺎ‬ ‫إﻳﻤﺎﻧﺎ‬ ‫رﻣﻀﺎن‬ ‫ﺻﺎم‬ ‫ﻣﻦ‬﴾ »‫اﺤﻛ‬ ‫ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ‬‫ﺎﻳﻼﻧﺪﻳ‬‫ﺔ‬« ‫ﻋﺰﻣﺎن‬‫ﻲﻠﻋ‬ ‫ﻣﺮاﺟﻌﺔ‬:‫ﻋﺜﻤﺎن‬ ‫ﺻﺎﻲﻓ‬ 2011 – 1432
  • 3. 3    ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ “ถือศีลอดเราะมะฎอนดวยศรัทธาและหวังการตอบแทน” คุฏบะฮฺวันศุกรที่ 5 เราะมะฎอน ฮ.ศ. 1429 /5 กันยายน 2551 ณ มัสยิดวิทยาลัยอิสลามศึกษา มอ.ปตตานี โดย อ.อัสมัน แตอาลี ‫إن‬‫اﺤﻟﻤﺪ‬‫ﷲ‬‫ﺤﻧﻤﺪه‬‫وﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ‬‫وﻧﺴﺘﻐﻔﺮه‬‫وﻧﺘﻮب‬‫ﻪ‬ ‫إ‬،‫وﻧﻌﻮذﺑﺎﷲ‬ ‫ﻣﻦ‬‫ﺮﺷور‬‫أﻧﻔﺴﻨﺎ‬‫وﺳﻴﺌﺎت‬‫أﻋﻤﺎﺠﺎ‬،‫ﻣﻦ‬‫ﻳﻬﺪه‬‫اﷲ‬‫ﻓﻼ‬‫ﻣﻀﻞ‬‫وﻣﻦ‬ ‫ﻳﻀﻠﻞ‬‫ﻓﻼﻫﺎدي‬،‫وأﺷﻬﺪ‬‫أن‬‫ﻻ‬‫ﻪﻟ‬‫اﻻ‬‫اﷲ‬‫وﺣﺪه‬‫ﻻ‬‫ﺮﺷﻳﻚ‬، ‫وأﺷﻬﺪ‬‫أن‬‫ﺤﻣﻤﺪا‬‫ﻋﺒﺪه‬‫ورﺳﻮ‬،‫اﻢﻬﻠﻟ‬‫ﺻﻞ‬‫ﺒﻟ‬‫ﻧﺒﻴﻨﺎ‬‫ﺤﻣﻤﺪ‬‫وﺒﻟ‬‫آ‬ ‫وﺻﺤﺒﻪ‬‫وﻣﻦ‬‫دﺨ‬‫ﺑﺪﻋﻮﺗﻪ‬‫إﻰﻟ‬‫ﻳﻮم‬‫ﻳﻦ‬ ‫ا‬. ‫أﻣﺎ‬،‫ﺑﻌﺪ‬‫ﻓﻘﺎل‬‫اﷲ‬‫ﺗﻌﺎﻰﻟ‬:‫ﻳﺎ‬‫أﻳﻬﺎ‬‫ﻳﻦ‬ ‫ا‬‫آﻣﻨﻮا‬‫اﺗﻘﻮا‬‫اﷲ‬‫ﺣﻖ‬‫ﺗﻘﺎﺗﻪ‬ ‫وﻻ‬‫ﺗﻤﻮﺗﻦ‬‫إ‬‫ﻻ‬‫وأﻧﺘﻢ‬‫ﻣﺴﻠﻤﻮن‬. พี่นองมุสลิมที่เคารพรักทั้งหลาย อัลหัมดุลิลลาฮฺ พวกเราทุกคนตองขอชุกูรตออัลลอฮฺ สุบหา นะฮูวะตะอาลา ที่พระองคทรงเมตตาใหเราทุกคนไดมาใชชีวิตในเดือน เราะมะฎอนในปนี้ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งพวกเราทุกคนตางก็เฝารอคอยเดือนที่ เปยมไปดวยความบะเราะกะฮฺนี้มาตลอดทั้งป เปนชวงวันที่เราทุกคนตาง
  • 4. 4    ก็นอมรับคําบัญชาจากองคอัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา เพื่อทําอิบา ดะฮฺอัศศิยามหรือการถือศีลอด ซึ่งเปนหนึ่งในรุกนอิสลามหาประการที่ มุสลิมทุกคนตองยึดถือปฏิบัติ ในชวงกลางวันเราทุกคนตางก็อดอาหาร อดน้ําและละเวนทุก สิ่งทุกอยางที่จะทําใหการถือศีลอดเปนโมฆะ และในชวงกลางคืนเราก็ลุก ขึ้นทําการละหมาดตะรอวีหฺหลังจากละหมาดอิชาอ การกระทําดังกลาวนี้ หาใชเปนการทรมานตัวเองไม หากแตเปนการถวายความจงรักภักดี ตออัลลอฮฺพระผูเปนเจาผูยิ่งใหญ ผูอภิบาลสากลจักรวาลเทานั้น พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน เราทุกคนตางก็มีความรูสึกปติยินดีและมีความสุขกับการมา เยือนของเดือนเราะมะฎอน และนี่ก็เปนความรูสึกที่สอดคลองกับหะดีษ ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม บทหนึ่ง ทานนบีไดกลาววา »ْ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬ َّ ‫ﻞ‬َ‫ﺟ‬َ‫و‬ َّ‫ﺰ‬َ‫ﻋ‬ ُ‫اﷲ‬ َ ‫ض‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ ، ٌ ‫ك‬َ‫ﺎر‬َ‫ﺒ‬ُ‫ﻣ‬ ٌ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ، َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬ ْ‫ﻢ‬ ُ ‫ﺎﻛ‬ َ ‫ﺗ‬ َ ‫أ‬ ُّ ‫ﻞ‬ َ ‫ﻐ‬ ُ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ِ‫ﻢ‬ ْ ‫ﻴ‬ِ‫ﺤ‬َْ ‫اﺠﻟ‬ ُ‫اب‬َ‫ﻮ‬ْ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ُ‫ﻖ‬ َ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻐ‬ ُ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ،ِ‫ء‬‫ﺎ‬َ‫ﻤ‬ َّ‫اﻟﺴ‬ ُ‫اب‬َ‫ﻮ‬ْ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ُ‫ﺢ‬َ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻳ‬ ، ُ ‫ﻪ‬َ‫ﺎﻣ‬َ‫ﻴ‬ ِ‫ﺻ‬ ِ‫ﻣ‬ ٌ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﺧ‬ َ ِ‫ﻲﻫ‬ ٌ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ ِ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬ ِ‫ﷲ‬ ، ِ ْ ‫ﻦﻴ‬ِ‫ﺎﻃ‬َ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﺸ‬ ُ ‫ة‬ َ ‫د‬َ‫ﺮ‬َ‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ِ‫ﻓ‬َ‫م‬ِ‫ﺮ‬ُ‫ﺣ‬ ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬ ،ٍ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ِ‫ﻒ‬ ْ ‫ﻟ‬ َ ‫أ‬ ْ‫ﻦ‬ َ‫م‬ِ‫ﺮ‬ُ‫ﺣ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻫ‬َ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﺧ‬«)‫ﻲﻓ‬ ‫ﻛﻤﺎ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ، ‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫رواه‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫ﺳﻦﻨ‬ ‫وﺿﻌﻴﻒ‬٢١٠٦(
  • 5. 5    ความวา “เราะมะฎอนไดมาเยือนพวกทานทั้งหลายแลว เดือนแหงความ ประเสริฐ อัลลอฮฺทรงใชใหพวกเจาถือศีลอดในเดือนนี้ บรรดาประตู สวรรคจะถูกเปดไว และบรรดาประตูนรกก็ถูกปดลง บรรดามารราย ชัยฏอนก็จะถูกลามโซไว สําหรับอัลลอฮฺในเดือนนี้ มีอยูคืนหนึ่งที่(การอิ บาดะฮฺในคืนนั้น)ประเสริฐกวา(การอิบาดะฮฺใน)หนึ่งเดือน ผูใดที่ไมไดรับ ความดีของคืนดังกลาว แทจริงเขาก็จะ(เปนผูที่)ถูกหามจากความดีงาม” (บันทึกโดย อัน-นะสาอียฺ, อัล-อัลบานียฺ วินิจฉัยวาเปนหะดีษเศาะฮีหฺ ดู เศาะฮีหฺ วะ เฎาะอีฟ สุนัน อัน-นะสาอียฺ หมายเลข 2106) ทานอิบนุ เราะญับ ไดกลาววา “อุละมาอบางทานระบุวา หะ ดีษนี้เปนการแสดงความยินดี (ตะฮฺนิอะฮฺ) ระหวางผูศรัทธาดวยกัน เนื่อง ในโอกาสการมาเยือนของเดือนเราะมะฎอน จะไมใหผูศรัทธาแสดงความ ยินดีไดอยางไร ในเมื่อประตูสวรรคไดถูกเปดเตรียมไวแลวสําหรับพวก เขา? ในขณะที่ประตูนรกก็ถูกลงกลอนและปดลง อีกทั้ง มารรายชัยฏอน ก็ถูกลามโซไว ? จะหาโอกาสและเวลาใดอีกเลาที่จะมีความประเสริฐ เสมือนกับเวลาในเดือนนี้” พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน อิบาดะฮฺในเดือนเราะมะฎอนตามที่เราเคยไดศึกษาและเรียนรู มาก็มีหลายประการดวยกัน แตที่หลักๆที่เราปฏิบัติกันเฉพาะเดือนนี้ก็มี
  • 6. 6    สองประการ ประการแรกคืออัศ-ศิยามหรือการถือศีลอดในชวงกลางวัน ซึ่งถือเปนการทําอิบาดะฮฺที่เปนฟรฎอัยนฺหรือวาญิบ ศาสนกิจบังคับที่ จําเปนตองทํา และอีกประการหนึ่งคือการกิยามหรือการละหมาดในยาม ค่ําคืนไมวาจะเปนละหมาดตะรอวีหฺ ตะฮัจุด หรือวิติรฺ แต ณ ที่นี้ กระผมของพูดถึงการละหมาดตะรอวีหฺ เนื่องจากการละหมาดดังกลาวมี เฉพาะในเดือนเราะมะฎอนเทานั้น ซึ่งถือเปนการละหมาดสุนัตที่มี ความสําคัญอยางยิ่ง พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน บรรดาอุละมาอไดใหคํานิยาม ศิยามเราะมะฎอน ไววา หมายถึง การงดหรือละเวนจากการกระทําตางๆ ที่จะทําใหศิยามเปน โมฆะ โดยมีการตั้งเจตนาในตอนกลางคืน และการงดนั้นจะเริ่มตั้งแต เวลารุงอรุณจนถึงเวลาดวงอาทิตยตก ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา »ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬ْ‫ﻢ‬ َ ‫ﻟ‬ ْ ‫ﺖ‬ِّ‫ﻴ‬َ‫ﺒ‬ُ‫ﻳ‬َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬ َ ‫ﻞ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻗ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺠ‬ َ ‫ﻔ‬ ْ ‫اﻟ‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﻓ‬َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِ‫ﺻ‬ُ َ «)‫رواه‬، ‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫اﻷﻛﺎ‬‫ﻛﻤﺎ‬‫ﻲﻓ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫وﺿﻌﻴﻒ‬‫ﺳﻦﻨ‬‫اﻟﻨﺴﺎ‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ٢٣٣١( ความวา “ผูใดก็ตามที่ไมไดตั้งเจตนาทําการถือศีลอดไวในเวลากลางคืน ก็ถือวาไมมีการถือศีลอดสําหรับเขา(สําหรับวันนั้น)” (บันทึกโดย อัน-นะ
  • 7. 7    สาอียฺ, อัล-อัลบานียฺ วินิจฉัยวาเปนหะดีษเศาะฮีหฺ ดู เศาะฮีหฺ วะ เฎาะ อีฟ สุนัน อัน-นะสาอียฺ หมายเลข 2331) อัลลอฮฺไดตรัสวา ﴿ ْ ‫وا‬ ُ ُ ‫ك‬َ‫و‬ ْ ‫وا‬ُ‫ب‬َ ۡ ‫ٱش‬َ‫و‬ٰ َّ‫ت‬َ‫ح‬َ َّ ‫ي‬َ‫ب‬ َ ‫ت‬َ‫ي‬ُ‫م‬ ُ ‫ك‬ َ ‫ل‬ُ‫ط‬ۡ‫ي‬َ ۡ ‫ٱل‬ ُ ‫ض‬َ‫ي‬ۡ‫ب‬ َ ۡ ‫ٱل‬َ‫ِن‬‫م‬ِ‫ط‬ۡ‫ي‬َ ۡ ‫ٱل‬ ِ‫د‬َ‫و‬ۡ‫س‬ َ ۡ ‫ٱل‬َ‫ِن‬‫م‬ِۖ‫ر‬ۡ‫ج‬ َ ‫ف‬ ۡ ‫ٱل‬َّ‫م‬ ُ ‫ث‬ ْ ‫وا‬ُّ‫ِم‬‫ت‬ َ ‫أ‬َ‫ام‬َ‫ي‬ ِ ّ‫ٱلص‬ َ ِ‫إ‬ِۚ‫ل‬ۡ َّ ‫ٱل‬﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٧( ความวา “และพวกเจาทั้งหลาย จงกิน จงดื่ม จนกระทั่งเสนสีขาว(แสง สวางของรุงอรุณ) จะประจักษแกพวกเจาจากเสนสีดํา(ความมืดของ กลางคืน) แลวพวกเจาจงทําใหการถือศีลอดครบสมบูรณจนถึงพลบค่ํา” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 187) พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน สําหรับอายะฮฺที่เปนหลักฐานวาวาญิบถือศีลอดในเดือนเราะ มะฏอนนั้น อัลลอฮฺไดตรัสวา ﴿َ‫ه‬ُّ‫ي‬ َ ‫أ‬ٰٓ َ ‫ي‬‫ا‬َ‫ِين‬ َّ ‫ٱل‬ ْ ‫وا‬ُ‫ن‬َ‫ام‬َ‫ء‬َ‫ب‬ِ‫ت‬ ُ ‫ك‬ُ‫م‬ ُ ‫ك‬ۡ‫ي‬ َ ‫ل‬ َ ‫ع‬ُ‫ام‬َ‫ي‬ ِ ّ‫ٱلص‬‫ا‬َ‫م‬ َ ‫ك‬َ‫ب‬ِ‫ت‬ ُ ‫ك‬ َ َ َ‫ِين‬ َّ ‫ٱل‬‫ِن‬‫م‬ۡ‫م‬ ُ ‫ِك‬‫ل‬ۡ‫ب‬ َ ‫ق‬ۡ‫م‬ ُ ‫ك‬ َّ ‫ل‬َ‫ع‬ َ ‫ل‬ َ ‫ون‬ ُ ‫ق‬َّ‫ت‬ َ ‫ت‬١٨٣﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٣( ความวา “โอบรรดาศรัทธาชนทั้งหลาย การถือศีลอดไดถูกบัญญัติแก พวกเจาแลว เชนเดียวกับที่ไดถูกบัญญัติแกบรรดาประชาชาติกอนหนา พวกเจามาแลว เพื่อวาพวกเจาจะไดตักวา” (อัลบะเกาะเราะฮฺ 183)
  • 8. 8    และอีกอายะฮฺหนึ่ง อัลลอฮฺไดตรัสวา ﴿ُ‫ر‬ۡ‫ه‬ َ ‫ش‬ َ ‫ان‬ َ ‫ض‬َ‫م‬َ‫ر‬ٓ‫ِي‬ َّ ‫ٱل‬ َ ‫ل‬ِ‫نز‬ ُ ‫أ‬ِ‫ه‬‫ِي‬‫ف‬ ُ ‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬ ُ ‫ق‬ ۡ ‫ٱل‬ ٗ ‫د‬ ُ ‫ه‬‫ى‬ِ‫اس‬َّ‫ِلن‬ ّ ‫ل‬ٖ‫ت‬ٰ َ‫ن‬ِ ّ‫ي‬َ‫ب‬َ‫و‬َ‫ِن‬ّ‫م‬ ٰ‫ى‬َ‫د‬ُ‫ه‬ ۡ ‫ٱل‬ِۚ‫ان‬ َ ‫ق‬ۡ‫ر‬ ُ ‫ف‬ ۡ ‫ٱل‬َ‫و‬‫ن‬َ‫م‬ َ ‫ف‬َ‫د‬ِ‫ه‬ َ ‫ش‬ُ‫م‬ ُ ‫ِنك‬‫م‬َ‫ر‬ۡ‫ه‬ َّ ‫ٱلش‬ُۖ‫ه‬ۡ‫م‬ ُ‫ص‬َ‫ي‬ ۡ ‫ل‬ َ ‫ف‬﴾)‫اﻛﻘﺮة‬: ١٨٥( ความวา “เดือนเราะมะฎอนนั้น เปนเดือนที่อัลกุรอานไดถูกประทานลง มาเพื่อเปนทางนําสําหรับมวลมนุษย เปนคําแจกแจงที่มาจากแนวทางที่ ถูกตองและแยกสัจธรรมออกจากความมดเท็จ ดังนั้น ผูใดในหมูพวกเจา เขาอยูในเดือนนี้แลวก็จงถือศีลอดเถิด” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 185) พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน หลังจากที่เราไดเขาใจความหมายและหุกมของการถือศีลอด เดือนเราะมะฎอนแลว ยังมีคําถามอีกหนึ่งคําถามที่เราตองหาคําตอบก็ คือ เราจะทําอยางไรใหการถือศีลอดหรือศิยามของเราใหเต็มไปดวยอี มาน(ความศรัทธา)และอิหฺติสาบ(หวังผลบุญจากอัลลอฮฺ/ความคาดหวัง เพื่อใหอัลลอฮฺทรงตอบรับ)? ทั้งนี้ก็เนื่องจากวาการถือศีลอดหรือศิยาม ในลักษณะดังกลาวนี้จะมีผลทําใหบาปของเราที่ผานมาจะถูกลบลางไป ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
  • 9. 9    »ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬ َ‫ﺻ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ ً ‫ﺎﻧ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻏ‬ُ َ ‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬ َّ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫ذ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٨‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٧( ความวา “ผูใดก็ตามที่ถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน ดวยความศรัทธา (นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทนจากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา” (อัล-บุคอรียฺ 38, มุสลิม 1817) ทานอัล-หาฟซ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดอธิบายใน หนังสือของทานฟตหุลบารียวา “คําวาอีมาน หมายถึง “ความเชื่อมั่นใน สัญญาของอัลลอฮฺตอการปฏิบัติดังกลาว” และคําวาอิหฺติสาบ หมายถึง “หวังผลตอบแทน (ผลบุญจากอัลลอฮฺ) เทานั้น ไมมีเจตนาอื่นใดแอบแฝง ไมวาจะเปนการโออวด (ริยาอ) หรือหวังคําชมเชยจากมนุษย หรือถือศีล อดเพียงปฏิบัติตามผูอื่น(ตักลีด) หรือสาเหตุอื่นๆ” และอุละมาอยังไดอธิบายคําวาบาป(ซันบุน)ในหะดีษนี้อีกวา อัลลอฮฺจะลบลางบาปทั้งหมดที่ผานมาไมวาจะเปนบาปเล็กหรือบาป ใหญ แตตามทัศนะของุมฮูรฺ(อุละมาอสวนใหญ)เห็นวาในหะดีษนี้ หมายถึงบาปเล็กเทานั้น เนื่องจากบาปใหญจําเปนจะตองเตาบะฮฺอยาง แทจริง ดังหะดีษที่ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
  • 10. 10    » ُ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬َ‫و‬ َ ‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ا‬َ‫ﺮ‬ ِّ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻜ‬ُ‫ﻣ‬ ٌ ‫ت‬‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َّ‫ﻦ‬ُ‫ﻬ‬ َ ‫ﻨ‬ ْ ‫ﻴ‬َ‫ﺑ‬‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺐ‬ َ ‫ﻨ‬َ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺟ‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﺋ‬‫ﺎ‬َ‫ﺒ‬ َ ‫ﻜ‬ ْ ‫اﻟ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٥٧٤( ความวา “และระหวางเดือนเราะมะฎอนของแตละป เปนชวงเวลาแหง การลบลางความผิดหรือบาปที่เกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว ยกเวนบาป ใหญ” (มุสลิม 574) พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน อัลลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา ไดใหความสําคัญกับอิบา ดะฮฺศิยามเดือนเราะมะฎอนมากกวาอิบาดะฮฺอื่นๆ ดังหะดีษกุดสียฺ ตอไปนี้ ‫أن‬‫ﺎ‬َ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ة‬َ‫ﺮ‬ْ‫ﻳ‬َ‫ﺮ‬ ُ ‫ﻫ‬َ ِ َ‫ر‬ُ َّ ‫اﺑ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬:ُ‫ﺖ‬ ْ ‫ﻌ‬ِ‫ﻤ‬َ‫ﺳ‬ َ ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ ‫اﺑ‬ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬ ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬:» َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬ُ َّ ‫اﺑ‬َّ‫ﺰ‬َ‫ﻋ‬ َّ ‫ﻞ‬َ‫ﺟ‬َ‫و‬: ُّ ُ ‫ﻞﻛ‬ِ‫ﻞ‬َ‫ﻤ‬ َ ‫ﻗ‬ِ‫ﻦ‬ْ‫اﺑ‬َ‫م‬ َ ‫آد‬ُ ََّ ‫ﻻ‬ِ‫إ‬ َ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬،َ‫ﻮ‬ ُ ‫ﻫ‬ِ‫ﻲﻟ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻧ‬ َ ‫أ‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ﺰ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ‫أ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬:٢٧٦٠( ความวา รายงานจากทานอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ กลาววา ฉันไดยินทานเราะซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา “อัลลอฮฺไดมี ดํารัสวา การงานทุกอยางของลูกหลานอาดัมนั้นจะไดรับผลบุญตามสวน ที่เขาไดกระทํา ยกเวนศิยาม ซึ่งเปนสิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตาม ความประสงคของเราเอง” (มุสลิม 2760)
  • 11. 11    »ُ‫ك‬ُ ْ ‫ﺮﺘ‬ َ ‫ﻓ‬ ُ ‫ﻪ‬َ‫ﺎﻣ‬َ‫ﻌ‬ َ‫ﻃ‬ ُ ‫ﻪ‬َ‫اﺑ‬َ َ ‫ﺮﺷ‬َ‫و‬َ‫و‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﺗ‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻲﻠ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ‫أ‬،ُ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ ِّ‫اﻟﺼ‬ِ‫ﻲﻟ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻧ‬ َ ‫أ‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ﺰ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ‫أ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬، ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻨ‬ َ‫ﺴ‬َْ ‫اﺤﻟ‬َ‫و‬ِ ْ ‫ﺮﺸ‬َ‫ﻌ‬ِ‫ﺑ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬ِ‫ﻟ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺜ‬ ْ ‫ﻣ‬ َ ‫أ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬١٨٩٤( ความวา “ผูที่ถือศีลอดไดละเวนและอดกลั้นจากอาหารของเขา เครื่องดื่ม ของเขา และอารมณใครของเขาเพื่อเรา(อัลลอฮฺ) ดังนั้นการถือศีลอดเปน สิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตามความประสงคของเราเอง ซึ่งการทํา ความดี(ทั่วๆ ไป)หนึ่งครั้งนั้นจะไดผลบุญสิบเทา” (อัล-บุคอรียฺ 1894) ทานอิมามอัน-นะวะวียไดอธิบายในหนังสือชัรหฺ เศาะฮีหฺ มุสลิม (7/271) วา ความจริงแลว อิบาดะฮฺทุกอยางก็เปนสิทธิของอัลลอฮฺ ในการให ผลตอบแทน แตบรรดาอุละมาอมีความเห็นตางกันใน ความหมายของหะดีษนี้ - บางคนใหความหมายวา ก็เพราะการถือศีลอดเปนอิบาดะฮฺ ที่หางไกลจากการริยาอ(โออวด) ทั้งนี้เนื่องจากวาเปนอิบาดะฮฺที่มี ลักษณะถูกเก็บซอนไวกับตัว ซึ่งมีความแตกตางจากการละหมาด หัจญ การบริจาคทาน และอื่นๆ ที่มีลักษณะการกระทําที่เปดเผยตอ สาธารณชนยอมมีความเสี่ยงที่จะเกิดการโออวดหรือตองการคําชื่นชม เยินยอ จากผูที่พบเห็น - บางคนใหความหมายวา ก็เพราะการไมรับประทานอาหาร และไมดื่ม เปนสวนหนึ่งของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ ดังนั้นผูที่ถือศีลอด
  • 12. 12    ในชวงเวลาประมาณสิบสี่ชั่วโมงก็มีความใกลเคียงกัน ถึงแมวา คุณลักษณะของอัลลอฮฺจะแตกตางกับสิ่งที่ถูกสรางทั้งหมดก็ตาม - บางคนใหความหมายวา อัลลอฮฺผูเดียวที่ทรงรูจํานวนผล บุญของการถือศีลอด ดังนั้นพระองคจะทรงเพิ่มพูนผลบุญของการถือศีล อดหลายตอหลายเทา ตามพระประสงคของพระองค ซึ่งจะแตกตาง จากอิบาดะฮฺอื่นๆ ที่พระองคไดทรงกําหนดไวเชน สิบเทา ยี่สิบหาเทา เจ็ดสิบเทา เจ็ดรอยเทา เปนตน พระองคจึงตรัสในลักษณะแสดงความ เปนเจาของวา “การถือศีลอดเปนสิทธิของเรา และเราจะตอบแทนตาม ความประสงคของเราเอง” แสดงใหเห็นวาเปนอิบาดะฮฺที่ประเสริฐและมี ผลตอบแทนอยางมหาศาล พี่นองที่มีเกียรติทุกทาน อิบาดะฮฺอีกประการหนึ่งที่มีเฉพาะในเดือนเราะมะฎอนคือ ละหมาดตะรอวีหฺ ซึ่ง ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา »ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ﺎ‬ ً ‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻏ‬ُ َ ‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬ َّ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫ذ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٥( ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในเดือนเราะมะฎอน ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา” (อัล-บุคอรียฺ 37, มุสลิม 1815)
  • 13. 13    และหะดีษอีกบทหนึ่งทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา »َ‫ﻣ‬ْ‫ﻦ‬َ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َ ِ‫ر‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ ْ ‫اﻟ‬‫ﺎ‬ ً ‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻏ‬ُ َ ‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬ َّ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫ذ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬١٩٠١( ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในค่ําคืนลัยละตุลก็อดรฺ ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา” (อัล-บุคอรียฺ 1901) คําวา "‫ﻗﺎم‬ َ ‫ﻗ‬َ‫ﺎم‬" ในสองหะดีษขางตนนั้นหมายถึงการละหมาดใน ยามค่ําคืนซึ่งในเดือนเราะมะฎอนจะมีการละหมาดชนิดหนึ่งที่ บทบัญญัติอิสลามไดกําหนดขึ้นเฉพาะในเดือนเราะมะฎอนเทานั้น นั่นก็ คือ “ละหมาดตะรอวีหฺ” ซึ่งคําวา ตะรอวีหฺ มาจากคําวา “รอหะฮฺ” มี ความหมายวา การหยุดพัก ทั้งนี้ ก็เนื่องจากวาผูละหมาดตะรอวีหฺจะมี การหยุดพักหลังจากละหมาดครบสี่ร็อกอะฮฺหรือในทุกๆ สี่ร็อกอะฮฺ สําหรับหุกมของการ “ละหมาดตะรอวีหฺ” หรือเรียกอีกอยาง หนึ่งวา “กิยาม เราะมะฎอน” นั้นเปน สุนัต มุอักกะดะฮฺ ตามหะดีษที่ ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดกลาววา
  • 14. 14    »ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫ﺎ‬ ً ‫ﺎﻧ‬َ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ً‫ﺎﺑ‬ َ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺣ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻏ‬ُ َ ‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬َ‫م‬ َّ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫ذ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨١٥( ความวา “ผูใดก็ตามที่ยืนขึ้นเพื่อทําการละหมาดในเดือนเราะมะฎอน ดวยความศรัทธา(นอมรับพระบัญชาของอัลลอฮฺ)และหวังผลตอบแทน จากพระองค แนนอนเขาจะไดรับการอภัยโทษในบาปของเขาที่ผานมา” (อัล-บุคอรียฺ 37, มุสลิม 1815) หะดีษรายงานโดยทานหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา َّ ‫ن‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ ‫اﺑ‬ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﺧ‬َ‫ج‬ َ ‫ات‬ َ ‫ذ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ِ‫ف‬ْ‫ﻮ‬َ‫ﺟ‬ ِ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬، َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺼ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺼ‬ َ ‫ﻓ‬ ٌ ‫ﺎل‬َ‫ﺟ‬ِ‫ر‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺗ‬ َ ‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬،َ‫ﺢ‬َ‫ﺒ‬ ْ ‫ﺻ‬ َ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻓ‬ُ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬ ‫ﻮا‬ ُ ‫ﺛ‬ َّ ‫ﺪ‬َ‫ﺤ‬َ‫ﺘ‬ َ ‫ﻓ‬،َ‫ﻊ‬َ‫ﻤ‬َ‫ﺘ‬ ْ ‫ﺎﺟ‬ َ ‫ﻓ‬ُ َ ‫ﺮﺜ‬ ْ ‫ﻛ‬ َ ‫أ‬ْ‫ﻢ‬ُ‫ﻬ‬ ْ ‫ﻨ‬ِ‫ﻣ‬‫ا‬ْ‫ﻮ‬ َّ ‫ﻠ‬ َ‫ﺼ‬ َ ‫ﻓ‬ ُ ‫ﻪ‬َ‫ﻌ‬َ‫ﻣ‬،َ‫ﺢ‬َ‫ﺒ‬ ْ ‫ﺻ‬ َ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻓ‬ُ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ﺛ‬ َّ ‫ﺪ‬َ‫ﺤ‬َ‫ﺘ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ُ ‫ﺮﺜ‬ َ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻓ‬ ُ ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻫ‬ َ ‫أ‬ِ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ْ‫ﻦ‬ِ‫ﻣ‬ َ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬ِ‫ﺔ‬ِ‫ﺔ‬َ ِ‫ﺎﺨﻛ‬َّ‫اﺨﻛ‬،َ‫ج‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﺨ‬ َ ‫ﻓ‬ ُ ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ ‫اﺑ‬ ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬‫ا‬ْ‫ﻮ‬ َّ ‫ﻠ‬ َ‫ﺼ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺗ‬ َ ‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬،‫ﺎ‬َّ‫ﻤ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ﺖ‬ َ ‫ﻧ‬ َ ‫ﺎﻛ‬ ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬ ُ ‫ﺔ‬َ‫ﻌ‬ِ‫اﺑ‬َّ‫اﻟﺮ‬َ‫ﺰ‬َ‫ﺠ‬َ‫ﻋ‬ ُ‫ﺪ‬ِ‫ﺠ‬ ْ‫ﺴ‬َ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ْ‫ﻦ‬ َ ‫ﻗ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻫ‬ َ ‫أ‬،‫ﻤﻟﺴﻠﻢ‬ ‫رواﻳﺔ‬ ‫و‬ ‫ـ‬:ْ‫ﻢ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ج‬ُ‫ﺮ‬ ْ َ ‫ﺨﻳ‬ْ‫ﻢ‬ِ‫ﻬ‬ْ َ ِ‫إ‬ ُ ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ ِ َّ ‫اﺑ‬-‫ﺻﻰﻠ‬‫اﷲ‬‫ﻋﻠﻴﻪ‬‫وﺳ‬‫ﻠﻢ‬-َ‫ﻖ‬ِ‫ﻔ‬ َ‫ﻄ‬ َ ‫ﻓ‬ ٌ ‫ﺎل‬َ‫ﺟ‬ِ‫ر‬ْ‫ﻢ‬ُ‫ﻬ‬ ْ ‫ﻨ‬ِ‫ﻣ‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﻮﻟ‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬: َ ‫ة‬ َ ‫ﻼ‬ َّ‫اﻟﺼ‬، ْ‫ﻢ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ج‬ُ‫ﺮ‬ ْ َ ‫ﺨﻳ‬ْ‫ﻢ‬ِ‫ﻬ‬ْ َ ِ‫إ‬ ُ ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬‫ﺻﻰﻠ‬‫اﷲ‬‫ﻋﻠﻴﻪ‬‫وﺳﻠﻢ‬‫ـ‬َّ َ‫ﺣ‬َ‫ج‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﺧ‬ ِ‫ة‬ َ ‫ﻼ‬ َ‫ﺼ‬ِ‫ﻟ‬ِ‫ﺢ‬ ْ ‫ﺒ‬ ُّ‫اﻟﺼ‬‫ﺎ‬َّ‫ﻤ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬ َ َ ‫ﻗ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺠ‬ َ ‫ﻔ‬ ْ ‫اﻟ‬ َ ‫ﻞ‬َ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻗ‬ َ ‫أ‬ َ َ‫ﺒﻟ‬ِ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬ َ ‫ﺪ‬ َّ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺸ‬ َ ‫ﺘ‬ َ ‫ﻓ‬َّ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻋ‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬:
  • 15. 15    »‫ﺎ‬ َّ ‫ﻣ‬ َ ‫أ‬ُ‫ﺪ‬ ْ ‫ﻌ‬َ‫ﻧ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬ َ ‫ﻓ‬ْ‫ﻢ‬ َ ‫ﻟ‬ َ ‫ﻒ‬ ْ َ ‫ﺨﻳ‬َّ َ َ‫ﻲﻠﻋ‬ْ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ ُ ‫ﻧ‬ َ ‫ﺎﻜ‬َ‫ﻣ‬ِّ‫ﻲﻨ‬ِ‫ﻜ‬ َ ‫ﻟ‬ُ‫ﻴﺖ‬ ِ‫ﺸ‬ َ ‫ﺧ‬ ْ ‫ن‬ َ ‫أ‬ َ ‫ض‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻳ‬ ْ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬‫وا‬ُ‫ﺰ‬ِ‫ﺠ‬ ْ ‫ﻌ‬َ‫ﺘ‬ َ ‫ﻓ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻗ‬«‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٩٢٤‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،١٨٢٠( ความวา ทานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดออกไปยังมัสญิด ในยามดึก(ของเดือนเราะมะฎอน)แลวทําการละหมาด และไดมีเศาะ หาบะฮฺบางคนละหมาดพรอมทานดวย เหตุการณที่เกิดขึ้นไดมีการพูด ตอๆ กันไปในหมูเศาะหาบะฮฺ จนกระทั่งมีคนมาละหมาดกับทานมากขึ้น คืนที่สองทานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดออกไปละหมาดอีก ไดมีผูคนมาละหมาดกับทานมากขึ้นอีก และพวกเขาก็ไดพูดถึงเรื่องนี้ใน เวลารุงขึ้น เมื่อถึงคืนที่สามทานเราะสูลไดออกไปละหมาดอีกและไดมี ผูคนไปละหมาดกับทานเหมือนเดิม พอถึงคืนที่สี่มัสยิดก็เต็มจนไม สามารถจุผูคนที่มีจํานวนเยอะได (ในรายงานของมุสลิมระบุวา ทานเราะ สูลไมออกมาในคืนนี้ ผูชายบางคนจึงไดกลาววา อัศ-เศาะลาฮฺ(มา ละหมาดกันเถิด) ทานเราะสูลยังคงไมออกไป) จนกระทั่งถึงรุงเชา ทาน จึงออกไปละหมาดฟจญรฺ(ละหมาดศุบหฺ) เมื่อทานละหมาดเสร็จทานได หันหนาเขาหาผูที่มารวมละหมาด และกลาววา “แทจริงแลว เรื่องราวที่ เกิดขึ้นเมื่อคืนนี้ เรารับรูทั้งหมด แตสาเหตุที่เรามิไดออกมาละหมาดกับ พวกทานอีกนั้น ก็เพราะเรากลัววาการละหมาดในยามค่ําคืนจะถูก บัญญัติใหเปนฟรฎสําหรับพวกทาน แลวพวกทานก็จะออนแรงที่จะ ปฏิบัติมัน” (อัล-บุคอรียฺ 924, มุสลิม 1820)
  • 16. 16    สําหรับเวลาและวิธีการละหมาดตะรอวีหฺนั้น เวลาของวิธีการ ละหมาดตะรอวีหฺ จะเริ่มการละหมาดหลังจากละหมาดอิชาอไปจนถึง กอนละหมาดศุบหฺ โดยจะมีการใหสลามในทุกๆ สองร็อกอะฮฺ และมีการ หยุดพักหลังจากสี่ร็อกอะฮฺ ทานอิมามอัน-นะวะวียไดกลาวถึงเกี่ยวกับรูปแบบการละหมาดตะรอวีหฺ ในหนังสือบทอธิบายเศาะฮีหฺมุสลิม (6/286) มีใจความวา บรรดาอุ ละมาอมีความเห็นที่แตกตางกันระหวางการละหมาดตะรอวีหฺคนเดียวที่ บานกับการละหมาดตะรอวีหฺในลักษณะญะมาอะฮฺที่มัสญิด การ ละหมาดในลักษณะใดดีกวากัน? ซึ่งอิมามอัช-ชาฟอีย อิมาม, อบู หะนี ฟะฮฺ, อิมามอะหฺมัด และอุละมาอมัซฮับมาลิกียบางคนมีทัศนะวาการ ละหมาดตะรอวีหฺในลักษณะญะมาอะฮฺที่มัสญิดดีกวา ดังเชนการกระทํา ของทานอุมัรฺ อิบนุ อัล-ค็อฏฏอบ และบรรดาเศาะหาบะฮฺ ในขณะที่อิ มามมาลิก อบู ยูซุฟ และอุละมาอมัซฮับอัช-ชาฟอียบางคนมีทัศนะวา การละหมาดตะรอวีหฺคนเดียวที่บานดีกวา โดยยึดหะดีษทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ไดกลาวไวความวา “การละหมาดที่ดีที่สุด คือ การละมาดคนเดียวที่บาน ยกเวนการละหมาดฟรฎ(หาเวลา)” สําหรับจํานวนร็อกอะฮฺนั้น คือ สิบเอ็ดร็อกอะฮฺรวมละหมาดวิ ติรฺ ตามหะดีษที่รายงานโดยทานหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา วา ْ‫ﻦ‬ َ ‫ﻗ‬ِ َ ‫أ‬ َ ‫ﺔ‬َ‫ﻤ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬ِ‫ﻦ‬ْ‫ﺑ‬ َ ‫ﻗ‬ِ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ِ‫ﻦ‬َ ْ ‫ﻤﺣ‬َّ‫اﻟﺮ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ َ ‫ﻛ‬ َ ‫ل‬ َ ‫ﺄ‬َ‫ﺳ‬ َ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺸ‬ِ‫ﺋ‬ َ‫ﺨ‬َ ِ َ‫ر‬ُ َّ ‫اﺑ‬‫ﺎ‬َ‫ﻬ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻗ‬: َ ‫ﻒ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻛ‬ ْ ‫ﺖ‬ َ ‫ﻧ‬ َ ‫ﺎﻛ‬ ُ ‫ة‬ َ ‫ﻼ‬ َ‫ﺻ‬ِ‫ﻮل‬ُ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ‫ﺻ‬ُ َّ ‫اﺑ‬ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬َ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬َ‫ﺳ‬َ‫و‬ِ‫ﻲﻓ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬‫؟‬
  • 17. 17    ْ ‫ﺖ‬ َ ‫ﺎﻟ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬:‫ﺎ‬َ‫ﻣ‬ َ ‫ن‬ َ ‫ﺎﻛ‬ُ‫ﻳﺪ‬ِ‫ﺰ‬َ‫ﻳ‬ِ‫ﻲﻓ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬َ‫ﻣ‬َ‫ر‬ َ ‫ﻻ‬َ‫و‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ه‬ِ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﻟ‬ َ َ‫ﺒﻟ‬‫ى‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺣ‬ِ‫إ‬ َ ‫ة‬َ ْ ‫ﺮﺸ‬َ‫ﻋ‬. )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٢٠١٣( ความวา จาก อบู สะละมะฮฺ บิน อับดุรเราะหมาน ไดถามทานหญิงอาอิ ชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา วา การละหมาดของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ในเดือนเราะมะฎอนเปนเชนไร? ทานหญิงอาอิชะฮฺตอบวา ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ละหมาดทั้งในเดือนเราะมะฎอน และในเดือนอื่นๆ ไมเกินสิบเอ็ดร็อกอะฮฺ (อัล-บุคอรียฺ 2013) ทาน อัล-หาฟซ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดรวบรวมใน ฟตหุลบารีย เกี่ยวกับจํานวนร็อกอะฮฺของการละหมาดตะรอวีหฺและวิติรฺ ที่ไดมีการปฏิบัติกัน คือ 11 ร็อกอะฮฺ, 13 ร็อกอะฮฺ, 21 ร็อกอะฮฺ, 23 ร็อกอะฮฺ, 36 ร็อกอะฮฺ, 41 ร็อกอะฮฺ และ 47 ร็อกอะฮฺ ซึ่งการละหมาดยี่สิบร็อกอะฮฺไมรวมวิติรฺเปนการกระทําของ ทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุ อัล-ค็อฏฏอบ และ 36 ร็อกอะฮฺก็เปนการ กระทําของทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ อยางไรก็ตามหะดีษที่เศาะฮีหฺที่เกี่ยวกับการละหมาดของทานน บีในเดือนเราะมะฎอนนั้น คือหะดีษอาอิชะฮฺขางตน สวนหะดีษของ ทานอิบนุ อับบาสที่รายงานวาทานนบีละหมาดในเดือนเราะมะฎอนยี่สิบ ร็อกอะฮฺและวิติรฺนั้น เปนหะดีษที่เฎาะอีฟ ตามที่ทานอัล-หาฟซ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย ไดกลาวไว
  • 18. 18    และสุนัตใหละหมาดตะรอวีหฺพรอมกับอิมามจนเสร็จสิ้นการ ละหมาด ตามหะดีษที่รายงานโดยอบู ซัรร ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา » ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ِ‫إ‬ْ‫ﻦ‬َ‫ﻣ‬َ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬َ‫ﻊ‬َ‫ﻣ‬ِ‫ﺎم‬ َ‫ﻣ‬ِ ْ ‫اﻹ‬َّ َ‫ﺣ‬ َ ‫ف‬ِ َ‫ﺮﺼ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻓ‬َ‫ﺐ‬َ‫ﺘ‬ َ ‫ﻛ‬ُ َّ ‫اﺑ‬ُ ََ‫ﺎم‬َ‫ﻴ‬ِ‫ﻗ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َ « )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٧٣٤‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫واﻟﻨﺴﺎ‬ ،١٥٨٧‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫واﺑﻦ‬ ، ١٣١٧‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﻛﻤﺎ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺢ‬ ،‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤١٧( ความวา “ผูใดก็ตามที่ละหมาดพรอมกับอิมามจนเสร็จสิ้นการละหมาด เขาจะไดรับผลบุญเทากับการละหมาดตลอดทั้งคืน” (อัต-ติรมิซียฺ 734, อัน-นะสาอียฺ 1587, อิบนุ มาญะฮฺ 1317, อัล-อัลบานียฺ กลาววาเปนหะ ดีษเศาะฮีหฺ ดู เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 2417) ‫ﺑﺎرك‬‫اﷲ‬‫ﻲﻟ‬‫وﻟﻜﻢ‬‫ﻲﻓ‬‫اﻟﻘﺮآن‬،‫اﻟﻌﻈﻴﻢ‬‫وﻧﻔﻌﻲﻨ‬‫وإﻳﺎﻛﻢ‬‫ﺑﻤﺎ‬‫ﻓﻴﻪ‬‫ﻣﻦ‬ ‫اﻵﻳﺎت‬‫ﻛﺮ‬ ‫وا‬،‫اﺤﻟﻜﻴﻢ‬‫وﺗﻘﺒﻞ‬‫ﻣﻲﻨ‬‫وﻣﻨﻜﻢ‬،‫ﺗﻼوﺗﻪ‬‫إﻧﻪ‬‫ﻫﻮ‬‫اﻟﺴﻤﻴﻊ‬ ‫اﻟﻌﻠﻴ‬‫ﻢ‬.‫و‬‫أ‬‫ﺳﺘﻐﻔﺮ‬‫اﷲ‬‫ﻲﻟ‬‫وﻟﻜﻢ‬‫ﻣﻦ‬‫ﻞﻛ‬‫ذﻧﺐ‬‫ﻓﺎﺳﺘﻐﻔﺮوه‬‫إﻧﻪ‬‫ﻫﻮ‬‫اﻟﻐﻔﻮر‬ ‫اﻟﺮﺣﻴﻢ‬.