SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
สภาวะของจิตสานึก (Conscious)
สภาวะจิตสานึกหรือภาวะการรู้สึกตัว หมายถึงการมี
ความระมัดระวัง มีการเตรียมตัวและตื่นตัว (Alert)
มีความคล่องแค่วกระฉับกระเฉง (Active) เสมือน
หนึ่งว่าได้ตื่นตัวอย่างเต็มที่ พ้นจากความสะลึมสะลือ
หลังตื่นนอนแล้ว หรือการที่มนุษย์มีความรู้สึกตื่นตัวและ
พร้อมที่จะมีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อมนั่นเอง
(สงคราม เชาวน์ศิลป์. 2535 : 152-154)
สภาวะของจิตสานึก (Conscious) ต่อ
• นักจิตวิทยาได้พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องของ
ภาวะการรู้ตัวของมนุษย์อันเชื่อมโยงไปสู่เรื่องของ
ความคิด จินตนาการ ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ของการแสดงออกทางด้านการใช้ภาษา และยิ่งไปกว่านั้น
ยังนาไปสู่เรื่องภาวะของความฝัน การทาสมาธิ การ
สะกดจิต การหลับและการใช้ยาเสพติดบางชนิดอีกด้วย
สภาวะของจิตสานึก (Conscious) ต่อ
• ก่อนที่เราจะเรียนรู้ถึงความหมายที่แท้จริงและกระบวนการของสภาวะ
จิตสานึก ควรจะทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการภายในของจิตใจใน
ตัวบุคคลเสียก่อน นั่นก็คือเรื่องสภาวะของจิตไม่รู้สานึก
(Nonconscious) สภาวะจิตก่อนสานึก (Preconscious)
และสภาวะจิตไร้สานึก (Unconscious) ซึ่งสภาวะทั้งสามชนิดนี้
จะเกิดภายในกระบวนการของสภาวะจิตสานึกอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ
เราไม่เพียงแต่จะมีการจาและการลืมในสิ่งของต่างๆ ได้เท่านั้นแต่เรายัง
สามารถแปรเปลี่ยนความสนใจจากของสิ่งหนึ่งไปยังอีกสิ่งหนึ่งได้ และ
เรายังสามารถแสดงการกระทาที่เสมือนหนึ่งปราศจากสติ หรือคล้ายๆ
กับเราทาไปโดยความเคยชินได้ด้วย ดังนั้นเรื่องที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเป็น
เรื่องเกี่ยวกับการจาแนกระดับสภาวะจิตสานึก 3 ชนิดด้วยกัน
จิตสานึก (Conscious)
• จิตสานึก (Conscious) คือสภาวะที่มีสติ รู้ตัว รู้ว่า
กาลังทาอะไรอยู่หรือกาลังจะทาอะไรรู้จักตัวเองว่าเป็น
ใคร ต้องการอะไร ทาอะไรอยู่ที่ไหน กาลังรู้สึกอย่างไรต่อ
สิ่งใด การแสดงอะไรออกไปที่แสดงไปตามหลักเหตุผล
เปรียบได้กับส่วนของก้อนน้าแข็งที่โผล่ผิวน้าขึ้นมามี
จานวนน้อยมาก
จิตใต้สานึก (Subconscious)
• จิตใต้สานึก (Subconscious ) หรือ จิตก่อนสานึก
(Preconscious) คือสภาพที่ไม่รู้ตัวในบางขณะ เช่น
กระดิกเท้า ผิวปาก ฮัมเพลงโดยไม่รู้ตัว ยิ้มคนเดียวโดยไม่
รู้ตัว พูดอะไรออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ และประสบการณ์
ต่างๆที่เก็บไว้ในรูปของความทรงจา เช่น ความประทับใจ
ในอดีต ถ้าไม่นึกถึงก็ไม่รู้สึกอะไร แต่ถ้าทบทวน
เหตุการณ์ทีไรก็ทาให้เกิดปลื้มใจทุกที เปรียบได้กับส่วน
ของก้อนน้าแข็งที่อยู่ใต้น้า
จิตไร้สานึก (Unconscious)
• จิตไร้สานึก (unconscious) เป็นส่วนของจิตที่ใหญ่
ที่สุด และมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ และเป็นส่วน
ที่ไม่รู้สึกตัวเลย อาจมาจากเจ้าตัวพยายามเก็บกดเอาไว้
เช่น เกลียดครู หรือพยายามที่จะลืม แล้วในที่สุดก็ลืมๆไป
ดูเหมือนไปจริงๆ แต่ที่จริงไม่ได้หายไปไหน ยังอยู่ในตัว
ลักษณะจิตไร้สานึก และจะแสดงออกมาในรูปความฝัน
การละเมอ เปรียบได้ส่วนของน้าแข็งที่อยู่ใต้น้า
การเรียนรู้ มี ๖ แบบ คือ
๑. ประเภท V-A-K เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีหากได้อ่านและเล่าเรื่อง เป็น
เด็กที่ขยันเรียนแต่ไม่ชอบเล่นกีฬา
๒. ประเภท V-K-A เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีหากลงมือปฏิบัติตาม
แบบอย่าง ชอบตั้งคาถามและทางานเป็นกลุ่ม
๓. ประเภท A-K-V เรียนรู้ได้ดีหากได้สอนคนอื่นชอบขยายความ
เวลาเล่าเรื่องมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านเขียน
๔. ประเภท A-V-K เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเจรจา พูดชัดถ้อย
ชัดคา มีเหตุผล รักความจริง ชอบวิชาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวิชา
ที่ต้องใช้ความคิด เวลาเรียนจะพยายามพูดเพื่อให้ตัวเองเกิดความ
เข้าใจ ไม่ชอบกีฬา
๕. ประเภท K-V-A เป็นผู้ที่เรียนได้ดีหากได้ทางานที่ใช้ความคิดในที่
เงียบ สามารถทางานที่ใช้กาลังได้อย่างดี และจะเกิดความสับสนหาก
ครูพูดมากๆ
๖. ประเภท K-A-V เป็นผู้ที่เรียนได้ดีหากได้เคลื่อนไหวไปด้วย ไม่
ชอบอยู่นิ่ง มักมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านเขียน
ผู้จัดทา
นางสาวปัฐมาพร ถนอมเงิน
รหัส 5801602092 รุ่น 2 กลุ่ม 4

More Related Content

What's hot

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
Tatthep Deesukon
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
Pijak Insawang
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 

What's hot (20)

รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
Math e book release2-1.1
Math e book release2-1.1Math e book release2-1.1
Math e book release2-1.1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Similar to สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)

นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
nopthai
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
Chinnakorn Pawannay
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
Kobchai Khamboonruang
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 

Similar to สภาวะของจิตสำนึก (Conscious) (6)

นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 

More from Naracha Nong

แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
Naracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 

More from Naracha Nong (6)

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 

สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)

  • 1. สภาวะของจิตสานึก (Conscious) สภาวะจิตสานึกหรือภาวะการรู้สึกตัว หมายถึงการมี ความระมัดระวัง มีการเตรียมตัวและตื่นตัว (Alert) มีความคล่องแค่วกระฉับกระเฉง (Active) เสมือน หนึ่งว่าได้ตื่นตัวอย่างเต็มที่ พ้นจากความสะลึมสะลือ หลังตื่นนอนแล้ว หรือการที่มนุษย์มีความรู้สึกตื่นตัวและ พร้อมที่จะมีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อมนั่นเอง (สงคราม เชาวน์ศิลป์. 2535 : 152-154)
  • 2. สภาวะของจิตสานึก (Conscious) ต่อ • นักจิตวิทยาได้พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องของ ภาวะการรู้ตัวของมนุษย์อันเชื่อมโยงไปสู่เรื่องของ ความคิด จินตนาการ ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบสาคัญ ของการแสดงออกทางด้านการใช้ภาษา และยิ่งไปกว่านั้น ยังนาไปสู่เรื่องภาวะของความฝัน การทาสมาธิ การ สะกดจิต การหลับและการใช้ยาเสพติดบางชนิดอีกด้วย
  • 3. สภาวะของจิตสานึก (Conscious) ต่อ • ก่อนที่เราจะเรียนรู้ถึงความหมายที่แท้จริงและกระบวนการของสภาวะ จิตสานึก ควรจะทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการภายในของจิตใจใน ตัวบุคคลเสียก่อน นั่นก็คือเรื่องสภาวะของจิตไม่รู้สานึก (Nonconscious) สภาวะจิตก่อนสานึก (Preconscious) และสภาวะจิตไร้สานึก (Unconscious) ซึ่งสภาวะทั้งสามชนิดนี้ จะเกิดภายในกระบวนการของสภาวะจิตสานึกอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ เราไม่เพียงแต่จะมีการจาและการลืมในสิ่งของต่างๆ ได้เท่านั้นแต่เรายัง สามารถแปรเปลี่ยนความสนใจจากของสิ่งหนึ่งไปยังอีกสิ่งหนึ่งได้ และ เรายังสามารถแสดงการกระทาที่เสมือนหนึ่งปราศจากสติ หรือคล้ายๆ กับเราทาไปโดยความเคยชินได้ด้วย ดังนั้นเรื่องที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเป็น เรื่องเกี่ยวกับการจาแนกระดับสภาวะจิตสานึก 3 ชนิดด้วยกัน
  • 4. จิตสานึก (Conscious) • จิตสานึก (Conscious) คือสภาวะที่มีสติ รู้ตัว รู้ว่า กาลังทาอะไรอยู่หรือกาลังจะทาอะไรรู้จักตัวเองว่าเป็น ใคร ต้องการอะไร ทาอะไรอยู่ที่ไหน กาลังรู้สึกอย่างไรต่อ สิ่งใด การแสดงอะไรออกไปที่แสดงไปตามหลักเหตุผล เปรียบได้กับส่วนของก้อนน้าแข็งที่โผล่ผิวน้าขึ้นมามี จานวนน้อยมาก
  • 5. จิตใต้สานึก (Subconscious) • จิตใต้สานึก (Subconscious ) หรือ จิตก่อนสานึก (Preconscious) คือสภาพที่ไม่รู้ตัวในบางขณะ เช่น กระดิกเท้า ผิวปาก ฮัมเพลงโดยไม่รู้ตัว ยิ้มคนเดียวโดยไม่ รู้ตัว พูดอะไรออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ และประสบการณ์ ต่างๆที่เก็บไว้ในรูปของความทรงจา เช่น ความประทับใจ ในอดีต ถ้าไม่นึกถึงก็ไม่รู้สึกอะไร แต่ถ้าทบทวน เหตุการณ์ทีไรก็ทาให้เกิดปลื้มใจทุกที เปรียบได้กับส่วน ของก้อนน้าแข็งที่อยู่ใต้น้า
  • 6. จิตไร้สานึก (Unconscious) • จิตไร้สานึก (unconscious) เป็นส่วนของจิตที่ใหญ่ ที่สุด และมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ และเป็นส่วน ที่ไม่รู้สึกตัวเลย อาจมาจากเจ้าตัวพยายามเก็บกดเอาไว้ เช่น เกลียดครู หรือพยายามที่จะลืม แล้วในที่สุดก็ลืมๆไป ดูเหมือนไปจริงๆ แต่ที่จริงไม่ได้หายไปไหน ยังอยู่ในตัว ลักษณะจิตไร้สานึก และจะแสดงออกมาในรูปความฝัน การละเมอ เปรียบได้ส่วนของน้าแข็งที่อยู่ใต้น้า
  • 7. การเรียนรู้ มี ๖ แบบ คือ ๑. ประเภท V-A-K เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีหากได้อ่านและเล่าเรื่อง เป็น เด็กที่ขยันเรียนแต่ไม่ชอบเล่นกีฬา ๒. ประเภท V-K-A เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีหากลงมือปฏิบัติตาม แบบอย่าง ชอบตั้งคาถามและทางานเป็นกลุ่ม ๓. ประเภท A-K-V เรียนรู้ได้ดีหากได้สอนคนอื่นชอบขยายความ เวลาเล่าเรื่องมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านเขียน
  • 8. ๔. ประเภท A-V-K เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเจรจา พูดชัดถ้อย ชัดคา มีเหตุผล รักความจริง ชอบวิชาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวิชา ที่ต้องใช้ความคิด เวลาเรียนจะพยายามพูดเพื่อให้ตัวเองเกิดความ เข้าใจ ไม่ชอบกีฬา ๕. ประเภท K-V-A เป็นผู้ที่เรียนได้ดีหากได้ทางานที่ใช้ความคิดในที่ เงียบ สามารถทางานที่ใช้กาลังได้อย่างดี และจะเกิดความสับสนหาก ครูพูดมากๆ ๖. ประเภท K-A-V เป็นผู้ที่เรียนได้ดีหากได้เคลื่อนไหวไปด้วย ไม่ ชอบอยู่นิ่ง มักมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านเขียน