SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน งานพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายวิชญสัณห์ เศรษฐบุตร เลขที่ 32
นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล เลขที่ 36
ชั้น 6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
1. นาย วิชญสัณห์ เศรษฐบุตร เลขที่ 32
2. นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล เลขที่ 36
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
งานพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
physic forensic
ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วิชญสัณห์ เศรษฐบุตร,นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์,ครูวรวัฒน์ ธรรมวงศ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสารและพลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นาไปใช้ในการพัฒนา
เทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออานวยความสะดวกแก่มนุษย์
นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทางานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทางานด้าน
ทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทางานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้น
เกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้
ทดลองไว้หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ
3
ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจากัดของการสังเกต และประสิทธิภาพ
ของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้อง
มากขึ้น ทาให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎี
และกฎที่มีอยู่เดิมทานายไว้ทาให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทาให้ความสามารถในการทานายมี
มากขึ้น
โดยผู้จัดทาสนใจในด้านการทดลองของฟิสิกส์เพื่อต้องการทราบถึงงานในการพิสูจน์หลักฐาน
ทางฟิสิกส์และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอน รวมถึงยังศึกษาเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
การเรียนระดับสูงขึ้นหรือการเข้าทางานต่อในสายอาชีพงานสืบสวนและพิสูจน์หลักฐานสาขาต่างๆอีก
ต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1) เพื่อศึกษาขอบเขตการทางานการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
2) เพื่อศึกษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1) หน้าที่ความรับผิดชอบของการทางานการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
2) เครื่องมือและคุณสมบัติในการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การตรวจพยานวัตถุทางฟิสิกส์ในงานพิสูจน์หลักฐาน เป็นการตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ และการตรวจ
วิเคราะห์ทางด้านคุณภาพวิเคราะห์ (Qualitative Analysis) เปรียบเทียบพยานวัตถุ ค้นหาแหล่งที่มาของพยานวัตถุ
ซึ่งเป็นงานตรวจวิเคราะห์ที่กว้างขวางและหลากหลายรูปแบบของพยานวัตถุ เช่น พยานวัตถุประเภทผ้า เส้นใย และ
โพลีเมอร์ ประเภทวัตถุระเบิด ประเภทชิ้นส่วนยานยนต์ หรือเศษกระจก เศษหิน ดิน ทราย เป็นต้น ซึ่งต้องใช้
เครื่องมือในการวิเคราะห์หลายประเภท
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เปรียบเทียบพยานวัตถุ ค้นหาแหล่งที่มาของพยานวัตถุ
4
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.Thermal Analysis (DTA-50/ DSC-60)
คุณสมบัติทั่วไป
เป็นเครื่องสาหรับวัดค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในของสารประกอบ โดยการให้พลังงานความร้อนแก่สาร
ตัวอย่าง แล้วตรวจวัดค่าพลังงานภายในที่สารตัวอย่างใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็นของเหลว ซึ่ง
สามารถวัดค่าพลังงานภายในของสารประกอบได้ทั้งแบบคายความร้อน (Exothermic) และแบบดูดความร้อน
(Endothermic) ซึ่งควบคุมการทางานและประมวลด้วยระบบคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้งาน
สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้
ตรวจวิเคราะห์สารวัตถุระเบิด เช่น BOP, DNT, RDX, TNT หรือ HMX ฯ
ตรวจวัตถุประเภทโพลีเมอร์ หรือพลาสติก
2.Fourier Transform Infrared Spectrophotometer (IRPrestige-21/FTIR-8400S)
with Microscopy (AIM-8800)
คุณสมบัติทั่วไป
เป็นเครื่องวิเคราะห์หาโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้หลักการ การดูดกลืนรังอินฟราเรด เมื่อรังสี
อินฟราเรดถูกดูดกลืนพลังงานนั้นจะถูกเปลี่ยน เป็นพลังงานการหมุนและสั่นของโมเลกุล โดยโมเลกุลของสารแต่
ละชนิดจะให้สเปคตรัมที่เป็นเอกลักณ์ของพันธะในโมเลกุลนั้นๆ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพิสูจน์หาสูตร
5
โครงสร้างของสารประกอบ ซึ่งในปัจจุบันมี IR Spectrum Libraries ของสารประกอบต่างๆ ที่จัดไว้เป็นกลุ่มๆ ตาม
คุณสมบัติทางเคมี ที่สามารถเปรียบเทียบสเปตรัมของสารตัวอย่างกับ IR Spectrum Libraries โดยอัตโนมัติด้วย
ระบบคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกชนิดของสารตัวอย่างได้พร้อมทั้งสามารถคานวณหาปริมาณของสารตัวอย่างได้
เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน
การประยุกต์ใช้งาน
สามารถใช้ในงานตรวจวิเคราะห์ทั่วไปได้กว้างขวาง และมีอุปกรณ์ประกอบต่างๆ หลายแบบที่สามารถ ตรวจวัตถุ
พยานทั้งที่เป็นของแข็งและของเหลวโดยไม่ต้องมีขั้นตอนเตรียมตัวอย่างให้ยุ่งยาก ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ในงาน
ตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้
ตรวจพิสูจน์เศษสีจากอุบัติเหตุรถยนต์ หรือเปรียบเทียบลาดับชั้นของสี
ตรวจพิสูจน์สารปนเปื้อนจากพยานวัตถุต่างๆ เช่น กระดาษ ผ้าหรือเส้นใย
ตรวจพิสูจน์หาโครงสร้างของสารเคมีต่างๆ
ตรวจพิสูจน์หาชนิดและความคล้ายคลึงของผ้า หรือเส้นใย
3.Energy Dispersive X-Ray Fluorescence Spectrometer (EDX-700/800/900)
คุณสมบัติทั่วไป
เป็นเครื่องมือวิเคราะห์หาปริมาณธาตุได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของวัสดุ ตั้งแต่ธาตุคาร์บอนถึงธาตุยูเรเนียม
โดยอาศัยหลักการ X-Ray Fluorescence เป็นการวัดระดับพลังงาน ที่วัตุคล้ายระดับพลังงานออกมา เมื่อได้รับการ
กระตุ้นจากรังสีเอ๊กส์ สามารถวิเคราะห์ชิ้นงานตัวอย่างได้ทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว หรือ เป็นผง สภาวะการ
ทดสอบสามารถทาได้ทั้งในบรรยากาศปกติ สุญญากาศ และแก๊ส ฮีเลียม เหมาะสาหรับงานด้านอิเล็กทรอนิกส์
โลหะ ชีวภาพ อาหาร เคมี และงานปิโตรเคมี หรืองานอื่นๆที่ต้องการหาปริมาณของธาตุ การวิเคราะห์รวดเร็ว
แม่นยา และการใช้งานง่าย
การประยุกต์ใช้งาน
สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้
ตรวจหาชนิดของหมึกบนเอกสารของกลาง
ตรวจพิสูจน์เศษสีจากอุบัติเหตุรถยนต์ หรือเปรียบเทียบลาดับชั้นของสี
เขม่าดินปืน เช่นธาตุแอนติโมนี (Sb) และธาตุแบเรียม (Ba) ซึ่งเป็นธาตุที่ผสมอยู่ในชนวนท้ายกระสุนปืน
สารเคมีหรือยาพิษประเภทสารหนู (As) ปรอท (Hg) ตะกั่ว (Pb) ฯ
6
ตรวจวิเคราะห์เศษกระจก ดิน ทราย พลาสติก
ตรวจหาธาตุหรือไอออนในตัวอย่างประเภท Biological จากของเหลวภายในร่างกาย
4.X-Ray Diffractometer (XRD-6000/7000)
คุณสมบัติทั่วไป
เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ได้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของวัสดุ โดยอาศัยหลักการ X-Ray Diffraction ซึ่งเป็นการ
เลี้ยวเบนของรังสี สามารถวิเคราะห์ชิ้นงานตัวอย่างได้ทั้งสถานะของแข็ง และเป็นผง ที่สามารถวิเคราะห์โครงสร้าง
ผลึก (Crystalline structural analysis) หรือการวิเคราะห์แบบ State analysis หรือความเค้นของออสเตนไนด์ตกค้าง
ของวัสดุ การวิเคราะห์ให้ความแม่นยาสูง
การประยุกต์ใช้งาน
สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้
ตรวจหาธาตุ หรือสารพิษในตัวอย่างประเภท Biological จากของเหลวภายในร่างกาย
ตรวจหาโครงสร้างของสารที่เป็นพิษเช่น Asbestos
ตรวจพิสูจน์โครงสร้างของสารเคมีต่างๆเช่น สารเสพติดและยาพิษ
5.Scanning Electron Microscope (SEM, SS-550/SSX-550)
คุณสมบัติทั่วไป
กล้องจุลทรรศน์อีเล็คตรอนแบบสแกนนิ่ง (SEM) เป็นเครื่องที่ใช้ลาแสงของอิเล็คตรอนและสนามแม่เหล็ก ที่
สามารถส่องกราดไปบนพื้นผิวของวัตถุที่ต้องศึกษา ซึ่งจะได้ภาพสามมิติ กาลังขยายและการแจกแจงที่สูงมาก
สามารถบันทึกและพิมพ์ภาพนั้นเพื่อประกอบการพิจารณาได้นอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้วสามารถติดตั้ง
7
อุปกรณ์พิเศษเพื่อวิเคราะห์ธาตุเชิงคุณภาพ เรียกว่า Energy Dispersive System (EDS) ซึ่งสามารถวิเคราะห์ธาตุเชิง
คุณภาพได้อย่างแม่นยา
การประยุกต์ใช้งาน
ตรวจพิสูจน์เปรียบเทียบวัตถุพยานต่างๆ เช่นผ้า หรือเส้นใย
ตรวจพิสูจน์งานด้านเอกสาร
ตรวจพิสูจน์หาชนิดหรือประเภทของเศษกระจก
ตรวจพิสูจน์ทางธรณีวิทยา จัดว่า หิน ดิน ทราย มาจากแหล่งใด
ตรวจพิสูจน์หาคุณสมบัติทางกายภาพของสี
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
____________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้สนใจมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ ซึ่งเป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีส่วนช่วยในการ
ดาเนินการสืบสวนเพื่อหาสิ่งเชื่อมโยงระหว่างพยานวัตถุกับผู้ต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใดต่อรูปคดี
อันจะนาไปสู่การตัดสินว่าผู้ต้องสงสัยนั้นมีความผิดตามกฎหมายหรือไม่
8
สถานที่ดาเนินการ
1.พื้นที่เกิดเหตุ
2. ห้องปฏิบัติการทดลอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.barascientific.com/article/Forensice/forensic_4.php
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81
%E0%B8%AA%E0%B9%8C

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supansa Tomdaeng
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 

La actualidad más candente (11)

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
11111
1111111111
11111
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
2562 final-project 605-40
2562 final-project 605-402562 final-project 605-40
2562 final-project 605-40
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

Destacado

I Believe In The Church Slides, 7/5/15
I Believe In The Church Slides, 7/5/15I Believe In The Church Slides, 7/5/15
I Believe In The Church Slides, 7/5/15CLADSM
 
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010Monster12
 
Announcements, 10/26/14
Announcements, 10/26/14Announcements, 10/26/14
Announcements, 10/26/14CLADSM
 
Did You Receive? Slides, 2/16/14
Did You Receive? Slides, 2/16/14Did You Receive? Slides, 2/16/14
Did You Receive? Slides, 2/16/14CLADSM
 
búsqueda en google
búsqueda en googlebúsqueda en google
búsqueda en googleMiranda HrMr
 
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14CLADSM
 
061410 Investor Update
061410 Investor Update061410 Investor Update
061410 Investor UpdateMonster12
 
PFI 3341 Mini Case Study
PFI 3341 Mini Case StudyPFI 3341 Mini Case Study
PFI 3341 Mini Case StudyAlex Agnew
 
Game Changers Slides, 9/25/11
Game Changers Slides, 9/25/11Game Changers Slides, 9/25/11
Game Changers Slides, 9/25/11CLADSM
 
Announcements, 11/23/14
Announcements, 11/23/14Announcements, 11/23/14
Announcements, 11/23/14CLADSM
 
I believe In Real Life Slides, 7/12/15
I believe In Real Life Slides, 7/12/15I believe In Real Life Slides, 7/12/15
I believe In Real Life Slides, 7/12/15CLADSM
 
Gkjapan 2014a翻訳
Gkjapan 2014a翻訳Gkjapan 2014a翻訳
Gkjapan 2014a翻訳hkano
 
APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados
 APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados
APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultadosSegundo Moncada Ortega
 
Announcements, 3/11/12
Announcements, 3/11/12Announcements, 3/11/12
Announcements, 3/11/12CLADSM
 
CERI conference on innovation, governance and reform in education
CERI conference on innovation, governance and reform in education  CERI conference on innovation, governance and reform in education
CERI conference on innovation, governance and reform in education EduSkills OECD
 
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12CLADSM
 

Destacado (20)

I Believe In The Church Slides, 7/5/15
I Believe In The Church Slides, 7/5/15I Believe In The Church Slides, 7/5/15
I Believe In The Church Slides, 7/5/15
 
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010
Q1 2010 Shareholder Presentation May 2010
 
Announcements, 10/26/14
Announcements, 10/26/14Announcements, 10/26/14
Announcements, 10/26/14
 
Did You Receive? Slides, 2/16/14
Did You Receive? Slides, 2/16/14Did You Receive? Slides, 2/16/14
Did You Receive? Slides, 2/16/14
 
búsqueda en google
búsqueda en googlebúsqueda en google
búsqueda en google
 
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14
Marriage - Part 1 Slides, 11/16/14
 
061410 Investor Update
061410 Investor Update061410 Investor Update
061410 Investor Update
 
Presentación Módulo 1.
Presentación Módulo 1. Presentación Módulo 1.
Presentación Módulo 1.
 
Lifelong Learning Leadership =
Lifelong Learning Leadership =Lifelong Learning Leadership =
Lifelong Learning Leadership =
 
PFI 3341 Mini Case Study
PFI 3341 Mini Case StudyPFI 3341 Mini Case Study
PFI 3341 Mini Case Study
 
Game Changers Slides, 9/25/11
Game Changers Slides, 9/25/11Game Changers Slides, 9/25/11
Game Changers Slides, 9/25/11
 
Pp no 17_th_2005
Pp no 17_th_2005Pp no 17_th_2005
Pp no 17_th_2005
 
Announcements, 11/23/14
Announcements, 11/23/14Announcements, 11/23/14
Announcements, 11/23/14
 
I believe In Real Life Slides, 7/12/15
I believe In Real Life Slides, 7/12/15I believe In Real Life Slides, 7/12/15
I believe In Real Life Slides, 7/12/15
 
Gkjapan 2014a翻訳
Gkjapan 2014a翻訳Gkjapan 2014a翻訳
Gkjapan 2014a翻訳
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados
 APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados
APA – 2014 CONVENCIÓN 122- ACTUALIZACIÓN Presentando tus resultados
 
Announcements, 3/11/12
Announcements, 3/11/12Announcements, 3/11/12
Announcements, 3/11/12
 
CERI conference on innovation, governance and reform in education
CERI conference on innovation, governance and reform in education  CERI conference on innovation, governance and reform in education
CERI conference on innovation, governance and reform in education
 
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12
Turn Your Black Eye Into A Beauty Mark Slides, 9/9/12
 

Similar a โครงร่างโครงงาน

งานกระแสไฟฟ้า
งานกระแสไฟฟ้างานกระแสไฟฟ้า
งานกระแสไฟฟ้าHon SN
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2793233922
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 projectmidfill69
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์THEPHIM
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sorrawit Skuljareun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สทธัตถ์ ทาวีกุล
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมauttawut singkeaw
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานBfirm NongIth
 

Similar a โครงร่างโครงงาน (20)

2559 project i'm
2559 project i'm2559 project i'm
2559 project i'm
 
งานกระแสไฟฟ้า
งานกระแสไฟฟ้างานกระแสไฟฟ้า
งานกระแสไฟฟ้า
 
ควยยยย
ควยยยยควยยยย
ควยยยย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
Project
ProjectProject
Project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
77
7777
77
 
48532
4853248532
48532
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะโครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 

โครงร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน งานพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายวิชญสัณห์ เศรษฐบุตร เลขที่ 32 นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล เลขที่ 36 ชั้น 6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. นาย วิชญสัณห์ เศรษฐบุตร เลขที่ 32 2. นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล เลขที่ 36 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) งานพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) physic forensic ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วิชญสัณห์ เศรษฐบุตร,นาย ขจรเดช ลิ้มสกุล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์,ครูวรวัฒน์ ธรรมวงศ์ ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสารและพลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นาไปใช้ในการพัฒนา เทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออานวยความสะดวกแก่มนุษย์ นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทางานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทางานด้าน ทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทางานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการ พัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้น เกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ ทดลองไว้หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ
  • 3. 3 ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจากัดของการสังเกต และประสิทธิภาพ ของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้อง มากขึ้น ทาให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎี และกฎที่มีอยู่เดิมทานายไว้ทาให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทาให้ความสามารถในการทานายมี มากขึ้น โดยผู้จัดทาสนใจในด้านการทดลองของฟิสิกส์เพื่อต้องการทราบถึงงานในการพิสูจน์หลักฐาน ทางฟิสิกส์และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอน รวมถึงยังศึกษาเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน การเรียนระดับสูงขึ้นหรือการเข้าทางานต่อในสายอาชีพงานสืบสวนและพิสูจน์หลักฐานสาขาต่างๆอีก ต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1) เพื่อศึกษาขอบเขตการทางานการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ 2) เพื่อศึกษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1) หน้าที่ความรับผิดชอบของการทางานการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ 2) เครื่องมือและคุณสมบัติในการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การตรวจพยานวัตถุทางฟิสิกส์ในงานพิสูจน์หลักฐาน เป็นการตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ และการตรวจ วิเคราะห์ทางด้านคุณภาพวิเคราะห์ (Qualitative Analysis) เปรียบเทียบพยานวัตถุ ค้นหาแหล่งที่มาของพยานวัตถุ ซึ่งเป็นงานตรวจวิเคราะห์ที่กว้างขวางและหลากหลายรูปแบบของพยานวัตถุ เช่น พยานวัตถุประเภทผ้า เส้นใย และ โพลีเมอร์ ประเภทวัตถุระเบิด ประเภทชิ้นส่วนยานยนต์ หรือเศษกระจก เศษหิน ดิน ทราย เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ เครื่องมือในการวิเคราะห์หลายประเภท วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เปรียบเทียบพยานวัตถุ ค้นหาแหล่งที่มาของพยานวัตถุ
  • 4. 4 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.Thermal Analysis (DTA-50/ DSC-60) คุณสมบัติทั่วไป เป็นเครื่องสาหรับวัดค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในของสารประกอบ โดยการให้พลังงานความร้อนแก่สาร ตัวอย่าง แล้วตรวจวัดค่าพลังงานภายในที่สารตัวอย่างใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็นของเหลว ซึ่ง สามารถวัดค่าพลังงานภายในของสารประกอบได้ทั้งแบบคายความร้อน (Exothermic) และแบบดูดความร้อน (Endothermic) ซึ่งควบคุมการทางานและประมวลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้งาน สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้ ตรวจวิเคราะห์สารวัตถุระเบิด เช่น BOP, DNT, RDX, TNT หรือ HMX ฯ ตรวจวัตถุประเภทโพลีเมอร์ หรือพลาสติก 2.Fourier Transform Infrared Spectrophotometer (IRPrestige-21/FTIR-8400S) with Microscopy (AIM-8800) คุณสมบัติทั่วไป เป็นเครื่องวิเคราะห์หาโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้หลักการ การดูดกลืนรังอินฟราเรด เมื่อรังสี อินฟราเรดถูกดูดกลืนพลังงานนั้นจะถูกเปลี่ยน เป็นพลังงานการหมุนและสั่นของโมเลกุล โดยโมเลกุลของสารแต่ ละชนิดจะให้สเปคตรัมที่เป็นเอกลักณ์ของพันธะในโมเลกุลนั้นๆ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพิสูจน์หาสูตร
  • 5. 5 โครงสร้างของสารประกอบ ซึ่งในปัจจุบันมี IR Spectrum Libraries ของสารประกอบต่างๆ ที่จัดไว้เป็นกลุ่มๆ ตาม คุณสมบัติทางเคมี ที่สามารถเปรียบเทียบสเปตรัมของสารตัวอย่างกับ IR Spectrum Libraries โดยอัตโนมัติด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกชนิดของสารตัวอย่างได้พร้อมทั้งสามารถคานวณหาปริมาณของสารตัวอย่างได้ เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน การประยุกต์ใช้งาน สามารถใช้ในงานตรวจวิเคราะห์ทั่วไปได้กว้างขวาง และมีอุปกรณ์ประกอบต่างๆ หลายแบบที่สามารถ ตรวจวัตถุ พยานทั้งที่เป็นของแข็งและของเหลวโดยไม่ต้องมีขั้นตอนเตรียมตัวอย่างให้ยุ่งยาก ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ในงาน ตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้ ตรวจพิสูจน์เศษสีจากอุบัติเหตุรถยนต์ หรือเปรียบเทียบลาดับชั้นของสี ตรวจพิสูจน์สารปนเปื้อนจากพยานวัตถุต่างๆ เช่น กระดาษ ผ้าหรือเส้นใย ตรวจพิสูจน์หาโครงสร้างของสารเคมีต่างๆ ตรวจพิสูจน์หาชนิดและความคล้ายคลึงของผ้า หรือเส้นใย 3.Energy Dispersive X-Ray Fluorescence Spectrometer (EDX-700/800/900) คุณสมบัติทั่วไป เป็นเครื่องมือวิเคราะห์หาปริมาณธาตุได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของวัสดุ ตั้งแต่ธาตุคาร์บอนถึงธาตุยูเรเนียม โดยอาศัยหลักการ X-Ray Fluorescence เป็นการวัดระดับพลังงาน ที่วัตุคล้ายระดับพลังงานออกมา เมื่อได้รับการ กระตุ้นจากรังสีเอ๊กส์ สามารถวิเคราะห์ชิ้นงานตัวอย่างได้ทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว หรือ เป็นผง สภาวะการ ทดสอบสามารถทาได้ทั้งในบรรยากาศปกติ สุญญากาศ และแก๊ส ฮีเลียม เหมาะสาหรับงานด้านอิเล็กทรอนิกส์ โลหะ ชีวภาพ อาหาร เคมี และงานปิโตรเคมี หรืองานอื่นๆที่ต้องการหาปริมาณของธาตุ การวิเคราะห์รวดเร็ว แม่นยา และการใช้งานง่าย การประยุกต์ใช้งาน สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้ ตรวจหาชนิดของหมึกบนเอกสารของกลาง ตรวจพิสูจน์เศษสีจากอุบัติเหตุรถยนต์ หรือเปรียบเทียบลาดับชั้นของสี เขม่าดินปืน เช่นธาตุแอนติโมนี (Sb) และธาตุแบเรียม (Ba) ซึ่งเป็นธาตุที่ผสมอยู่ในชนวนท้ายกระสุนปืน สารเคมีหรือยาพิษประเภทสารหนู (As) ปรอท (Hg) ตะกั่ว (Pb) ฯ
  • 6. 6 ตรวจวิเคราะห์เศษกระจก ดิน ทราย พลาสติก ตรวจหาธาตุหรือไอออนในตัวอย่างประเภท Biological จากของเหลวภายในร่างกาย 4.X-Ray Diffractometer (XRD-6000/7000) คุณสมบัติทั่วไป เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ได้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของวัสดุ โดยอาศัยหลักการ X-Ray Diffraction ซึ่งเป็นการ เลี้ยวเบนของรังสี สามารถวิเคราะห์ชิ้นงานตัวอย่างได้ทั้งสถานะของแข็ง และเป็นผง ที่สามารถวิเคราะห์โครงสร้าง ผลึก (Crystalline structural analysis) หรือการวิเคราะห์แบบ State analysis หรือความเค้นของออสเตนไนด์ตกค้าง ของวัสดุ การวิเคราะห์ให้ความแม่นยาสูง การประยุกต์ใช้งาน สามารถประยุกต์ใช้ในงานตรวจวัดทางนิติวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้ ตรวจหาธาตุ หรือสารพิษในตัวอย่างประเภท Biological จากของเหลวภายในร่างกาย ตรวจหาโครงสร้างของสารที่เป็นพิษเช่น Asbestos ตรวจพิสูจน์โครงสร้างของสารเคมีต่างๆเช่น สารเสพติดและยาพิษ 5.Scanning Electron Microscope (SEM, SS-550/SSX-550) คุณสมบัติทั่วไป กล้องจุลทรรศน์อีเล็คตรอนแบบสแกนนิ่ง (SEM) เป็นเครื่องที่ใช้ลาแสงของอิเล็คตรอนและสนามแม่เหล็ก ที่ สามารถส่องกราดไปบนพื้นผิวของวัตถุที่ต้องศึกษา ซึ่งจะได้ภาพสามมิติ กาลังขยายและการแจกแจงที่สูงมาก สามารถบันทึกและพิมพ์ภาพนั้นเพื่อประกอบการพิจารณาได้นอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้วสามารถติดตั้ง
  • 7. 7 อุปกรณ์พิเศษเพื่อวิเคราะห์ธาตุเชิงคุณภาพ เรียกว่า Energy Dispersive System (EDS) ซึ่งสามารถวิเคราะห์ธาตุเชิง คุณภาพได้อย่างแม่นยา การประยุกต์ใช้งาน ตรวจพิสูจน์เปรียบเทียบวัตถุพยานต่างๆ เช่นผ้า หรือเส้นใย ตรวจพิสูจน์งานด้านเอกสาร ตรวจพิสูจน์หาชนิดหรือประเภทของเศษกระจก ตรวจพิสูจน์ทางธรณีวิทยา จัดว่า หิน ดิน ทราย มาจากแหล่งใด ตรวจพิสูจน์หาคุณสมบัติทางกายภาพของสี งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ____________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้สนใจมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพิสูจน์หลักฐานทางฟิสิกส์ ซึ่งเป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีส่วนช่วยในการ ดาเนินการสืบสวนเพื่อหาสิ่งเชื่อมโยงระหว่างพยานวัตถุกับผู้ต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใดต่อรูปคดี อันจะนาไปสู่การตัดสินว่าผู้ต้องสงสัยนั้นมีความผิดตามกฎหมายหรือไม่
  • 8. 8 สถานที่ดาเนินการ 1.พื้นที่เกิดเหตุ 2. ห้องปฏิบัติการทดลอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.barascientific.com/article/Forensice/forensic_4.php https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81 %E0%B8%AA%E0%B9%8C