SlideShare a Scribd company logo
1 of 104
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา : ศาสนาแห่งปัญญาและเมตตาธรรม
• “...โลกตั้งอยู่บน
กองทุกข์.....เรา
ตถาคตแสดงแต่
เรื่องทุกข์ และความ
ดับทุกข์เท่านั้น”
Distribution of Buddhists Today
Source: http://www.adherents.com/largecom/com_buddhist.html
Country %
Thailand 95
Cambodia 90
Myanmar 88
Bhutan 75
Sri Lanka 70
Tibet 65
Laos 60
Vietnam 55
Japan 50
Macau 45
Taiwan 43
Country Number
of Buddhists
China 102,000,000
Japan 89,650,000
Thailand 55,480,000
Vietnam 49,690,000
Myanmar 41,610,000
Sri Lanka 12,540,000
South Korea 10,920,000
Taiwan 9,150,000
Cambodia 9,130,000
India 7,000,000
ประวัติและความเป็นมา
สภาพสังคมของอินเดียสมัยก่อนพุทธกาลมี
ลักษณะถูกแบ่งแยก โดยเฉพาะเรื่องของ
การแบ่งชนชั้น (วรรณะ ๔) ทาให้เกิดความ
เหลื่อมล้าต่าสูงในสังคม และในยุคนั้นยังมี
ลัทธินิกายย่อยๆ มากมายที่สอนขัดแย้งกับ
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ก่อให้เกิดความสับสนในเรื่องอุดมคติชีวิตว่า
อะไรคือคุณค่าที่แท้จริงของชีวิต มนุษย์จะ
ดาเนินชีวิตไปสู่จุดใด โดยมุ่งหวังอะไร และ
จะมีวิธีการดาเนินชีวิตให้ถึงจุดหมายนั้นได้
อย่างไร
ระบบวรรณะ:
http://hemantmallan.instablogs.com
www.hunterreedworld.blogspot.com
www.indiatugofwar2009.pbworks.com
ตัวอย่างแนวคิดความเชื่อต่างๆ สมัยก่อนพุทธกาล
บางลัทธิเชื่อว่า บุญ บาป ไม่มี ทุกอย่างที่ทาไปแล้วไม่ว่าดีหรือชั่วเมื่อจบสิ้นแล้ว
ย่อมแล้วกันไป ไม่มีผลตอบสนองภายหลัง
บางลัทธิเชื่อว่า สุข ทุกข์ ความดี ความชั่ว เป็นสิ่งที่เกิดเองโดยธรรมชาติ
บางลัทธิเชื่อว่า การทาบุญทาทาน การบูชาไม่มีผล สัตว์ทั้งหลายตายแล้วสูญ
บางลัทธิเชื่อว่า สิ่งทั้งหลายเคยเกิดอย่างไร ก็เป็นไปอย่างนั้น เช่น โลกเที่ยง จิต
เที่ยง สัตว์ทั้งหลายเคยเกิดอย่างไร ก็เป็นไปอย่างนั้นต่อไปตลอกกาล
บางลัทธิมีความเชื่อไม่แน่นอน ซัดส่ายไหลลื่นเหมือนปลาไหล ปฏิเสธว่า อย่างนี้ก็
ไม่ใช่อย่างนั้นก็ไม่ใช่ ไม่ยอมรับและไม่ยืนยันอะไรทั้งหมด
บางลัทธิเชื่อว่าการทรมานกายว่าเป็ นทางไปสู่ความพ้นทุกข์ มีความเป็ นอยู่
เข้มงวดกวดขันต่อร่างกาย เช่น อดข้าว อดน้า ตากแดด ตากลม ไม่นุ่งห่มผ้า
กามสุขัลลิกานุโยค :
การหมกหมุ่นในการเสพ
เสวยวัตถุกามรมณ์
(หย่อนเกิน)
อัตตกิลมถานุโยค :
การทรมานตนเอง
ให้ลาบาก
(เคร่งเกิน)
ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นมาเพื่อปรับปรุง และแก้ไข
สังคมอินเดียในยุคนั้นให้ดีขึ้น จากการกดขี่ ชนชั้นวรรณะของ
สังคมพราหมณ์-ฮินดู การเหลื่อมล้าทางสังคม การถือชั้นวรรณะ
การใช้สัตว์เพื่อบวงสรวง บูชายัญ การกดขี่สตรีเพศ
พระพุทธศาสนา จึงเป็ นเสมือนน้าทิพย์ชโลมสังคมอินเดีย
โบราณให้ขาวสะอาด คาสอนของพระพุทธศาสนาทาให้สังคม
โดยทั่วไปสงบร่มเย็น
ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา เป็ นศาสนาประเภท อเทวนิยมเป็ นหนึ่งใน
ศาสนาสาคัญของโลก
พระพุทธศาสนา เป็ น ศาสนาที่มุ่งการพ้นทุกข์หรือสอนให้รู้จัก
ทุกข์และวิธีแก้ทุกข์ ให้พ้นจากความโลภ ความโกรธ ความหลง
และอวิชชา (การไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ)
เน้นการปฏิบัติด้วยปัญญา การทาความเข้าใจ และพิสูจน์ทราบ
ข้อเท็จจริง จนมองเห็นเหตุและผล และความเป็ นไปตาม
ธรรมชาติ
ลักษณะของพระพุทธศาสนา
• พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม
• เกิดจากปัญญาตรัสรู้ หรือ การรู้แจ้งเห็นจริงของพระพุทธเจ้า ....
เป็นผลของการปฏิบัติ พิสูจน์ ด้วยตนเองของพระองค์
• พระพุทธศาสนาสอนเน้นเรื่องเดียว คือ “เรื่องทุกข์ และการดับ
ทุกข์ของชีวิต” (อริยสัจ 4)
• พระพุทธศาสนาสอนให้มองโลกและชีวิตตามความเป็นจริง..สอน
เฉพาะเรื่องที่จริงและมีประโยชน์ที่สามารถช่วยดับทุกข์แก่ชีวิตได้
เท่านั้น
ลักษณะของพระพุทธศาสนา
• พระพุทธศาสนาสอนให้คนเกิดปัญญา
(เพื่อการแก้ทุกข์ของชีวิต) มิได้สอนมุ่งให้คนเชื่อ
• สอนเน้นในเรื่อง “ปัจจุบัน”
• สอนให้สนใจเรื่องมนุษย์เป็นเรื่องสาคัญอันดับแรก...โดยเริ่มจาก
ตนเองก่อน
• สอนให้ ให้ความสาคัญกับชีวิตทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ
(รูปนาม)อย่างสมดุล…มัชฌิมาปฏิปทา
• ไม่สนใจปัญหาทางอภิปรัชญา (ที่ถกเถียงกันเชิงเหตุผลความคิด)
สนใจปัญหาทางปฏิบัติมากกว่า
ลักษณะของพระพุทธศาสนา
• พระพุทธศาสนาถือว่า มนุษย์จะบรรลุถึงความจริงได้
ก็ด้วย“ปัญญาญาณ” อันเป็ นผลของการพัฒนาจิต
จนบริสุทธิ์สะอาด จนกระทั่งรู้แจ้งสิ่งต่างๆ ตามความ
เป็นจริง และสามารถละกิเลส และพ้นทุกข์ได้
ความหมาย
ศาสนาพุทธ หมายถึง ศาสนาของท่านผู้รู้
ผู้รู้ในที่นี้ คือ พระโคตมพุทธเจ้า (เจ้าชายสิทธัตถะ)
คาว่า “พุทธะ” มี ความหมาย ๒ นัย คือ
๑. พุทธในฐานะบุคคล หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน คือ บุคคลผู้
ก่อตั้งศาสนาพุทธ
๒. พุทธในฐานะเป็ นปัญญาหรือความรู้ หมายถึง ตัวความรู้หรือ
ปัญญา ใครก็ตามที่สามารถบรรลุหรือเข้าถึงความรู้ ได้ชื่อว่าเป็ น
“พุทธะ”
ประวัติศาสนาและพระศาสดา
• พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
เป็ นศาสนาอเทวนิยม
เป็ น 1 ใน 3 ของศาสนา
โลก เกิดจากการตรัสรู้ของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อ
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6
เมื่ อก่ อน พ.ศ. 45 ปี
ณ แคว้นมคธ ประเทศ
อินเดีย
ชายหนุ่มผู้นี้คือใคร ?
• เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติเมื่อ
วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 6 ก่อน
พ.ศ.80 ปี เป็ นพระราชโอรส
ของพระเจ้าสุทโธทนะแห่ง
กรุงกบิลพัสดุ์
• ท่านทรงได้ รับการเลี้ยงดู
ทนุถนอมอย่างดี ปรนเปรอ
ด้วยความสาราญอย่างเต็มที่
เ พื่ อ ห วั ง จ ะ ใ ห้ เ ป็ น พ ร ะ
จักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่สืบต่อพระ
บิดา มิใช่เป็ นพระศาสดาตาม
คาทานาย
• คราหนึ่ง เจ้าชายได้มี
โอกาสไปชมบ้านเมือง
ด้านนอกวังและได้พบ
กับ คนแก่ คนเจ็บ
คนตาย จึงบังเกิดความ
สลดสังเวชกับความจริง
ที่พบ...จึงใคร่ ครวญ
แสวงหาความพ้นทุกข์
และน้อมพระทัยไปใน
การบวช
• ในที่สุดท่านจึง
ตัดสินพระทัย
ออกผนวชเป็น
บรรพชิตที่ริมฝั่ง
แม่น้าอโนมา
นที เมื่อพระชน
มายุ 29 พรรษา
• ท่านทรงพยายามศึกษา
ปฏิบัติหลากหลายวิธีเพื่อ
การพ้นทุกข์ รวมทั้งการ
ท ร ม า น ต น เ อ ง ด้ ว ย
(ทุกรกิริยา) เป็นเวลา 6 ปี
• ในที่สุด ท่านดาริได้ว่า การ
ทรมานตนเองมิใช่ทาง
ตรัสรู้ เปรียบเสมือนสาย
พิณที่ขึงตึงเกินไป ดังนั้น
จึงควรปฏิบัติบาเพ็ญเพียร
ทางจิตด้ วยความพอดี
(มัชฌิมาปฏิปทา)
• กระทั่งวันขึ้น 15 ค่า
เ ดื อ น 6 ก่ อ น
พุทธศักราช 45 ปี ท่าน
ประทับนั่งใต้ต้นพระศรี
มหาโพธิ์ แคว้นมคธ
ป . อิ น เ ดี ย แ ล ะ ตั้ง
สัตยาธิษฐานว่า
• “ถ้ายังไม่ได้ตรัสรู้พระ
อนุตรสัมมาสัมโพธิ
ญาณ..จักไม่เสด็จลุกขึ้น
จากบัลลังก์...ถึงแม้ว่า
เนื้อและเลือดในกายจัก
เหือดแห้งไปก็ตามที”
• จนกระทั่งปัจฉิมยามของ
วันนั้น พระองค์ได้เกิด
ปัญญาญาณ ตรัสรู้พระ
ธรรม “อริยสัจ 4” บรรลุ
ถึงการดับกิเลส และ
พ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง...
และทรงได้พระนามว่า..
“พระสัมมาสัมพุทธเจ้า”
ขณะมีพระชนมายุได้ 35
พรรษา
พระองค์ทรงตัดสินพระทัยเผยแผ่ธรรมด้วยพระมหา
กรุณาเพื่ออนุเคราะห์สรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์
• ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8
พระพุทธเจ้าเสด็จยังป่ า
อิสิปตนมฤคทายวัน
เมืองพาราณสี เพื่อแสดง
ธรรมโปรดปัญจวัคคีย์
ทั้ง 5 ซึ่งเป็ นปฐมเทศนา
ชื่อว่า
• “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร”
• “จงละส่วนสุดทั้ง 2 คือ การพัวพันตนให้หมกมุ่นในกาม และการ
ทรมานตนให้ลาบาก ซึ่งไม่ใช่ทางพ้นทุกข์และจงปฏิบัติด้วยทางสาย
กลาง หรือ “อริยมรรคมีองค์ 8” และตรัสสอน “อริยสัจ 4” คือ ทุกข์
สมุทัย นิโรธ มรรค ตามลาดับจนจบ”
• หลังจากแสดงธรรมจบ..พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรม
และทูลขออุปสมบทเป็ นพระสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา...
ในวันนั้นเอง เป็นวันที่มีพระรัตนตรัยครบสมบูรณ์
• พระพุทธเจ้ามีพระปฐมวาจาในการส่งพระสาวกออกประกาศพระ
ศาสนาว่า
• “....พวกเธอจงเที่ยวไป เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่มหาชน
เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูล และความสุขแก่
ทวยเทพ และมนุษย์”
• “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์
ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของ
ทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไปเพื่อ
ประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดย
ทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงาม
ในท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง
อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีใน
ดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุ
ทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
ลักษณะพระธรรมวินัย
• ในการบริหารคณะสงฆ์พระองค์ทรงวางหลักใหญ่ของ
ลักษณะพระธรรมวินัย ไว้ดังนี้
๑. เป็นไปเพื่อคลายกาหนัด
๒. เป็นไปเพื่อปราศจากทุกข์
๓. เป็นไปเพื่อลดกิเลส
๔. เป็นไปเพื่อความปรารถนาน้อย
๕. เป็นไปเพื่อความสันโดษ
๖. เป็นไปเพื่อความออกจากหมู่คณะ
๗. เป็นไปเพื่อความเพียรพยายาม
๘. 8.เป็นไปเพื่อความเป็นผู้เลี้ยงง่าย
• “ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยใดที่เราได้แสดงไว้แล้ว บัญญัติไว้
แล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของพวกเธอ
ทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแห่งเรา”
• พระพุทธองค์ได้เสด็จไปยังสถานที่ต่างๆ เพื่อแสดงธรรมโปรด
มหาชนให้ถึงซึ่งการพ้นทุกข์ ตั้งแต่พระชนมายุ 35 พรรษา ถึง 80
พรรษาแล้วจึงเสด็จปรินิพพานที่ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา
โดยพระองค์ได้ตรัสปัจฉิมวาจาก่อนปรินิพพานว่า...
• “สังขารทั้งหลายมี
ความเสื่อมไปเป็น
ธรรมดา เธอทั้งหลาย
จงยังความไม่ประมาท
ให้ถึงพร้อมเถิด”
“พระพุทธศาสนา” สอน อะไร ?
• “...โลกตั้งอยู่บนกองทุกข์.....
เรา ตถาคต แสดงแต่เรื่อง ทุกข์
และความดับทุกข์ เท่านั้น”
• “...เรื่องที่เราสอน ก็คือ ทุกข์
สมุทัย นิโรธ มรรค..เพราะ
ประกอบด้วยประโยชน์ เป็น
เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็นไป
เพื่อความหน่ายคลายกาหนัด
ดับ สงบ รู้ยิ่ง ตรัสรู้ และ
นิพพาน”
“พระพุทธศาสนา” สอน อะไร ?
• พระพุทธศาสนามองโลกตามความเป็นจริง
• ...หลักคาสอนในพระพุทธศาสนา เป็นหลักความจริงของกฎ
ธรรมชาติ
• ....สิ่งแรกที่มนุษย์ควรทา คือ การมองความจริงและทาความรู้จัก
กับสิ่งต่างๆ ตามที่มันเป็น และเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ ด้วย
ความรอบรู้และเข้าใจ เพื่อให้มีทุกข์น้อยที่สุด หรือ ไม่มีทุกข์เลย
• พระพุทธศาสนาสอนมุ่งให้คนเกิดปัญญา....และเมื่อรู้แล้วก็ควร
นาไปปฏิบัติเพื่อเกิดปร ะโยชน์แก่ชีวิต คือ ดับทุกข์ได้
ลักษณะทางปัญญาในพระพุทธศาสนา
๑. การมองเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น
หรือเห็นตามความเป็นจริง
๔
๕
ลักษณะทางปัญญาในพระพุทธศาสนา
๒. ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้เท่าทันสมมติบัญญัติ
คาสอนในพระพุทธศาสนา
• สัจธรรม คาสอนเกี่ยวกับธรรมชาติและความเป็นไปโดย
ธรรมดาของสิ่งทั้งหลาย (กฎธรรมชาติ)
- ชีวิต คือ อะไร ?
- ชีวิต เป็น อย่างไร ?
• จริยธรรม การนาประโยชน์จากการรู้และเข้าใจในสัจธรรมมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตเพื่อให้เป็นประโยชน์
• - ชีวิต ควรดาเนินไปอย่างไร ?
1.) สัจธรรม - ชีวิต คือ อะไร ?
• “ ชีวิต คือ ขันธ์ 5 ”
• - รูป คือ ร่างกาย
- วิญญาณ คือ การรับรู้ที่เกิดขึ้น
- เวทนา คือ ความรู้สึกชอบ ไม่ชอบ หรือเฉยๆ
- สัญญา คือ ความจาได้หมายรู้
- สังขาร คือ การปรุงแต่งของจิต ความนึกคิด ดี ชั่ว ต่างๆ
• ชีวิต ประกอบด้วย ขันธ์ทั้ง 5 หรือ รูปกับนาม หรือ ร่างกายกับ
จิตใจ และ องค์ประกอบต่างๆ ล้วนมีความสัมพันธ์กัน รูป คือ...
ร่างกาย / เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ คือ ....จิตใจ
สิ่งนี้คืออะไร??
ยังมีรถอยู่หรือไม่??
2.) สัจธรรม - ชีวิตเป็นอย่างไร ?
***ชีวิตและสรรพสิ่งล้วนตกอยู่ภายใต้กฎของไตรลักษณ์
•ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะที่มีอยู่เป็นปกติ 3 ประการ ได้แก่
•1.อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยงแท้
• 2.ทุกขัง คือ ความเป็นทุกข์ทนอยู่ได้ยาก
• 3.อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน
•***เมื่อชีวิตเป็นเช่นนี้การไปยึดมั่นถือมั่นให้ชีวิตของเราหรือผู้อื่น
เป็นไปอย่างใจเรา ย่อมขัดแย้งกับธรรมชาติ...ผลก็คือ เกิดความทุกข์
ไตรลักษณ์ : ลักษณะธรรมดาสามัญของสรรพสิ่ง
อนิจจตา
ความไม่เที่ยง ความไม่คงเที่ยง ภาวะที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมสลาย
ทุกขตา
ความเป็นทุกข์ ความทนอยู่ในสภาพเดียวกันไม่ได้ตลอดไป
อนัตตตา
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมันเอง
ทุกข์ในชีวิตเกิดจากการไม่รู้สัจธรรม
• “ ดูกรภิกษุทั้งหลาย.........ความทุกข์ทั้งมวลมีมูลรากมาจากตัณหา
อุปาทาน และความทะยานอยากดิ้นรนและความยึดมั่นถือมั่น ว่า
เป็นเรา เป็นของเรา…..
• เธอจงมองดูโลกนี้โดยความเป็นของว่างเปล่า มีสติอยู่ทุกเมื่อ
ถอนอัตตานุทิฏฐิ คือ ความยึดมั่นถือมั่นเรื่องตัวตนเสีย ด้วย
ประการฉะนี้ เธอจะเบาสบายคลายทุกข์ คลายกังวล ไม่มี
ความสุขใดยิ่งไปกว่าการปล่อยวางและการสารวมตนอยู่ในธรรม”
• (ดูต่อในแผ่นใส ของ อ.สรณีย์)
• ชีวิตเป็นรอย่างไร? (ต่อ) - ปฏิจจสมุปบาท
• จริยธรรม – ชีวิตควรดาเนินไปอย่างไร – อริยสัจ ๔
• ลักษณะคาสอนในพระพุทธศาสนา
• หลักความเชื่อและจุดหมายสูงสุด
• คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา
• นิกายในพระพุทธศาสนา
• ประเด็นคาสอนที่สาคัญที่แตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนากับ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
• ฐานะของพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
หลักจริยศาสตร์
หลักจริยศาสตร์ในพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักที่ชาวพุทธทุกคน
ยึดถือปฏิบัติตามกันอย่างเคร่งครัด เพื่อความสุขในชีวิตและ
สังคม มี ๓ ขั้น (สอนให้เว้นชั่ว –วินัยหรือศีล/สอนให้ทาดี–ธรรม)
ขั้นมูลฐาน
เบญจศีล
เบญจธรรม
ขั้นกลาง
กุศลกรรมบถ
๑๐
ขั้นสูง
อริยมรรค ๘
๑. หลักจริยศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
เบญจศีล
(ข้อปฏิบัติที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น)
เบญจธรรม
(คุณธรรมที่เกื้อกูลตนเองและผู้อื่น)
๑. ไม่เบียดเบียนและฆ่าสัตว์ ๑. มีเมตตากรุณาต่อสัตว์
๒. ไม่ลักทรัพย์ ๒. เอื้อเฟื้อ ประกอบอาชีพสุจริต
๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม ๓. สารวมในกาม
๔. ไม่พูดปด ๔. พูดความจริง
๕. ไม่ดื่มสุรา เมรัย ๕. มีสติสารวมระวัง
๒. หลักจริยศาสตร์ขั้นกลาง
กุศลกรรมบถ ๑๐
(กรรมดีอันเป็นทางนาไปสู่ความสุขความเจริญ)
๑. ไม่เบียดเบียนและฆ่าสัตว์ ๖. ไม่พูดคาหยาบ
๒. ไม่ลักทรัพย์ ๗. ไม่พูดเพ้อเจ้อ
๓. ไม่ประพฤติผิดในกาม ๘. ไม่คิดโลภอยากได้ของคนอื่น
๔. ไม่พูดปด ๙. ไม่คิดปองร้ายผู้อื่น
๕. ไม่พูดส่อเสียด ยุยง ๑๐. ไม่เห็นผิดจากธรรม
๓. หลักจริยศาสตร์ขั้นสูง
๑. ความเห็นชอบ
(สัมมาทิฐิ)
๕. การเลี้ยงชีพชอบ
(สัมมาอาชีวะ)
๒. ความดาริชอบ
(สัมมาสังกัปปะ)
๖. ความเพียรชอบ
(สัมมาวายามะ)
๓. การเจรจาชอบ
(สัมมาวาจา)
๗. การตั้งสติชอบ
(สัมมาสติ)
๔. การกระทาชอบ
(สัมมากัมมันตะ)
๘. การตั้งมั่นชอบ
(สัมมาสมาธิ)
อริยสัจ ๔ : ความจริงอันประเสริฐ
• ทางแห่งความ
พ้นทุกข์
• มรรค ๘
• ความดับทุกข์
• นิพพาน
• เหตุแห่งทุกข์
• โลภ โกรธ
หลง
• ความทุกข์
• สภาพที่ทนได้ยาก
• เกิด แก่ เจ็บ
ตาย
ทุกข์ สมุทัย
มรรคนิโรธ
สรุปหลักจริยธรรมในพระพุทธศาสนา
1.ละเว้นความชั่ว (ศีล – การ
รักษากาย วาจาให้เรียบร้อย)
2.ทาความดี (สมาธิ – การทาใจ
ให้สงบ ตั้งมั่น)
3.ทาจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส
(ปัญญา – รู้ตามความเป็น
จริง)
อุดมคติสูงสุดในพระพุทธศาสนา คือ นิพพาน
นิพานคือ สภาวะที่จิตว่างเปล่าปราศจากกิเลสคือ โลภะ ความ
อยากได้, โทสะ ความโกรธ, โมหะ ความหลง (นิพพาน ปรม สุญญ)
นิพพานคือ สภาวะที่จิตเต็มไปด้วยความสุขที่แท้จริง อันเป็นสุขไม่
แปรเปลี่ยนไปเป็นทุกข์ (นิพพาน ปรม สุข)
นิพพานคือ สภาวะที่จิตมีอิสรภาพอย่างสมบูรณ์ เพราะหลุดพ้น
จากความชั่วคือกิเลสทั้งปวง จึงเป็นจิตที่หมดความเห็นแก่ตัว ชีวิตที่
เหลืออยู่จึงเป็นชีวิตที่เป็นประโยชน์แก่มหาชน ในจิตจึงมีแต่กุศลความ
ดี ที่จะทาประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ต้องคานึงถึงตนเอง เพราะการถึง
นิพพานชื่อว่าทาประโยชน์ของตนให้บริบูรณ์ได้แล้ว
1. กามสุข สุขอันเกิดจากรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เป็นสุขทาง
ประสาทสัมผัส เป็นสุขทางกาย
2. ฌานสุข เป็นสุขทางใจ อันเกิดจากจิตได้สมาธิชั้นสูง
3. นิพพานสุข สุขทางใจจากการหมดกิเลส
พระพุทธศาสนาแบ่งความสุขออกเป็น 3 ประการ คือ
( มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสกะ พระไตรปิฎกเล่ม 13
ข้อ 100 – 102 หน้า 96 – 99 )
หลักความเชื่อในพระพุทธศาสนา
๑. เชื่อกรรม
พระพุทธศาสนาเน้นให้เชื่อเรื่อง “กรรม” คือ การกระทา กรรมเป็นคา
กลางๆ
ทาดีเรียกว่า กุศลกรรม ทาไม่ดีเรียกว่า อกุศลกรรม แบ่งเป็น ๓ ทาง คือ
ทางกาย ทางวาจา และทางใจ
๒. เชื่อผลแห่งกรรม
พระพุทธศาสนาสอนว่า การกระทาทุกอย่างไม่ว่าทางกาย ทาง
วาจา หรือทางใจ ย่อมมีผลติดตามมา ทาดีได้ผลดี ทาชั่วได้ผล
ชั่ว คนจะได้ดีหรือได้ชั่วเป็นเพราะตัวเป็นผู้กระทา คนจะมีเกียรติ
สูงต่า ก็เป็ นเพราะเราทาตัว กรรมดีให้ผลดี กรรมชั่วให้ผลชั่ว
กรรมใหญ่ให้ผลใหญ่ กรรมเล็กน้อยให้ผลเล็กน้อย การให้ผล
แห่งกรรม จะมีความเที่ยงธรรมที่สุด ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ไม่
เกรงกลัวอานาจต่อใครๆ ให้กับคนต่าต้อยอย่างไร ก็จะให้กับคน
ที่มีอานาจวาสนาเช่นนั้น ถ้าคนทั้งสองกระทากรรมไว้เหมือนกัน
๓. เชื่อว่าทุกคนมีกรรมเป็นของตนเอง
พระพุทธศาสนาสอนว่า ผลแห่งกรรมเป็นสมบัติเฉพาะตัวใครทา
คนนั้นได้ จะแบ่งปันเผื่อแผ่กันไม่ได้ ผลแห่งกรรมไม่ใช่มรดกจะ
ยกให้กันได้ บุคคลไม่มีสถานที่ปลอดภัยสาหรับผลแห่งกรรม จะ
เหาะไปในอากาศ จะมุดไปในถ้า หรือจะดาน้าหนีลงไปใต้
มหาสมุทรก็ไม่สามารถจะซ่อนตัว หรือหนีไปจากผลแห่งกรรมได้
เพราะผลแห่งกรรมจะอยู่ติดตัวผู้กระทา
กรรม : จูฬกัมมวิภังคสูตร
กฎแห่งกรรม
คนหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น
ผู้ทากรรมดี ย่อมได้รับผลดี
ผู้ทากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว
๔. เชื่อว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้จริง
ชาวพุทธที่แท้จริงจะต้องมีศรัทธามั่นคงในพระธรรมคาสั่งสอน
ของพระพุทธเจ้า เพราะพระธรรมคาสั่งสอนของพระองค์ ล้วน
เป็นเรื่องจริงไม่ได้แต่งขึ้นมา หรือได้รับคาบอกเล่าจากใคร แต่
พระองค์ทรงเป็ นพระสัพพัญญู ตรัสรู้ทุกสิ่งทุกอย่างด้วยพระ
ปัญญาอันบริสุทธิ์ของพระองค์เองตรัสไว้อย่างไร ย่อมเป็นจริง
อย่างนั้นแน่นอน
คาสอนเรื่องเทพเจ้า
• ในพระพุทธศาสนาแสดงให้เห็นว่า เทพเจ้าคือตัวอย่างของผู้ทาความดี
สร้างกุศลกรรม จึงได้เกิดเป็นเทพเจ้า เพราะผลแห่งกรรมดีที่ได้สร้าง
เอาไว้ แต่ไม่ใช่เทพเจ้าผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง
• ในพระพุทธศาสนา แบ่งเทพ หรือเทวดาออกเป็น
• ๑. อุปปัติเทพ คือ เทพเจ้าที่เกิดในสวรรค์ เป็น อทิสสมานกาย
• ๒. สมมติเทพ คือ กษัตริย์ หรือคนชั้นสูง
• ๓. วิสุทธิเทพ คือ ผู้ไร้กิเลส สละทุกอย่างเพื่อสังคมโลก
• “ผู้สมบูรณ์ด้วยความรู้และความประพฤติ เป็นผู้ประเสริฐสุดใน
เทวดาและมนุษย์”
คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
• เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ ๓ เดือน ได้มีการประชุมทาสังคายนา
ประมวลคาสอนของพระพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก เรียกว่า “พระธรรมวินัย”
มีพระเถระผู้ร่วมสังคายนาช่วยกันจัดเป็นหมวดหมู่ แบ่งกันท่องจาจน
มั่นใจว่าท่องได้แม่นยาตรงกันทั้งหมด จึงแยกย้ายกันไปเผยแผ่ศาสนา
• การทาสังคายนาแรกๆ ยังไม่มีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร ใช้
วิธีมุขปาฐะ >> มาปรากฎในรูปลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในการ
ทาสังคายนาในประเทศศรีลังกา ประมาณปี พ.ศ. ๔๓๓ โดยมีพระ
รักขิตมหาเถระเป็นประธาน ใช้ภาษาบาลี อักษรสิงหลบันทึกลง
ในใบลาน จึงเกิดเป็นคัมภีร์พระไตรปิฎก
คัมภีร์
คัมภีร์ที่สาคัญ คือ พระไตรปิฎก ติปิฏก แปลว่า ตะกร้า
สามใบ ประกอบไปด้วย
1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยวินัยของภิกษุและภิกษุณี ตลอดจน
พิธีกรรมทางศาสนาและพุทธประวัติ มี ๘ เล่ม ตั่งเล่มที่ ๑-๘
2. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า
มีเรื่องราวประกอบ มี ๒๔ เล่ม ตั้งแต่เล่มที่ ๙-๓๓
3 พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยหลักธรรมขั้นสูง
มี ๑๒ เล่ม ตั้งแต่เล่มที่ ๓๔-๔๕
โครงสร้างพระไตรปิฎก
• ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสกและอุบาสิกา
พระวินัยปิฎก
• ว่าด้วยคาสอนที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล
สถานที่ เหตุการณ์ประกอบหรือเรียกว่า
ชาดก
พระสุตตันตปิฎก
• ว่าด้วยสภาวธรรมล้วนๆ เกี่ยวกับจิต เจตสิก
รูป และนิพพาน เป็นธรรมลึกซึ้งในทาง
พระพุทธศาสนา
พระอภิธรรมปิฎก
ลาดับความสาคัญของคัมภีร์พระพุทธศาสนา
• ก. พระไตรปิฎก >> รวบรวมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสด้วยพระองค์
เป็นส่วนใหญ่
• ข. อรรถกถา >> คาอธิบายพระไตรปิฎก จัดเป็นหลักฐานลาดับที่สอง
• ค. ฎีกา >> อธิบายเพิ่มเติมจากอรรถกถา
• ง. อนุฎีกา >> เป็นคาอธิบายเพิ่มเติมจากฎีกา
• จ. คัมภีร์พิเศษ >> อาจริยวาท หรือ ปกรณ์พิเศษ ได้แก่
• - คัมภีร์วิสุทธิมรรค โดย พระพุทธโฆษาจารย์
• - คัมภีร์มิลินทปัญหา / ในไทย > ไตรภูมิพระร่วง,มงคลทีปนี,
คัมภีร์สาคัญของเถรวาท
อรรถกถา ฎีกาพระธรรมวินัย พระไตรปิฎก
อนุฎีกา
ปกรณ์พิเศษ
นิกายในพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท (หีนยาน)
• เป็นนิกายดั้งเดิม ยึดถือหลักพระธรรมวินัยที่ได้สังคายนาไว้เมื่อ
พุทธปรินิพพาน ได้ ๓ เดือน เจริญอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย ได้
แพร่หลายไปยังประเทศเอเชียใต้ เช่น ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว
และเขมร เป็นต้น
นิกายมหายาน
• เป็นนิกายที่แยกออกมาใหม่ ยึดถือหลักธรรมตามการตีความใหม่
และการปฏิบัติของอาจารย์ตน เจริญอยู่ตอนเหนือของอินเดีย ได้
แพร่เข้าไปสู่ประเทศธิเบต จีน เกาหลี เวียดนามและญี่ปุ่น
เหตุที่เกิดนิกาย มี 2 เหตุ
ใหญ่คือ
1. สีลสามัญญตา ความ
ประพฤติไม่เสมอกัน
2. ทิฎฐิสามัญญตา
ความเห็นแตกต่างกัน
หินยาน หรือ เถรวาท
มหายาน หรืออาจารยวาท
เถรวาท มหายาน
๑. เชื่อว่าพระวินัยและพระธรรมแก้ไข
ไม่ได้
๒. อุดมคติสูงสุด คือ การเป็นพระ
อรหันต์
๓. เน้นการพึ่งตนเองในการพ้นจาก
ความทุกข์
๔. เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามี ๒ กาย คือ
กายธรรม และกายเนื้อ
๑. ถือว่า พระวินัยและพระธรรม
สามารถปรับเปลี่ยนหรืออธิบาย
เพิ่มเติมได้
๒. อุดมคติ คือ การเป็นพระโพธิสัตว์
เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์
๓. อนุญาตให้มีการสวดอ้อนวอน
พระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์เพื่อพ้น
จากทุกข์
๔. พระพุทธเจ้ามี กายธรรม กายเนื้อ
และกายทิพย์ (มีสภาวะเป็นนิรันดร์)
สัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา
• พระรัตนตรัย
• รูปธรรมจักร
• พระพุทธรูป
• ใบโพธิ์
• พระบรมสารี-
ริกขธาตุ
• ฯลฯ
ฐานะของพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
• ปัจจุบันพระพุทธศาสนา ได้เจริญอยู่ในประเทศแถบเอเชีย จนได้
นามว่า “ประทีปแห่งทวีปเอเชีย” เช่น ไทย พม่า ลาว เขมร ศรีลังกา
จีน เป็นต้น โดยเฉพาะใน ประเทศไทย ซึ่งมีพระพุทธศาสนาเป็น
ศาสนาประจาชาติและมีประชาชนนับถือ 90 %
• ต่างประเทศ จะมีสมาคมพุทธ, ออกวารสาร หรือตั้งสานักสงฆ์เผย
แผ่ เพื่อเป็นศูนย์ศึกษาและปฏิบัติธรรม มากกว่า 1,000 แห่ง
• ปัจจุบัน ทั่วโลก มีจานวนพุทธศาสนิกชน มากกว่า 400 ล้านคน
พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย
• เนื่องจากชาวไทยนับถือพระพุทธศาสนามาช้านาน จน
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้หล่อหลอมซึมซับลงในวิถีไทย
กลายเป็นรากฐานวิถีชีวิตของคนไทยในทุกด้าน ทั้งด้านวิถีชีวิต
ความเป็นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม
๑) วิถีชีวิตของคนไทย
• คนไทยมีวิถีการดาเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ การแสดง
ความเคารพ การมีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความกตัญญูกตเวที
๓) ภาษาและวรรณกรรมไทย
• ภาษาทางพระพุทธศาสนา เช่น ภาษาบาลีมีอยู่ในภาษาไทยจานวน
มาก วรรณกรรมไทยหลายเรื่องมีที่มาจากหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา เช่น ไตรภูมิกถา กาพย์มหาชาติ เป็นต้น
๓) ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
• ประเพณีไทยที่มาจากความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามีอยู่
มากมาย กล่าวได้ว่าขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ
พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย
การเทศน์มหาชาติ
ประเพณีหล่อเทียนเข้าพรรษา
ประเพณีทอดกฐิน
ตักบาตรเทโว
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีลอยกระทง
๔) ศิลปกรรมไทย
• วัดเป็นแหล่งรวมศิลปกรรมไทย ทางด้านสถาปัตยกรรม เช่น
รูปแบบการเสร้างเจดีย์พระปรางค์ วิหาร ที่งดงามมาก
จบการนาเสนอแล้ว
แต่เดี๋ยว...
..วันนี้คุณทาความดี
หรือยังค่ะ.....
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 

Similar to พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาDnnaree Ny
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2Taweedham Dhamtawee
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 

Similar to พระพุทธศาสนา (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

พระพุทธศาสนา

Editor's Notes

  1. Prior to the religion’s emergence, Hinduism was the dominant religion in northern India, the region of Siddhartha’s birth (1)