SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
บทที่ ๓
การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ความหมายของสติปัฏฐาน
 คาว่า สติปัฏฐาน มาจาก สติ คือ การระลึกรู้ ปัฏฐาน คือ
เข้าไปตั้งไว้ ดังนั้น สติปัฏฐาน หมายถึง การระลึกรู้ที่เข้าไปตั้งไว้
ในกองรูป เวทนา จิต และสภาวธรรม
ธรรมที่ประกอบร่วมกับสติ
 ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานจะต้องประกอบด้วยองค์คุณ
๔ ประการคือ
อาตาปี
สติมา
สมฺปชาโน
อภิชฺฌา โทมนสฺสํ
อาตาปี
 คาว่า อาตาปี แปลว่า มีความเพียรเผากิเลส คือ มีความเพียร
ชอบ ที่เรียกว่า สัมมัปปธาน ๔ คือ เพียรเพื่อละอกุศลเก่า เพียร
เพื่อไม่ทาอกุศลใหม่ เพียรเพื่อทากุศลใหม่ และเพียรเพื่อเพิ่มพูน
กุศลเก่า
สติมา
 คาว่า สติมา แปลว่า มีสติ คือ นึกได้ก่อนทา ก่อนพูด ก่อนคิด
ได้แก่ รู้ก่อนที่เท้าจะก้าวไป ก่อนที่ท้องจะพองขึ้น ก่อนที่ท้องจะ
ยุบลง เป็นต้น
อย่าลืมตั้งสติ
ให้ดีนะครับ ^^
สมฺปชาโน
 สัมปชาโน แปลว่า มีสัมปชัญญะ คือ รู้ตัวอยู่เสมอ ได้แก่
รู้ตั้งแต่เริ่มยกเท้าเคลื่อนที่ไป เท้าลงถึงพื้น รู้ตั้งแต่เริ่มพอง
กลางพอง สุดพอง เริ่มยุบ กลางยุบ สุดยุบ เป็นต้น
อภิชฺฌา โทมนสฺสํ
 อภิชฺฌา โทมนสฺส ต้องละเสียได้ซึ่งโลภ โกรธ หลง
สติปัฏฐาน ๔
ธรรมที่เป็นอารมณ์ เป็นที่ตั้งแห่งสติ คือ
กายนุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้กาย
เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้เวทนา
จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้จิต
ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้สภาวธรรม
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้กายจาแนก
ออกเป็น ๖ หมวด คือ
 ๑) หมวดอานาปานะ การตามรู้ลมหายใจเข้าออก
 ๒) หมวดอิริยาบถ การตามรู้อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔
 ๓) หมวดสัมปชัญญะ การตามรู้อิริยาบถย่อย
 ๔) หมวดปฏิกูลมนสิการ การตามรู้อาการ ๓๒
 ๕) หมวดธาตุมนสิการ การตามรู้ธาตุ ทั้ง ๔
 ๖) หมวดนวสีวถิกา การตามรู้ซากศพ
หมวดอานาปานะ การตามรู้ลมหายใจเข้าออก
 “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระศาสนานี้ ไปอยู่ป่าก็ดี
โคนต้นไม้ก็ดี ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ตั้งสติไว้
เฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก เมื่อหายใจเข้ายาก
ก็กาหนดรู้ว่า “ข้าพเจ้าหายใจเข้ายาว” เมื่อหายใจออกยาวก็
กาหนดรู้ว่า “ข้าพเจ้าหายใจออกยาว......”
หมวดอิริยาบถ การตามรู้อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔
 “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วิธีปฏิบัติอีกนัยหนึ่ง คือ ภิกษุกาหนดรู้ว่า
เดินอยู่ในขณะเดิน กาหนดรู้ว่ายืนอยู่ในขณะยืน กาหนดรู้ว่านั่ง
อยู่ในขณะนั่ง หรือกาหนดรู้ว่านอนอยู่ในขณะนอน อีกนัยหนึ่ง
กายของภิกษุนั้น ดารงอยู่โดย อาการใดๆ ก็กาหนดรู้กายนั้นๆ
โดยอาการนั้น ๆ”
การยืนกาหนด
 ก. หลักการปฏิบัติ
 ฐิโต วา ฐิโตมหีติ ปะชานาติ.
ยืนอยู่ ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้ายืนอยู่
 ข. วิธีการปฏิบัติ
 ๑. ยืนตัวตั้งตรง คอตรง มือไขว้กันไว้ข้างหลัง
 ๒. ลืมตาเพียงครึ่งเดียว ทอดสายตาไปไกล
ประมาณ ๒-๓ เมตร
 ๓. สติระลึกรู้อาการยืน คือร่างกายที่ตั้งตรงกาหนดว่า
"ยืนหนอ" ๓ ครั้ง
 ๔. ขณะที่บริกรรมในใจว่า "ยืนหนอ" ต้องรู้สึกตัวว่า
ตนเองยืนอยู่จริงๆ
 ๕.จิตแนบแน่นกับความรู้สึกถึงอาการตั้งตรงของร่างกาย
ควบคู่กับคาบริกรรม
การเดินจงกรม
 ก. หลักการปฏิบัติ
 คัจฉันโต วา คัจฉามีติ ปะชานาติ.
เดินอยู่ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้าเดินอยู่
 ข. วิธีปฏิบัติ
 ๑. สายตาเตรียมไว้มองไกลประมาณ ๒ - ๓ เมตร
 ๒. จิตจดจ่ออยู่ที่อาการเคลื่อนไหวของเท้าสติกาหนดรู้
 ๓. คาบริกรรมในใจกับอาการเคลื่อนไหวต้องไปพร้อมกัน
 ๔. ขณะที่เดินอยู่ ถ้ามีสภาวธรรมอย่างอื่นที่ชัดเจนมากกว่าแทรกเข้ามา ควร
หยุดกาหนดอาการเดินชั่วคราว จากนั้นตั้งใจกาหนดอารมณ์ที่แทรกเข้ามานั้น
จนกระทั่งดับไป เสื่อมไป หรือไม่ชัดเจนแล้วจึงค่อยกลับมากาหนดอาการเดิน
ต่อไป
 ๕. เดินช้า ๆ แต่อย่าบังคับมาก จิตใจจดจ่อ มีสติกาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง
การเดินจงกรม ๖ ระยะ
• ขวาย่างหนอ-ซ้ายย่างหนอระยะที่ ๑
• ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๓
• ยกหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๒
• ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๔
• ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอระยะที่ ๕
• ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอระยะที่ ๖
การนั่งกาหนด
 ก. หลักการปฏิบัติ
 นิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิตวา อุชุง กายัง ปะณิธายะ, ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตวา.
 นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ตั้งสติเข้าสู่อารมณ์ (กรรมฐาน) เฉพาะหน้า
 ข. วิธีปฏิบัติ
 ๑. นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายให้ตรง คอตรง
 ๒. ต้องมีสติระลึกรู้อาการ เคลื่อนไหวของท้องพอง-ยุบ
 ๓. จิตใจจดจ่อและแนบชิดที่อาการขึ้นๆ ลงๆ ของท้องพอง-ยุบ
 ๔. วางจิตกาหนดที่ตรงสะดือขณะที่กาหนดควรหลับตา
 ๕. ใช้จิตเพียรดูอาการเคลื่อนไหวบริเวณท้อง
 ๖. ขณะที่ท้องพองขึ้นกาหนด บริกรรมในใจ ว่า “พองหนอ”
 ๗. ขณะที่ท้องแฟบลงกาหนด บริกรรมในใจ ว่า “ยุบหนอ”
 ๘. จิตที่รู้อาการพอง-ยุบ กับคาบริกรรม และสติที่ระลึกรู้ควรให้พร้อมกัน
การนอนกาหนด
 ก. หลักการปฏิบัติ
 สะยาโน วา สะยาโนมหีติ ปะชานาติ.
 นอนอยู่ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้านอนอยู่
 ข. วิธีการปฏิบัติ
 ๑.มีสติสัมปชัญญะกาหนดรู้ในอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย
 ๒. ขณะเอนกายลง เพื่อจะนอนพึงกาหนดว่า “เอนหนอ ๆ ๆ”
 ๓. ขณะที่ข้อศอก ตะโพก แผ่นหลัง ศีรษะหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
สัมผัสพื้น พึงกาหนดทันทีว่า “ถูกหนอๆ ๆ”
 ๔. ขณะที่นอนแบบตะแคงขวาหรือหงายขนานราบกับพื้นพึงกาหนดไว้ในใจว่า
“นอนหนอๆ”
 ๕. เมื่อนอนลงไปเรียบร้อยแล้ว เอาจิตไปจดจ่อที่ท้องกาหนดว่า
“พองหนอ-ยุบหนอ”
หมวดสัมปชัญญะ การตามรู้อิริยาบถย่อย
 “ภิกษุเป็นผู้ทาความรู้ตัวอยู่เสมอในการก้าวไปข้างหน้า ในการ
ก้าวกลับหลัง เป็นผู้ทาความรู้ตัวอยู่เสมอในการแลดูในการเหลียวดู
เป็นผู้ทาความรู้ตัวเสมอ ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก เป็นผู้ทา
ความรู้ตัวอยู่เสมอในการทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร และจีวร ในการกินใน
การดื่ม ในการเคี้ยว ในการลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ในการ
เดิน ในการยืน ในการนั่ง ในการนอน ในการหลับ ในการตื่นนอน ใน
การพูด ในการฟัง”
สัมปชัญญะ ๔ประการ
 ๑. สาตถกสัมปชัญญะ รู้สิ่งที่เป็นประโยชน์
 ๒. สัมปายสัมปชัญญะ รู้สิ่งที่เหมาะสม
 ๓. โคจรสัมปชัญญะ ตามรู้อารมณ์ของสติปัฏฐาน
 ๔. อสัมโมหสัมปชัญญะ รู้แจ้งโดยไม่สงสัย
ปฏิกูลในสิการ การตามรู้อาการ ๓๒
 ให้พิจารณาร่างกายให้เป็นของน่าเกลียด โดยพิจารณาร่างกาย
ตั้งแต่ปลายเท้าจรดศีรษะ ซึ่งมีหนังหุ้มโดยรอบ เต็มไปด้วยของไม่
สะอาดนานาชนิด คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อใน
กระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่
อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้าตา มันเหลว น้าลาย
น้ามูก ไขข้อ มูตร(ปัสสาวะ)
ธาตุปัพพะมนสิการ การรู้ธาตุทั้ง ๔
 หมวดว่าด้วยการพิจารณาโดย ความเป็นธาตุ หมายถึง
ให้พิจารณาเห็นร่างกายว่ามีธาตุต่าง ๆ โดยมีวิธีสอนคือ ให้
พิจารณาแยกว่าร่างกายนี้มีทั้งปฐวี อาโป เตโช วาโย
 ผลการปฏิบัติ จนกระทั่งเห็นชัดว่า มีแต่กายอยู่ในความเห็นนั้น
ไม่ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ปราศจากความยึดมั่น
หมวดนวสีวถิกา การตามรู้ซากศพ (ป่าช้า ๙)
 “ภิกษุพึงเห็นซากศพที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้าที่ตายได้ ๑-๒-๓ วัน
เป็นศพขึ้นอืดเขียวปื๋อท่อนกระดูกที่มีสีขาวเหมือนสังข์ พึงเอา
กายนี้เปรียบเทียบกับกายของตนว่ามีอย่างนี้เป็นธรรมดา ไม่
ล่วงพ้นจากนี้ไปได้...”
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 เวทนา หมายถึง ความรู้สึกหรือความเสวยอารมณ์ที่ปรากฏ
ในขณะปฏิบัติทั้งทางกายและจิตใจ เช่น ความรู้สึกสุขสบายหรือ
ทุกข์ที่ปรากฏขึ้นในทางร่างกาย ความรู้สึกเป็นสุขใจ ดีใจ ปลาบ
ปลื้มฯ หรือทุกข์ทางใจ อึดอัด ขัดเคือง ไม่พอใจ ไม่สบายใจ เป็น
ต้น เวทนานี้เมื่อจาแนกออกไปแล้วมี ๓ ประเภท คือ
 ๑) สุขเวทนา ๒) ทุกข์เวทนา ๓) อุเบกขาเวทนา
ในมหาสติปัฏฐานสูตรบาลี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า
สุข วา เวทน เวทยมาโน สุข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ.
ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่เป็นสุขอยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่เป็นสุข
ทุกฺข วา เวทน เวทยมาโน ทุกฺข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ.
ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่เป็นทุกข์อยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่เป็นทุกข์
อทุกฺขม สุข เวทน เวทยมาโน อทุกฺขมสุข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ.
ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่วางเฉยอยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่วางเฉย
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 จิตเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ทางทวารหก เห็นรูป ได้
ยินเสียง รู้กลิ่น ลิ้มรส รู้สัมผัสนึกคิดอารมณ์ต่างๆ จิตเป็น
ธรรมชาติที่รับรู้อารมณ์ แต่จิตก็เป็นอารมณ์ของสติปัฏฐาน เช่น
จิตที่ประกอบด้วยความโลภ ความโกรธ ความฟุ้ งซ่าน เป็นต้น
วิธีตามรู้จิต
 ขณะคิด กําหนดว่า คิดหนอๆ เน้นยํ้า ช้า หนักแน่น ทิ้งจังหวะเล็กน้อย
เพื่อผ่อนคลาย
 ขณะคิดถึง กําหนดว่า คิดถึงหนอๆ ขณะนึก กําหนดว่า นึกหนอๆๆ
 ขณะฟุ้ งซ่าน กําหนดว่า ฟุ้ งซ่านหนอๆ ขณะหงุดหงิด กําหนดว่า
หงุดหงิดหนอๆ
 ขณะรําคาญ กําหนดว่า รําคาญหนอๆ ขณะซึม กําหนดว่า ซึมหนอๆ
 ขณะว่าง กําหนดว่า ว่างหนอๆ ขณะสงบ กําหนดว่า สงบหนอๆ
 ขณะนิ่ง กําหนดว่า นิ่งหนอๆ ฯลฯ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 ธัมมานุปัสสนา การดารงสติตามรู้สภาวธรรม ได้แก่
อาการที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและทางจิต มี ๔ ประการ คือ
 ๑) หมวดนิวรณ์ การตามรู้นิวรณ์ ๕
 ๒) หมวดขันธ์ การตามรู้ขันธ์ ๕
 ๓) หมวดอายตนะ การตามรู้อายตนะ ๑๒
 ๔) หมวดโพชฌงค์ การตามรู้โพชฌงค์ ๗
 ๕) หมวดอริยสัจ การตามรู้อริยสัจ ๔
อานิสงส์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
ประโยชน์ของการนั่ง กาหนด ( สมาธิ )
 ๑. จิตตั้งมั่น และเป็นสมาธิได้ง่าย
 ๒. สภาวธรรมปรากฏค่อนข้างชัดเจน
 ๓. อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ชัดเจน
 ๔. เป็นอิริยาบถที่อื้อต่อการบรรลุ มรรค ผล นิพพาน
ได้มากกว่าอิริยาบถอื่น ๆ
 ๕. เป็นอิริยาบถที่รวมความพร้อม
เพื่อการบรรลุธรรมในขั้นต่าง ๆ กระทั่งสูงสุด
ประโยชน์ของการยืนกาหนด
 ๑. ทาให้การกาหนดเกิดความต่อเนื่องกัน
 ๒. จิตเป็นสมาธิได้ค่อนข้างง่าย
 ๓. ทุกขเวทนามีน้อย ใช้พื้นที่น้อยในการกาหนด
 ๔. ทาลายบัญญัติของรูปยืน เป็นสภาพรู้อาการ
 ๕. ทาให้เข้าใจสภาพของเหตุปัจจัย อันอิงอาศัยกันและกัน
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ประโยชน์ของการเดินจงกรม ๕ ประการ
 ๑. อดทนต่อการเดินทางไกล
 ๒. อดทนต่อการกระทาความเพียร
 ๓. ช่วยย่อยอาหาร
 ๔. ช่วยขับลมออกจากตน
 ๕. ทาสมาธิให้ดียิ่งขึ้น
ประโยชน์ของการกาหนดอิริยาบถย่อย
 ๑. ปิ ดช่องว่างการกาหนด ในอิริยาบถอื่น ๆ
 ๒. ทาให้การกาหนดมีความต่อเนื่องไม่ขาดสาย
 ๓. วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา เกื้อกูลกันค่อนข้างมาก
 ๔. ส่งเสริมให้อินทรีย์ ๕ เท่ากัน
( สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา )
 ๕. มีความรอบคอบ ไม่หลงลืม ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทางานในด้านอื่น ๆ ด้วย
ประโยชน์ของการนอนกาหนด
 ๑. ช่วยให้หลับง่าย เพราะไม่กังวล
 ๒. จิตเป็นสมาธิได้ง่าย
 ๓. เป็นการพักผ่อน และเป็นการเชื่อมโยงอิริยาบถอื่น ๆ
ให้สม่าเสมอ
 ข้อที่ควรระวัง
 - ถีนมิทธะ ความง่วงเหงา หาวนอน เซื่องซึม เกิดขึ้นได้ง่าย
 - ไม่ควรนอนมากเกินไปสาหรับผู้มุ่งปฏิบัติจริง ๆ อย่างมากไม่ควรเกิน ๖ ชั่วโมง
 - ความเกียจคร้านเกิดขึ้นได้ง่าย อย่าเห็นแก่นอนเกินไป
 - นักปฏิบัติที่มุ่งความสุขสงบในชีวิตต้องการหลับพักผ่อน ไม่ต้องตั้งใจกาหนดมาก
สวัสดี...
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะOnpa Akaradech
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติOnpa Akaradech
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 

La actualidad más candente (20)

ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 

Destacado

สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกPadvee Academy
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยมทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยมPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 

Destacado (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยมทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 

Similar a ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศTพี่ชัย พันทะสี
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศTพี่ชัย พันทะสี
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขniralai
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
Pra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoPra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoMI
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์Tongsamut vorasan
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 

Similar a ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ (20)

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
Pra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoPra ajarn pasanno
Pra ajarn pasanno
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 

Más de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

Más de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔

  • 2.
  • 3. ความหมายของสติปัฏฐาน  คาว่า สติปัฏฐาน มาจาก สติ คือ การระลึกรู้ ปัฏฐาน คือ เข้าไปตั้งไว้ ดังนั้น สติปัฏฐาน หมายถึง การระลึกรู้ที่เข้าไปตั้งไว้ ในกองรูป เวทนา จิต และสภาวธรรม
  • 5. อาตาปี  คาว่า อาตาปี แปลว่า มีความเพียรเผากิเลส คือ มีความเพียร ชอบ ที่เรียกว่า สัมมัปปธาน ๔ คือ เพียรเพื่อละอกุศลเก่า เพียร เพื่อไม่ทาอกุศลใหม่ เพียรเพื่อทากุศลใหม่ และเพียรเพื่อเพิ่มพูน กุศลเก่า
  • 6. สติมา  คาว่า สติมา แปลว่า มีสติ คือ นึกได้ก่อนทา ก่อนพูด ก่อนคิด ได้แก่ รู้ก่อนที่เท้าจะก้าวไป ก่อนที่ท้องจะพองขึ้น ก่อนที่ท้องจะ ยุบลง เป็นต้น อย่าลืมตั้งสติ ให้ดีนะครับ ^^
  • 7. สมฺปชาโน  สัมปชาโน แปลว่า มีสัมปชัญญะ คือ รู้ตัวอยู่เสมอ ได้แก่ รู้ตั้งแต่เริ่มยกเท้าเคลื่อนที่ไป เท้าลงถึงพื้น รู้ตั้งแต่เริ่มพอง กลางพอง สุดพอง เริ่มยุบ กลางยุบ สุดยุบ เป็นต้น
  • 8. อภิชฺฌา โทมนสฺสํ  อภิชฺฌา โทมนสฺส ต้องละเสียได้ซึ่งโลภ โกรธ หลง
  • 9. สติปัฏฐาน ๔ ธรรมที่เป็นอารมณ์ เป็นที่ตั้งแห่งสติ คือ กายนุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้กาย เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้เวทนา จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้จิต ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้สภาวธรรม
  • 10. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน  กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติตามรู้กายจาแนก ออกเป็น ๖ หมวด คือ  ๑) หมวดอานาปานะ การตามรู้ลมหายใจเข้าออก  ๒) หมวดอิริยาบถ การตามรู้อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔  ๓) หมวดสัมปชัญญะ การตามรู้อิริยาบถย่อย  ๔) หมวดปฏิกูลมนสิการ การตามรู้อาการ ๓๒  ๕) หมวดธาตุมนสิการ การตามรู้ธาตุ ทั้ง ๔  ๖) หมวดนวสีวถิกา การตามรู้ซากศพ
  • 11. หมวดอานาปานะ การตามรู้ลมหายใจเข้าออก  “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระศาสนานี้ ไปอยู่ป่าก็ดี โคนต้นไม้ก็ดี ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ตั้งสติไว้ เฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก เมื่อหายใจเข้ายาก ก็กาหนดรู้ว่า “ข้าพเจ้าหายใจเข้ายาว” เมื่อหายใจออกยาวก็ กาหนดรู้ว่า “ข้าพเจ้าหายใจออกยาว......”
  • 12. หมวดอิริยาบถ การตามรู้อิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔  “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วิธีปฏิบัติอีกนัยหนึ่ง คือ ภิกษุกาหนดรู้ว่า เดินอยู่ในขณะเดิน กาหนดรู้ว่ายืนอยู่ในขณะยืน กาหนดรู้ว่านั่ง อยู่ในขณะนั่ง หรือกาหนดรู้ว่านอนอยู่ในขณะนอน อีกนัยหนึ่ง กายของภิกษุนั้น ดารงอยู่โดย อาการใดๆ ก็กาหนดรู้กายนั้นๆ โดยอาการนั้น ๆ”
  • 13. การยืนกาหนด  ก. หลักการปฏิบัติ  ฐิโต วา ฐิโตมหีติ ปะชานาติ. ยืนอยู่ ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้ายืนอยู่  ข. วิธีการปฏิบัติ  ๑. ยืนตัวตั้งตรง คอตรง มือไขว้กันไว้ข้างหลัง  ๒. ลืมตาเพียงครึ่งเดียว ทอดสายตาไปไกล ประมาณ ๒-๓ เมตร  ๓. สติระลึกรู้อาการยืน คือร่างกายที่ตั้งตรงกาหนดว่า "ยืนหนอ" ๓ ครั้ง  ๔. ขณะที่บริกรรมในใจว่า "ยืนหนอ" ต้องรู้สึกตัวว่า ตนเองยืนอยู่จริงๆ  ๕.จิตแนบแน่นกับความรู้สึกถึงอาการตั้งตรงของร่างกาย ควบคู่กับคาบริกรรม
  • 14. การเดินจงกรม  ก. หลักการปฏิบัติ  คัจฉันโต วา คัจฉามีติ ปะชานาติ. เดินอยู่ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้าเดินอยู่  ข. วิธีปฏิบัติ  ๑. สายตาเตรียมไว้มองไกลประมาณ ๒ - ๓ เมตร  ๒. จิตจดจ่ออยู่ที่อาการเคลื่อนไหวของเท้าสติกาหนดรู้  ๓. คาบริกรรมในใจกับอาการเคลื่อนไหวต้องไปพร้อมกัน  ๔. ขณะที่เดินอยู่ ถ้ามีสภาวธรรมอย่างอื่นที่ชัดเจนมากกว่าแทรกเข้ามา ควร หยุดกาหนดอาการเดินชั่วคราว จากนั้นตั้งใจกาหนดอารมณ์ที่แทรกเข้ามานั้น จนกระทั่งดับไป เสื่อมไป หรือไม่ชัดเจนแล้วจึงค่อยกลับมากาหนดอาการเดิน ต่อไป  ๕. เดินช้า ๆ แต่อย่าบังคับมาก จิตใจจดจ่อ มีสติกาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง
  • 15. การเดินจงกรม ๖ ระยะ • ขวาย่างหนอ-ซ้ายย่างหนอระยะที่ ๑ • ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๓ • ยกหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๒ • ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอระยะที่ ๔ • ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอระยะที่ ๕ • ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอระยะที่ ๖
  • 16. การนั่งกาหนด  ก. หลักการปฏิบัติ  นิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิตวา อุชุง กายัง ปะณิธายะ, ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตวา.  นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ตั้งสติเข้าสู่อารมณ์ (กรรมฐาน) เฉพาะหน้า  ข. วิธีปฏิบัติ  ๑. นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายให้ตรง คอตรง  ๒. ต้องมีสติระลึกรู้อาการ เคลื่อนไหวของท้องพอง-ยุบ  ๓. จิตใจจดจ่อและแนบชิดที่อาการขึ้นๆ ลงๆ ของท้องพอง-ยุบ  ๔. วางจิตกาหนดที่ตรงสะดือขณะที่กาหนดควรหลับตา  ๕. ใช้จิตเพียรดูอาการเคลื่อนไหวบริเวณท้อง  ๖. ขณะที่ท้องพองขึ้นกาหนด บริกรรมในใจ ว่า “พองหนอ”  ๗. ขณะที่ท้องแฟบลงกาหนด บริกรรมในใจ ว่า “ยุบหนอ”  ๘. จิตที่รู้อาการพอง-ยุบ กับคาบริกรรม และสติที่ระลึกรู้ควรให้พร้อมกัน
  • 17. การนอนกาหนด  ก. หลักการปฏิบัติ  สะยาโน วา สะยาโนมหีติ ปะชานาติ.  นอนอยู่ก็กาหนดรู้ว่า ข้าพเจ้านอนอยู่  ข. วิธีการปฏิบัติ  ๑.มีสติสัมปชัญญะกาหนดรู้ในอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย  ๒. ขณะเอนกายลง เพื่อจะนอนพึงกาหนดว่า “เอนหนอ ๆ ๆ”  ๓. ขณะที่ข้อศอก ตะโพก แผ่นหลัง ศีรษะหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย สัมผัสพื้น พึงกาหนดทันทีว่า “ถูกหนอๆ ๆ”  ๔. ขณะที่นอนแบบตะแคงขวาหรือหงายขนานราบกับพื้นพึงกาหนดไว้ในใจว่า “นอนหนอๆ”  ๕. เมื่อนอนลงไปเรียบร้อยแล้ว เอาจิตไปจดจ่อที่ท้องกาหนดว่า “พองหนอ-ยุบหนอ”
  • 18. หมวดสัมปชัญญะ การตามรู้อิริยาบถย่อย  “ภิกษุเป็นผู้ทาความรู้ตัวอยู่เสมอในการก้าวไปข้างหน้า ในการ ก้าวกลับหลัง เป็นผู้ทาความรู้ตัวอยู่เสมอในการแลดูในการเหลียวดู เป็นผู้ทาความรู้ตัวเสมอ ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก เป็นผู้ทา ความรู้ตัวอยู่เสมอในการทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร และจีวร ในการกินใน การดื่ม ในการเคี้ยว ในการลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ในการ เดิน ในการยืน ในการนั่ง ในการนอน ในการหลับ ในการตื่นนอน ใน การพูด ในการฟัง”
  • 19. สัมปชัญญะ ๔ประการ  ๑. สาตถกสัมปชัญญะ รู้สิ่งที่เป็นประโยชน์  ๒. สัมปายสัมปชัญญะ รู้สิ่งที่เหมาะสม  ๓. โคจรสัมปชัญญะ ตามรู้อารมณ์ของสติปัฏฐาน  ๔. อสัมโมหสัมปชัญญะ รู้แจ้งโดยไม่สงสัย
  • 20. ปฏิกูลในสิการ การตามรู้อาการ ๓๒  ให้พิจารณาร่างกายให้เป็นของน่าเกลียด โดยพิจารณาร่างกาย ตั้งแต่ปลายเท้าจรดศีรษะ ซึ่งมีหนังหุ้มโดยรอบ เต็มไปด้วยของไม่ สะอาดนานาชนิด คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อใน กระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้าตา มันเหลว น้าลาย น้ามูก ไขข้อ มูตร(ปัสสาวะ)
  • 21.
  • 22. ธาตุปัพพะมนสิการ การรู้ธาตุทั้ง ๔  หมวดว่าด้วยการพิจารณาโดย ความเป็นธาตุ หมายถึง ให้พิจารณาเห็นร่างกายว่ามีธาตุต่าง ๆ โดยมีวิธีสอนคือ ให้ พิจารณาแยกว่าร่างกายนี้มีทั้งปฐวี อาโป เตโช วาโย  ผลการปฏิบัติ จนกระทั่งเห็นชัดว่า มีแต่กายอยู่ในความเห็นนั้น ไม่ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ปราศจากความยึดมั่น
  • 23. หมวดนวสีวถิกา การตามรู้ซากศพ (ป่าช้า ๙)  “ภิกษุพึงเห็นซากศพที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้าที่ตายได้ ๑-๒-๓ วัน เป็นศพขึ้นอืดเขียวปื๋อท่อนกระดูกที่มีสีขาวเหมือนสังข์ พึงเอา กายนี้เปรียบเทียบกับกายของตนว่ามีอย่างนี้เป็นธรรมดา ไม่ ล่วงพ้นจากนี้ไปได้...”
  • 24. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน  เวทนา หมายถึง ความรู้สึกหรือความเสวยอารมณ์ที่ปรากฏ ในขณะปฏิบัติทั้งทางกายและจิตใจ เช่น ความรู้สึกสุขสบายหรือ ทุกข์ที่ปรากฏขึ้นในทางร่างกาย ความรู้สึกเป็นสุขใจ ดีใจ ปลาบ ปลื้มฯ หรือทุกข์ทางใจ อึดอัด ขัดเคือง ไม่พอใจ ไม่สบายใจ เป็น ต้น เวทนานี้เมื่อจาแนกออกไปแล้วมี ๓ ประเภท คือ  ๑) สุขเวทนา ๒) ทุกข์เวทนา ๓) อุเบกขาเวทนา
  • 25. ในมหาสติปัฏฐานสูตรบาลี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า สุข วา เวทน เวทยมาโน สุข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ. ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่เป็นสุขอยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่เป็นสุข ทุกฺข วา เวทน เวทยมาโน ทุกฺข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ. ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่เป็นทุกข์อยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่เป็นทุกข์ อทุกฺขม สุข เวทน เวทยมาโน อทุกฺขมสุข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ. ภิกษุกาหนดรู้เวทนาที่วางเฉยอยู่ ในขณะที่ตนกาลังเสวยเวทนาที่วางเฉย
  • 26. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน  จิตเป็นสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ทางทวารหก เห็นรูป ได้ ยินเสียง รู้กลิ่น ลิ้มรส รู้สัมผัสนึกคิดอารมณ์ต่างๆ จิตเป็น ธรรมชาติที่รับรู้อารมณ์ แต่จิตก็เป็นอารมณ์ของสติปัฏฐาน เช่น จิตที่ประกอบด้วยความโลภ ความโกรธ ความฟุ้ งซ่าน เป็นต้น
  • 27. วิธีตามรู้จิต  ขณะคิด กําหนดว่า คิดหนอๆ เน้นยํ้า ช้า หนักแน่น ทิ้งจังหวะเล็กน้อย เพื่อผ่อนคลาย  ขณะคิดถึง กําหนดว่า คิดถึงหนอๆ ขณะนึก กําหนดว่า นึกหนอๆๆ  ขณะฟุ้ งซ่าน กําหนดว่า ฟุ้ งซ่านหนอๆ ขณะหงุดหงิด กําหนดว่า หงุดหงิดหนอๆ  ขณะรําคาญ กําหนดว่า รําคาญหนอๆ ขณะซึม กําหนดว่า ซึมหนอๆ  ขณะว่าง กําหนดว่า ว่างหนอๆ ขณะสงบ กําหนดว่า สงบหนอๆ  ขณะนิ่ง กําหนดว่า นิ่งหนอๆ ฯลฯ
  • 28. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน  ธัมมานุปัสสนา การดารงสติตามรู้สภาวธรรม ได้แก่ อาการที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและทางจิต มี ๔ ประการ คือ  ๑) หมวดนิวรณ์ การตามรู้นิวรณ์ ๕  ๒) หมวดขันธ์ การตามรู้ขันธ์ ๕  ๓) หมวดอายตนะ การตามรู้อายตนะ ๑๒  ๔) หมวดโพชฌงค์ การตามรู้โพชฌงค์ ๗  ๕) หมวดอริยสัจ การตามรู้อริยสัจ ๔
  • 30. ประโยชน์ของการนั่ง กาหนด ( สมาธิ )  ๑. จิตตั้งมั่น และเป็นสมาธิได้ง่าย  ๒. สภาวธรรมปรากฏค่อนข้างชัดเจน  ๓. อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ชัดเจน  ๔. เป็นอิริยาบถที่อื้อต่อการบรรลุ มรรค ผล นิพพาน ได้มากกว่าอิริยาบถอื่น ๆ  ๕. เป็นอิริยาบถที่รวมความพร้อม เพื่อการบรรลุธรรมในขั้นต่าง ๆ กระทั่งสูงสุด
  • 31. ประโยชน์ของการยืนกาหนด  ๑. ทาให้การกาหนดเกิดความต่อเนื่องกัน  ๒. จิตเป็นสมาธิได้ค่อนข้างง่าย  ๓. ทุกขเวทนามีน้อย ใช้พื้นที่น้อยในการกาหนด  ๔. ทาลายบัญญัติของรูปยืน เป็นสภาพรู้อาการ  ๕. ทาให้เข้าใจสภาพของเหตุปัจจัย อันอิงอาศัยกันและกัน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
  • 32. ประโยชน์ของการเดินจงกรม ๕ ประการ  ๑. อดทนต่อการเดินทางไกล  ๒. อดทนต่อการกระทาความเพียร  ๓. ช่วยย่อยอาหาร  ๔. ช่วยขับลมออกจากตน  ๕. ทาสมาธิให้ดียิ่งขึ้น
  • 33. ประโยชน์ของการกาหนดอิริยาบถย่อย  ๑. ปิ ดช่องว่างการกาหนด ในอิริยาบถอื่น ๆ  ๒. ทาให้การกาหนดมีความต่อเนื่องไม่ขาดสาย  ๓. วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา เกื้อกูลกันค่อนข้างมาก  ๔. ส่งเสริมให้อินทรีย์ ๕ เท่ากัน ( สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา )  ๕. มีความรอบคอบ ไม่หลงลืม ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานในด้านอื่น ๆ ด้วย
  • 34. ประโยชน์ของการนอนกาหนด  ๑. ช่วยให้หลับง่าย เพราะไม่กังวล  ๒. จิตเป็นสมาธิได้ง่าย  ๓. เป็นการพักผ่อน และเป็นการเชื่อมโยงอิริยาบถอื่น ๆ ให้สม่าเสมอ  ข้อที่ควรระวัง  - ถีนมิทธะ ความง่วงเหงา หาวนอน เซื่องซึม เกิดขึ้นได้ง่าย  - ไม่ควรนอนมากเกินไปสาหรับผู้มุ่งปฏิบัติจริง ๆ อย่างมากไม่ควรเกิน ๖ ชั่วโมง  - ความเกียจคร้านเกิดขึ้นได้ง่าย อย่าเห็นแก่นอนเกินไป  - นักปฏิบัติที่มุ่งความสุขสงบในชีวิตต้องการหลับพักผ่อน ไม่ต้องตั้งใจกาหนดมาก
  • 36.