SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 83
Descargar para leer sin conexión
การสร้างแบบทดสอบ
   วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                 รศ. ไพทูรย์ เวทการ
               ดร.วิยดา เหล่มตระกูล
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
จุดประสงค์
• บอกขันตอนการวัดและประเมินผลการเรียนรูได้
          ้                              ้
  อย่างถูกต้อง
• เมื่อกําหนดข้อสอบให้สามารถบอกข้อบกพร่องและให้
  ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงข้อสอบได้อย่างถูกต้อง
• เขียนแบบทดสอบปรนัยและอัตนัยได้ถูกต้องตาม
  หลักวิชา
ขอบเขตเนื้อหา
   ขันตอนการวัดและประเมินผล
      ้
   หลักการสร้างแบบทดสอบ
   การสรางแบบทดสอบปรนย
            ้              ั
   การสรางแบบทดสอบอตนย
          ้            ั ั
1. ขันตอนการวัดและประเมินผล
     ้
   กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนรูที่มุ่งวัด
                                               ้
   กาหนดวิธีการวดผล
     ํ           ั
                      ่
   การเลือก/สร้างเครืองมือวัดผล
                        ่
   การตรวจสอบคุณภาพเครืองมือ
   การบรหารการวดผล
         ิ      ั
   การตดสนค่าจากผลการวด
        ั ิ            ั
     การใหผลยอนกลบจากการวดและประเมินผล
           ้ ้ ั          ั
2.หลักการสร้างแบบทดสอบ
   ข้อสอบใช้สาหรับวัดความสามารถ
                ํ
ของผูเ้ รียน โดยเฉพาะความสามารถ
ทางสมอง
2.1 ขอตกลงเบ้ องตนในการสรางขอสอบ
     ้        ื ้        ้ ้
– เนื้อหาที่จะวัด ต้องอยู่ในรูปของพฤติกรรมที่มีความ
                          ่
 เฉพาะเจาะจง สามารถสือสารไปยังบุคคลอืนได้     ่
– ผลตผลท่วด ตองวดผลตผลท่ีเกดข้ นจากการเรยน
      ิ      ีั ้ ั ิ               ิ ึ            ี
 การสอนตามวัตถุประสงค์ท่ีตองการเท่านัน
                                ้           ้
– ผลสัมฤทธิ์หรือความรูที่จะวัด ผูเ้ ข้าสอบทุกคนจะต้องมี
                            ้
 โอกาสได้เรียนรูใ้ นเรืองที่จะวัดอย่างเท่าเทียมกัน
                       ่
2.2 ลักษณะของผูเ้ ขียนข้อสอบที่ดี
     – มีความรูใ้ นเนื้อหาวิชาและจุดมุ่งหมายรายวิชา
     – มีความรูเ้ กียวกับหลักการเขียนข้อสอบ
                    ่
       รูปแบบข้อสอบ และวิธีการสร้างข้อสอบ
     – มีความสามารถในการใช้ภาษา
     – รูวิธีการถามในลักษณะแปลกใหม่
         ้
     – มีทกษะในการวิจารณ์ขอสอบ
            ั                  ้
2.3 ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี
  – มีความตรง (Validity) วัดได้ตรง
   คุณลักษณะที่ตองการวัดตามจุดมุ่งหมายที่
                ้
   ต้องการ
    •   ตรงตามเนื้อหา (Content Validity)
    • ตรงตามโครงสราง (Construct Validity)
                  ้
    • ตรงตามพยากรณ์ (Predictive Validity)
    • ตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
– มีความเท่ียง (Reliability)
 ความคงเส้นคงวาของผลการวัด
  • แบบสอบซา (Test-Retest)
           ้ํ
              ่
  • แบบแบ่งครึงข้อสอบ (Split half)
  • แบบคู่ขนาน (Parallel Form)
  • แบบวัดความสอดคล้องภายใน
   (Internal Consistency)
– มีความเป็ นปรนัย
 (Objectivity) อ่านแลว เขา้ ใจ
                     ้
 ได้ตรงกัน ให้คะแนนและแปลความหมายของ
 คะแนนได้ตรงกัน
– มีค่าอํานาจจําแนกเหมาะสม
 (Discrimination)                แยก
 นักเรียนเก่งและอ่อนได้ถูกต้อง
– มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficalty)
                                 ่
 ความยากง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา นันคือ มีผูตอบถูก
                                         ้
           ่ ่
 ประมาณครึงหนึงของผูเ้ ข้าสอบทังหมด
                               ้
– มีความยุติธรรม (Fairness) เดาไม่ได้
 ครอบคลุมเนื้อหาในหลักสูตร
– ถามลก(Searching)ไม่ถามเฉพาะความรู ้
      ึ
 ความจํา
– มีความเฉพาะเจาะจง (Definite)
  ข้อคําถามมีความเฉพาะเจาะจงมีความหมายเดียว
– มีลกษณะท้าทาย (Challenge) และ
      ั
 เป็ นตัวอย่างที่ด(Examplary)
                  ี
 เรียงข้อสอบจากง่ายไปยาก ถามเรืองที่น่าสนใจ และ
                               ่
 เป็ นแบบอย่างที่ดี
– มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
 นําไปไช้ง่าย ไม่ส้นเปลืองเวลา เงินและแรงงานมาก
                   ิ
 และนําผลการสอบไปใช้ได้คุมค่า้
2.4 หลักทัวไปในการเขียนข้อสอบ
          ่
     – ถามให้ครอบคลุม ครบตามหลักสูตร
     – ถามเฉพาะสิงที่สาคัญ
                   ่ ํ
     – ถามให้ลก ครบทุกพฤติกรรม
              ึ
     – ถามในสิงที่เป็ นแบบอย่างที่ดี
                ่
     – ถามให้เฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ
2.5 ขันตอนการสร้างแบบทดสอบ
      ้
•   วางแผนสร้างแบบทดสอบ
•   ลงมือเขยนขอสอบ
           ี ้
•   ทดลองใช้แบบทดสอบ
•   ประเมินผลแบบทดสอบ
2.6 การวางแผนสร้างแบบทดสอบ
  • กําหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ
       • เพือประเมินผล
            ่
       • เพือปรับปรุงการเรียนการสอน
              ่
       • เพือตัดสินผลการเรียน
                ่
  • วิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา และพฤติกรรม
  • เขียนข้อสอบตามหลักการเขียนข้อสอบ
  • ทดลองใช้แบบทดสอบ(try out) เพือนําข้อมูล
                                          ่
    ไปใช้ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ
  • ตรวจสอบคุณภาพรายข้อและทังฉบับ ้
3. แบบทดสอบปรนัย
    (Objective test)
      เป็ นข้อสอบที่มีคาถามเฉพาะเจาะจง
                       ํ
                           ํ ่
ตรวจให้คะแนนตรงกัน มีคาสัง วิธีการ
ปฏิบติ และวิธีการตรวจให้คะแนนชัดเจน
    ั
ประเภท
 แบบถูกผิด (true-false)
 แบบเตมคา (completion)
        ิ ํ
 แบบจับคู่ (matching)
 แบบเลือกตอบ (multiple
    choices)
1) ข้อสอบแบบถูก-ผิด
         จงใส่เครืองหมาย / หน้าข้อความที่เห็นว่าถูก
                  ่
   และใส่ หนาขอความที่เห็นว่าผด
               ้ ้             ิ

    ….1. ข้อสอบถูก-ผิด ทาใหเ้ กดโอกาสการเดาสงสด
                          ํ ิ               ู ุ
    ….2. ข้อสอบอัตนัยมีส่วนอย่างมากในการพัฒนา
         การออกความเห็นของนกเรยน
                               ั ี
หลักการเขียนข้อสอบแบบถูกผิด
 ข้อความมีความหมายชัดเจนไม่กากวมํ
  และไม่ควรใช้คาที่แสดงคุณภาพ
                ํ
 ข้อความที่กาหนดให้ตองตัดสินได้ว่า
             ํ        ้
   ถกหรอผดจรงและเป็นสากล
       ู ื ิ ิ
 แต่ละข้อควรถามจุดสําคัญเพียง
     ่
  เรืองเดียว
 ไม่ควรสร้างข้อคําถามเชิงปฏิเสธ
        ่
  หลีกเลียงการคัดลอกข้อความจากหนังสือ
           ่
 หลีกเลียงการใช้คาชี้แนะคําตอบ เช่น
                  ํ
       ้            ้       ่
 เท่านัน เสมอ บางครัง โดยทัวไป อาจจะ
 ความยาวของข้อความควรใกล้เคียงกัน
 ไม่ควรวางข้อถูกและข้อผิดอย่างเป็ น
  ระบบ
 ควรให้มีจานวนข้อถูกและข้อผิดพอๆกัน
             ํ
ข้อดีของข้อสอบแบบถูกผิด
 เหมาะกับการวัดพฤติกรรม
  ความรู ้ ความจา
                ํ
 สร้างง่าย ตรวจง่ายและมีความ
  เป็ นปรนัย
 ใช้ทดสอบได้ทุกวิชา
 ผูตอบใช้เวลาทําน้อย
      ้
ข้อจํากัดของข้อสอบแบบถูกผิด
 โอกาสที่เดาถูกมีมาก
 วัดพฤติกรรมระดับสูงไม่ได้
 ไม่สามารถวินจฉัยสภาพการเรียนได้
               ิ
 มีค่าอานาจจาแนกตา
        ํ    ํ      ํ่
2) ข้อสอบแบบเติมคํา(Completion)


          (0) การวดผล คือ…………………..
                  ั
         (00) ข้ อสอบทีเ่ ขียนยากทีสุดคือข้ อสอบ……
                                   ่
        (000) อุณหภูมปกตของร่างกายมนุษย์ คือ……
                     ิ ิ
หลักการเขียนข้อสอบแบบเติมคํา
   เขียนคําถามให้เฉพาะเจาะจง
   เขยนคาถามใหตอบไดสนที่สด
       ี ํ          ้        ้ ้ั ุ
   ควรให้เติมส่วนที่เป็ นสาระสําคัญ
   ควรเว้นช่องว่ างให้เติมท้ายประโยค
   ควรเว้นช่องว่ างที่จะให้เติมเท่ากัน
    ทุกช่อง
 คําตอบที่เป็ นตัวเลข ถ้ามีหน่วยควรระบุ
  หน่วยที่ตองการให้ตอบ
           ้
 ไม่ควรลอกข้อความจากตําราแล้วตัด
  ข้อความบางตอนออก
 ไม่ควรเว้นช่องว่ างให้เติมหลายแห่ง
 ไม่ควรให้มีคาหรือข้อความแนะคําตอบ
                ํ
 หลีกเลียงการใช้คาที่จะให้คาตอบไม่
         ่          ํ        ํ
  แน่นอน เช่น ประมาณ ราวๆ ได้แก่ ฯลฯ
ข้อดีของข้อสอบแบบเติมคํา
 เหมาะกับพฤติกรรมด้านความรูความจํา
                            ้
 เหมาะกบวิชาคณตศาสตรและทกษะ
         ั      ิ      ์ ั
  คานวณ
    ํ
 เดาคาตอบไดยาก
      ํ       ้
 ข้อจํากัดของข้อสอบแบบเติมคํา
 ไม่เหมาะกับวัดพฤติกรรมระดับสูง
 ยากในการเขียนให้ได้คาตอบเดียว
                            ํ
 ถ้าใช้บ่อยๆ ผูเ้ รียนจะมุ่งแต่ท่องจํา
3) ข้อสอบแบบจับคู่
รายการที่ควรนํามาออกข้อสอบแบบจับคู่
      ศัพท์กบความหมาย
                 ั
      เหตุการณ์กบเวลา
                   ั
      เหตุกบผลั
         ่
      ชือบุคคลกับผลงาน
           ่
      ชือกระบวนการกับผลผลิต
      กฎกบการใช ้
             ั
คาช้ แจง จงพจารณาว่าเหตการณต่างๆ (ขวามือ)
   ํ ี         ิ           ุ    ์
 เกิดขึ้นในรัชสมัยใด (ซายมือ) โดยนําอักษรหน้า
                       ้
รัชสมัยไปเติมหน้าเหตุการณ์ต่างๆ
  ….1. สงคราม 9 ทัพ               ก. รชกาลท่ี 1
                                         ั
  ….2. เลิกทาส                    ข. รชกาลท่ี 2
                                       ั
  ….3. มีกฎหมายตรา 3 ดวง
                                  ค. รชกาลท่ี 3
                                           ั
                                  ง. รัชกาลที่ 4
                                  จ. รัชกาลที่ 5
หลักการสร้างข้อสอบแบบจับคู่
    เขียนคําชี้แจงให้ชดเจน
                       ั
                            ่
    เนื้อหาวิชาควรถามในเรืองเดียวกัน
    ควรกําหนดให้คาตอบมีมากกว่ าคําถาม
                     ํ
    จํานวนข้อคําถามไม่ควรมากเกินไป
     (สําหรับชันประถมศึกษาไม่ควรเกิน 5-6 ขอ)
                 ้                        ้
    ควรให้คาชี้แจง คําถาม คําตอบ อยูหน้า
              ํ                       ่
     เดียวกัน
    หลีกเลียงคําถามที่แนะคําตอบ
            ่
ข้อดีของข้อสอบแบบจับคู่
   เหมาะสําหรับความรูความจําที่มีเนื้อหา
                        ้
      ั ั ี่ ้ ั
    สมพนธ์เกยวของกน
   สามารถวัดพฤติกรรมระดับความเข้าใจ
    และการนําไปใช้ได้ดี เช่น การอ่าน
    สัญลักษณ์ การจับคู่ระหว่างกฎเกณฑ์กบ   ั
    ปรากฏการณ์
   ประหยัดเวลาในการอ่านข้อสอบ ทําให้
     สามารถออกข้อสอบได้หลายข้อ
ขอจากดของขอสอบแบบจบคู่
 ้ ํ ั    ้       ั
 ใช้วดพฤติกรรมระดับการสังเคราะห์
      ั
   และประเมินค่าไม่ได้
 ยากที่จะหาเนื้อหาที่เป็ นเรืองเดียวกัน
                              ่
                          ่
 โอกาสการเดาถูกจะเพิมขึ้นเรือยๆ ่
4) ขอสอบแบบเลอกตอบ
     ้        ื
            ส่วนประกอบ

ตวคาถาม (Stem)
 ั ํ                ตวเลอก (Choices)
                     ั ื

                    ตัวเลือกที่เป็ นตัวถูก (Key)
                    ตวลวง (Distrater)
                     ั
ประเภทของข้อสอบเลือกตอบ
 4.1) แบบคําถามโดด (Single question)
                      ่             ่         ่
   คําถามจะถามเพียงเรืองเดียว ไม่เกียวกับข้ออืน
         ให้หาคําตอบถูก
           คําตอบถูกต้องแน่นอน
           คาตอบที่ดที่สด
               ํ         ี ุ
         ชนิดให้เรียงลําดับ
         ชนิดคําตอบรวม
(0) ต้นอ่อนเจริญมาจากส่วนใดของพืช
    ก. ใบ
    ข. ผล
    ค. ตา
    ง. ราก
4.2)แบบตัวเลือกคงที่(Constant
   choice) เป็ นการรวมเนื้อหาที่เป็ นพวก
   เดียวกันเข้าด้วยกัน แล้วตังคําถามเป็ นชุด
                             ้
ตัวอย่าง ให้พจารณาข้อความแต่ละข้อว่าผิดศีล
             ิ
           ข้อใด โดยใช้ตวเลือกต่อไปนี้
                          ั
           ก. ขอที่ 1 ข. ขอที่ 2 ค. ขอที่ 3
                  ้           ้        ้
           ง. ขอที่ 4 จ. ขอที่ 5
                ้           ้
      1.    มาโรงเรียนสาย
      2.    รับซื้อของโจร
      3.            ่
            หลบเลียงภาษี
4.3) แบบถามตามเนื้อเรืองที่
                      ่
   กําหนดให้ (Situation test)
  เป็ นการยกข้อความหรือสถานการณ์ท่ี
       ่
  เกียวกับจุดประสงค์การเรียนการสอนให้
  ผูตอบอ่านและตอบคําถาม
     ้
คาช้ แจง จงอานขอความขางล่างน้ แลวตอบคาถามขอ 1 -2
 ํ ี        ่ ้      ้        ี ้    ํ    ้
               “สงคมใดกตาม ถ้ามีแต่คนที่คานึงถึงสิทธิของตน
                  ั        ็                    ํ
        ไม่ใฝ่ ใจในหน้าที่ท่ีตองปฏิบติหรือปฏิบตผดหน้าที่และเกิน
                               ้      ั           ัิ ิ
         ิ              ่
        สทธิของตน เพือประโยชน์ส่วนตัว สงคมนนจะดารงอยู่
                                               ั ้ั ํ
        ไม่ได้”
                     1. ขอความน้ ีเป็นคากล่าวลกษณะใด
                             ้              ํ       ั
                               ก. การขอรอง้
                               ข. การวิงวอน
                               ค. การประชด
                               ง. การตกเตอน
                                        ั ื
                               จ. การเปรียบเทียบ
หลักในการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ
     1. เขียนคําถามให้เป็ นประโยคคําถามสมบูรณ์
                (0) กรุงเทพฯ เป็ น


                                    ่
               (00) กรุงเทพฯ เป็ นชือของอะไร
2. ตัดคําฟุ่ มเฟื อยในตัวคําถามและตัวเลือก
                 (0) จังหวัดใดมีพลเมืองน้อยที่สด  ุ
                        ก. จังหวัดเชียงใหม่
                        ข. จังหวัดขอนแก่น
                        ค. จังหวัดระนอง
                        ง. จังหวัดชุมพร
                        จ. จังหวัดชัยนาท
                                  ่
           (00) มนุษย์มีวิธีเพิมพูนสมรรถภาพให้แก่ตนเอง
           เพือต่อต้านโรคภัยที่รายแรงได้หลายวิธี จงบอก
               ่                    ้
           วิธีท่ีสาคญที่สด ท่ีเราควรปฏบตเพอตานทานการ
                   ํ ั ุ                    ิ ั ิ ื่ ้
           ตดต่อของโรค
             ิ
่
3. หลีกเลียงการใช้คาถามรูปปฏิเสธ ถ้าจําเป็ น
                    ํ
ต้องใช้ควรขีดเส้นใต้ให้ชดเจน
                        ั
             (00) เมื่อนกเรยนพบขอความบางตอน
                         ั ี            ้
                 ที่ไม่สามารถจดจําได้ง่ายๆ
                 เราไม่ควรปฏิบติอย่างไร
                                   ั
                      ก. ท่องใหข้ นใจ
                                ้ึ
                      ข. ย่นย่อให้สน ั้
                      ค. ตความใหชด
                            ี        ้ั
                      ง. อานทบทวนชาๆ
                          ่               ้
                      จ. ขยายความให้กว้าง
่
4. ข้อเดียวถามเรืองเดียว/ถามชัดเจนตรงจุด
             (0) ภาคกลางของประเทศไทย
                  ก. เป็นท่ีราบ
                  ข. มีฝนตกชุก
                  ค.ปลูกข้าวมาก
                  ง. อากาศอบอน  ุ่
                  จ.อาณาเขตกวาง    ้
             (00) คนภาคกลางมีอาชพอะไรมาก
                                     ี
            (000) ภูมิอากาศของภาคกลางเป็ นอย่างไร
5. ใช้ภาษาไทยไม่ซบซ้อน เหมาะกับชันและวัย
                 ั               ้
         (0) เท่าที่นกวิทยาศาสตร์ไค้คนพบ ในสุรยจักรวาล
                     ั                ้       ิ
         มีดาวเคราะห์อยู่ดวยกันทังหมดกีดวง
                          ้         ้     ่
                ก. 6 ดวง
                ข. 7 ดวง
                ค. 8 ดวง
                ง. 9 ดวง
                จ. 10 ดวง
                              ี่
          (00) มีดาวเคราะห์กดวงในสุรยจักรวาล (มัธยม)
                                        ิ
                                 ี่
          (000) ดาวเคราะห์มีกดวง (ประถม)
6. เรียงตัวเลือกที่เป็ นข้อความจากสันไปยาว หรือยาวไปสัน
                                    ้                 ้
และข้อสอบทังฉบับควรเรียงระบบเดียวกัน
              ้

                   (0) “รถส่วนตัว” ราชาศัพท์สาหรับ
                                             ํ
                      พระมหากษตรยคอขอใด
                                ั ิ์ื ้
                        ก. รถทรง
                        ข. รถพระที่นง
                                    ่ั
                        ค. รถพระที่นงทรง
                                       ่ั
                        ง. รถทรงพระที่นง  ่ั
7. เรียงตัวเลือกที่เป็ นตัวเลขจากน้อยไปมากหรือ
มากไปน้อย
                  (0) พยัญชนะไทยมีกเ่ี สียง
                        ก. 20
                        ข. 21
                        ค. 32
                        ง. 44
8. ถ้าไม่จาเป็ นไม่ควรใช้ตวเลือกปลายเปิ ด-ปิด
          ํ               ั

   (0) “ดมานด” ท่ีคนมีต่อสนคาถกกาหนดโดยอะไร
          ี ์             ิ ้ ู ํ
         ก. รายได้
         ข. รสนิยม
         ค. ราคาสนคา
                   ิ ้
         ง. ถูกทุกข้อ
9. ตัวเลือกที่ถูกต้องมีเพียงตัวเดียว

       (0) ข้อใดไม่เข้าพวก
              ก. นก
              ข. ควาย
              ค. จระเข ้
              ง. ปลาวาฬ
10. ตัวเลือกแต่ละตัวต้องเป็ นอิสระต่อกัน

     (0) โลกอยูห่างจากดวงอาทิตย์
               ่
         ประมาณเท่าใด
           ก. 50-60 ล้านไมล์
           ข. 60-70 ล้านไมล์
           ค. 70-80 ล้านไมล์
           ง 80-90 ล้านไมล์
           จ. 90-100 ล้านไมล์
11. จํานวนตัวเลือกเหมาะสมกับระดับชันของผูเ้ รียน
                                   ้

           ป.1-2 ควรมี 3 ตัวเลือก
           ป.3-4 ควรมี 4 ตัวเลือก
           ป.5-6 และชนมธยมข้ นไป
                      ้ั ั ึ
           ควรมี 5 ตวเลอก
                    ั ื
12. ตัวเลือกถูกไม่ควรใช้ศพท์/ภาษาที่สะดดตา
                         ั             ุ

                (0) เมืองใดไม่อยู่ในประเทศไทย
                      ก. ลําพูน
                      ข. ขอนแก่น
                      ค. สงขลา
                      ง. โตเกยว
                              ี
13. ทังตัวเลือกที่ถูกและผิด ไม่ควรถูกผิด
      ้
    เด่นชัดจนเกินไป
              (0) ขอใดเป็นพช
                    ้       ื
                  ก. มา ้
                  ข. วว
                      ั
                  ค. ควาย
                  ง. มะเขือ
14. ตัวเลือกที่ถูกไม่ควรใช้คาซํากับคําถาม
                            ํ ้

            (0) สุจริตตรงข้ามกับอะไร
                 ก. ความสุข
                 ข. ความทุกข์
                 ค. อารมณ์
                 ง. ทุจรต
                        ิ
15. หลีกเลียงคําถามที่เด็กคล่องปากอยู่แล้ว
           ่
        (0) ขาวตรงข้ามกับคําใด
            ก. ดา ํ
            ข. แดง
            ค. เขยว ี
            ง. เหลอง  ื
            จ. น้าเงน
                 ํ ิ
16.    ไม่ควรให้มีคาถามข้อแรกๆ แนะคําตอบ
                   ํ
       ข้อหลังๆ

                              ่
      (0) ปี 2544 มีอตราการเพิมของพลเมืองไทยเท่าใด
                     ั

      (00) จากปี 2543 ถง 2544 พลเมืองไทย
                       ึ
         ่
      เพิมขึ้นหรือลดลง
17. ควรใช้รปภาพประกอบคําถามในกรณีที่ใช้ภาพจะ
              ู
อธิบายได้ชดเจนกว่าตัวหนังสือ หรือใช้ขอสอบรูปภาพ
           ั                            ้
สําหรับเด็กเล็ก หรือคนที่อ่านหนังสือไม่ออก

    18. กระจายตัวเลือกที่ถูกให้อยู่ในตําแหน่งต่างๆ กัน

        19. คําถามควรมีประเภทวัดพฤติกรรมสูงๆ อยู่ดวย
                                                  ้
                 20. ต้องเขียนตัวถูกหรือตัวผิดตามหลักวิชา
ตัวอย่างข้อสอบ
1. ถ้านักเรียนไม่อยากสอบตก นักเรียนไม่ควรทําเช่นใด
2. พืชที่เป็ นสินค้าออกของไทยได้แก่อะไร
         ่
3. ปั กกิงเป็ นเมืองหลวงของประเทศใด อยู่ในทวีปอะไร
4. ถาเราแปรงฟันไม่สะอาด มีเศษอาหารตดตามซอกฟัน
    ้                              ิ
เสมอๆ จะทาใหเ้ กดอะไร
         ํ ิ
5. ภพานเป็น
    ู
6. การปกครองส่วนภูมิภาคของไทยแบ่งเป็ นจังหวัดและ
                                      ่
   อําเภอ ปั จจุบนประเทศไทยแบ่งเป็ นกีจงั หวัด
                 ั
       ก. 73 จังหวัด    ข. 74 จังหวัด
       ค. 75 จังหวัด    ง. 76 จังหวัด
7. อาชีพใดเป็ นอาชีพที่สาคัญที่สดของคนไทย
                        ํ       ุ
       ก. ทานา
            ํ                 ข. ทาเหมืองแร่
                                  ํ
       ค. อุตสาหกรรม          ง. กสิกรรม
4. แบบทดสอบอตนย
            ั ั
   (Essay type /Subjective test)
        แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบทดสอบความเรียง
  เป็ นแบบทดสอบประเภทเขียนคําตอบ ผูสอบต้องแสดง
                                        ้
  ความสามารถในการประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
  ประเมินผลแนวความคิดและความรูที่ได้เรียนมา เรียบ
                                   ้
  เรียงภาษาและผูกเป็ นรูปประโยคให้เป็ นข้อความที่เป็ น
  คาตอบของคาถาม
    ํ        ํ
ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัย
• ให้อสระแก่ผูสอบ
      ิ       ้
  – กาหนดคาตอบเอง
      ํ      ํ
  – เรียบเรียงคําตอบด้วยตนเอง
• คําถามหรือโจทย์จะกําหนดสถานการณ์ข้ นเพือให้
                                     ึ ่
ผูตอบแสดงความคิด ความรู ้ และความเข้าใจ
  ้
• ใช้ทดสอบในลักษณะกระบวนการ
  –   ให้เปรียบเทียบ
  –   ใหคาจากดความ
         ้ํ ํ ั
  –   ตีความ
  –   แปลความ
      ฯลฯ
• ผูตรวจให้คะแนนต้องเป็ นผูที่มีความรูความสามารถ
    ้                          ้      ้
  ในเนื้อหาวิชาที่ถาม จะให้ผูอนตรวจแทนไม่ได้
                             ้ ื่
ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย
    1. แบบจํากัดคําตอบ             2. แบบไม่จากัดคําตอบ
                                             ํ
(Restricted Response Questions) (Extended Response Questions)

เวลา+ ความยาวของคําตอบ            เปิ ดโอกาสให้ตอบได้อย่าง
           จํากัด                 กว้าง ๆ ไม่มีขอจํากัด
                                                ้
    เนื้อหา + รูปแบบ
ส่วนประกอบ
  ก. ตวคาถาม จะเขยนโดยกาหนดเป็นสถานการณข้ นมา
      ั ํ        ี     ํ               ์ึ
    ่
เพือให้ ผูตอบแสดงความรูความเข้าใจ ความคิดเห็นออกมา
          ้             ้
อย่างเต็มที่
    ข. คาตอบ ผูตอบจะต้องเขียนตอบโดยใช้ภาษาของตนเอง
        ํ        ้
โดยอาศัยความรู ้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น เขียนเรียบเรียง
              ่
เป็ นประโยคเรืองราว
หลักการสร้างข้อสอบแบบอัตนัย
   – กําหนดพฤติกรรมที่ตองการวัดให้ชดเจน
                          ้            ั
   – เขียนคําถามให้ชดเจนว่าต้องการให้ผูตอบ
                     ั                   ้
     ทําอย่างไร เช่น อธิบาย วิเคราะห์ ฯลฯ
   – ควรวัดพฤติกรรมตังแต่ระดับความเข้าใจ
                        ้
     ข้ นไป
        ึ
   – เขียนคําถามโดยใช้สถานการณ์ใหม่ให้ต่าง
     จากที่เคยเรียนหรือที่อยู่ในตํารา
– ถามเฉพาะสิงที่เป็ นประเด็นสําคัญของเรือง
             ่                          ่
– กําหนดความซับซ้อนและความยากให้
  เหมาะกับวัยของผูตอบ้
– ควรเฉลยคําตอบไปพร้อมๆกับการเขียนข้อสอบ
– ไม่ควรให้มีการเลือกตอบบางข้อ
ลักษณะโจทย์คาถามของแบบทดสอบแบบอัตนัย
            ํ
         Gronlund (1981) ได้เสนอลักษณะโจทย์คาถาม
                                            ํ
    ไว้ 12 หลก ดงน้ ี
              ั ั
1. ให้เปรียบเทียบ (Comparing)
  จงบรรยายความเหมือนกันและความแตกต่างกันระหว่าง…..
  จงเปรียบเทียบระเบียบวิธีทงสองต่อไปนี้………….
                            ้ั
2. ให้หาความสัมพันธ์ของสาเหตุกบผล
                               ั
       (Relating cause and effect)
  อะไรเป็ นสาเหตุสาคัญของ……………..
                   ํ
  อะไรควรจะได้รบกระทบของ………….มากที่สด
                 ั                   ุ
3. ให้บอกการกระทําที่ถูกต้อง (Justifying)
  ทางเลือกต่อไปนี้ท่านชอบทางเลือกไหนและทําไมจึงไม่ชอบ
  จงอธิบายว่าทําไมท่านจึงเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยกับ
   ข้อความต่อไปนี้
4. ให้สรุปความ (Summaring)
  จงสรุปใจความสําคัญของ……………..
                   ่
  จงสรุปเนื้อหาเรือง………….เพียงสัน ๆ
                                 ้

5. ให้สรุปอ้างอิง (Generalizing)
  จงสรุปอ้างอิงให้เชือถือได้ทวไปจากข้อมูลที่กาหนดให้
                      ่       ั่              ํ
  จงเสนอหลักการที่สามารถอธิบายเหตุการณ์ต่อไปนี้ได้
6. ให้อนุมานเอา (Infering)
  จากขอมูลที่เสนอ อะไรจะเกิดขึ้นได้มากที่สด และ
        ้                                  ุ
   จะเกดข้ นเมื่อใด……………..
       ิ ึ

7. จําแนกประเภท (Classifying)
   จงจัดกลุ่มข้อสอบต่อไปนี้ตาม…………..
   อะไรเป็ นลักษณะร่วม (Common) ของข้อสอบต่อไปนี้
8. ให้สร้างขึ้น (Creating)
  จงบอกวิธีการให้มากที่สดเท่าที่มากได้ ท่ีท่านคดว่า……..
                         ุ                       ิ
  จงสรางเรองราวที่บรรยายใหเ้ ห็นว่าอะไรจะเกดข้ น ถา…….
       ้ ื่                                    ิ ึ ้
9. ให้ประยุกต์ใช้ (Applying)
  จงใช้หลักการของ……เป็ นแนวทางบรรยายว่าท่าน
   จะแก้ปัญหาสถานการณ์นนได้อย่างไร
                         ั้
                       ่
  จงบรรยายสถานการณ์ ซึงแสดงถึงหลักการของ……...
10. ให้วิเคราะห์ (Analying)
  จงให้รายการและบรรยายลักษณะสําคัญของ………..

11. ให้สงเคราะห์ (Synthesizing)
        ั
  จงบรรยายแผนการที่ใช้ปรับปรุง………..
  จงเขียนรายงานที่เรียบเรียงอย่างดี เพือแสดงว่า…….
                                        ่
12. ให้ประเมิน (Evaluating)
   จงบรรยายข้อดีและข้อบกพร่องของ……………..
   จงใช้กฎเกณฑ์ที่กาหนดให้ประเมิน……………..
                    ํ
ลักษณะคําถามตามพฤติกรรม
• ความรู ้ – ความจํา (ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร)
  - จงบอกประโยชน์ของต้นไม้ มา ๕ ขอ
                                 ้
  - จงบอกขนตอนการตอนตนไมมาตามลาดบ
          ั้            ้ ้        ํ ั
                     • ความเข้าใจ
                        - ถามให้เปรียบเทียบ
                        - ถามให้บรรยาย
                        - ถามให้สรุปความ
• การนําไปใช้
 - ถามคาดคะเนผลที่เกิด
 - ถามความสัมพันธ์
 - ถามยกตวอยาง
          ั ่
 - ถามประยุกต์ใช้หลักการทฤษฎีในสถานการณ์ใหม่
                 • การวิเคราะห์
                        - ถามให้บอกความสําคัญ
                        - ถามให้บอกเหตุผล
                        - ถามหาหลักการ
• สังเคราะห์
          ่
  - ถามเกียวกับแผนงานและโครงการ
  - ถามให้จดราบรวมข้อเท็จจริงขึ้นใหม่
            ั
  - ถามให้แสดงความคิดสร้างสรรค์
          • การประเมินค่า
                 - ถามให้ตดสินใจ
                          ั
                 - ถามให้อภิปราย หรือวิพากษ์วิจารณ์
(0)      (0)ยนข้อยนข้ อดีของข้ อสอบแบบอัยนัยมา 5 ข้อ
       จงเขี จงเขี ดีของข้อสอบแบบอัตนัตมา 5 ข้อ

       (00) ด่ านคดว่าความรงรเทคนิคการวัดดผลจะช่ววยทาน
(00) ท่านคิ ทว่าความรูเ้ รือ ู้ เ ่ือง เทคนิคการวั ผลจะช่ ยท่ ่ าน
                  ิ        ่
            ในการแต่งข้อสอบอย่างไรบ้าง
        ในการแต่งข้อสอบอย่างไรบ้าง
่
(0) ท่านคิดว่าความรูเ้ กียวกับการวัดผลการศึกษามี
ประโยชน์ต่อท่านอย่างไร จงอธิบาย
(00) ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อการปฏิรปการศึกษา
                                       ู
ในเมืองไทย
โอกาสที่ควรใช้ขอสอบอัตนัย
               ้
     มีจานวนผูสอบนอย
         ํ     ้   ้
      ผูสอนมีเวลาในการตรวจ
         ้
      ผูสอนสามารถอ่านและวินจฉยในการใหคะแนนได ้
         ้                  ิ ั       ้
      ต้องการวัดการคิด/การเขียน
      มีเวลาในการออกข้อสอบน้อย
      จะไม่นาขอสอบนนมาใชอก
             ํ ้    ั้   ้ี
ขอเสนอแนะในการใชแบบทดสอบอตนย
 ้              ้        ั ั
   1. ต้องการวัดผลการเรียนรูระดับสูงหรือซําซ้อน
                              ้           ้
   2. ควรมีเวลาสร้างข้อสอบอย่างเพียงพอ
   3. ควรถามให้ชดเจน เฉพาะเจาะจง
                   ั
   4. ไม่ควรมีขอสอบไว้ให้เลือกตอบ โดยเฉพาะ
               ้
       การสอบวัดผลสัมฤทธิ์
   5. ควรบอกผูสอบให้ทราบล่างหน้าว่าจะใช้
                 ้
                           ่
       แบบทดสอบอัตนัย เพือการเตรียมตัว
่ ั
 6. ควรเขียนคําสังให้ชดเจน
 7. ควรใช้คาถามหลาย ๆ ลักษณะในแบบทดสอบ
           ํ
    ชดเดยวกน
     ุ ี ั
 8. ควรให้มีขอสอบจํานวนมากข้อ
             ้
 9. ควรเรียงข้อสอบตามลําดับจากง่ายไปยาก
10. ควรให้เวลาในการตอบอย่างเพียงพอ
11. ควรกําหนดจํานวนข้อ ความยาวในการตอบ
     ความซับซ้อนให้เหมาะผูสอบ
                          ้
12. ควรเขียนคําตอบเฉลยไว้
ข้อแนะนําในการตรวจข้อสอบแบบอัตนัย
     – พิจารณาคําตอบแต่ละข้อ และแบ่งคุณภาพ
                                          ่
       การตอบเป็ นกลุ่ม เช่น ดี ปานกลาง ตํา
     – ตรวจให้คะแนนแต่ละข้อของแต่ละกลุ่ม
     – นาคะแนนมาเรยงลาดบคณภาพ
        ํ           ี ํ ั ุ
     – ตรวจให้คะแนนทีละข้อของทุกคน
                                    ู่ ้
     – ควรสุ่มคําตอบมาตรวจโดยไม่ดชือผูตอบ
     – ควรใช้ผูตรวจอย่างน้อย 2 คน
               ้
ขอดของขอสอบแบบอตนย
 ้ ี ้         ั ั
  วัดพฤติกรรมด้านการคิดสังเคราะห์และ
  ประเมินค่าได้ดี
                  ่
  วัดความคิดริเริมและความคิดเห็นได้ดี
  สร้างได้งาย รวดเร็ว ประหยัด
            ่
  เดายาก
  ส่งเสริมพัฒนาทักษะการเขียนและนิสยั
  การเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ขอจากดของขอสอบแบบอตนย
 ้ ํ ั    ้       ั ั
  วัดเนื้อหาได้ไม่ครอบคลุมเพราะข้อสอบ
  ถามได้นอยข้อ
            ้
  ตรวจให้คะแนนยาก เสียเวลามาก
  คะแนนไม่แน่นอน มีความเท่ียงนอย   ้
  วินจฉัยข้อบกพร่องของผูเ้ รียนไม่ได้
      ิ
  ทักษะด้านภาษามีอทธิพลต่อการตรวจ
                      ิ
ตัวอย่างคําถามของข้อสอบแบบอัตนัย
    จงบอกขันตอนของการตอนต้นไม้
               ้
    จงสรุปเหตุการณ์ท่ีเป็ นสาเหตุทาให้เกิดสงครามโลก
                                    ํ
     ครังที่ 2
        ้
    ถ้าต้องการขึงลวดให้ตึงอยู่ตลอดเวลาควรทําอย่างไร
    จงอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้อากาศของไทยร้อนจัด
                     ํ         ํ
    จงเขียนแผนงานในการปรับปรุงโรงเรียนให้สะอาด
    การที่รจนาเลือกเจ้าเงาะถือเป็ นความผิดหรือไม่
     เพราะเหตุใด
1principletest

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ Nuch Silarak
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศpummath
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisTupPee Zhouyongfang
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 

La actualidad más candente (17)

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
 
Pisaราช34
Pisaราช34Pisaราช34
Pisaราช34
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar a 1principletest

การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 

Similar a 1principletest (20)

การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 

1principletest

  • 1. การสร้างแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รศ. ไพทูรย์ เวทการ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
  • 2. จุดประสงค์ • บอกขันตอนการวัดและประเมินผลการเรียนรูได้ ้ ้ อย่างถูกต้อง • เมื่อกําหนดข้อสอบให้สามารถบอกข้อบกพร่องและให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงข้อสอบได้อย่างถูกต้อง • เขียนแบบทดสอบปรนัยและอัตนัยได้ถูกต้องตาม หลักวิชา
  • 3. ขอบเขตเนื้อหา  ขันตอนการวัดและประเมินผล ้  หลักการสร้างแบบทดสอบ  การสรางแบบทดสอบปรนย ้ ั  การสรางแบบทดสอบอตนย ้ ั ั
  • 4. 1. ขันตอนการวัดและประเมินผล ้  กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนรูที่มุ่งวัด ้  กาหนดวิธีการวดผล ํ ั ่  การเลือก/สร้างเครืองมือวัดผล ่  การตรวจสอบคุณภาพเครืองมือ  การบรหารการวดผล ิ ั  การตดสนค่าจากผลการวด ั ิ ั  การใหผลยอนกลบจากการวดและประเมินผล ้ ้ ั ั
  • 5. 2.หลักการสร้างแบบทดสอบ ข้อสอบใช้สาหรับวัดความสามารถ ํ ของผูเ้ รียน โดยเฉพาะความสามารถ ทางสมอง
  • 6. 2.1 ขอตกลงเบ้ องตนในการสรางขอสอบ ้ ื ้ ้ ้ – เนื้อหาที่จะวัด ต้องอยู่ในรูปของพฤติกรรมที่มีความ ่ เฉพาะเจาะจง สามารถสือสารไปยังบุคคลอืนได้ ่ – ผลตผลท่วด ตองวดผลตผลท่ีเกดข้ นจากการเรยน ิ ีั ้ ั ิ ิ ึ ี การสอนตามวัตถุประสงค์ท่ีตองการเท่านัน ้ ้ – ผลสัมฤทธิ์หรือความรูที่จะวัด ผูเ้ ข้าสอบทุกคนจะต้องมี ้ โอกาสได้เรียนรูใ้ นเรืองที่จะวัดอย่างเท่าเทียมกัน ่
  • 7. 2.2 ลักษณะของผูเ้ ขียนข้อสอบที่ดี – มีความรูใ้ นเนื้อหาวิชาและจุดมุ่งหมายรายวิชา – มีความรูเ้ กียวกับหลักการเขียนข้อสอบ ่ รูปแบบข้อสอบ และวิธีการสร้างข้อสอบ – มีความสามารถในการใช้ภาษา – รูวิธีการถามในลักษณะแปลกใหม่ ้ – มีทกษะในการวิจารณ์ขอสอบ ั ้
  • 8. 2.3 ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี – มีความตรง (Validity) วัดได้ตรง คุณลักษณะที่ตองการวัดตามจุดมุ่งหมายที่ ้ ต้องการ • ตรงตามเนื้อหา (Content Validity) • ตรงตามโครงสราง (Construct Validity) ้ • ตรงตามพยากรณ์ (Predictive Validity) • ตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
  • 9. – มีความเท่ียง (Reliability) ความคงเส้นคงวาของผลการวัด • แบบสอบซา (Test-Retest) ้ํ ่ • แบบแบ่งครึงข้อสอบ (Split half) • แบบคู่ขนาน (Parallel Form) • แบบวัดความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency)
  • 10. – มีความเป็ นปรนัย (Objectivity) อ่านแลว เขา้ ใจ ้ ได้ตรงกัน ให้คะแนนและแปลความหมายของ คะแนนได้ตรงกัน – มีค่าอํานาจจําแนกเหมาะสม (Discrimination) แยก นักเรียนเก่งและอ่อนได้ถูกต้อง
  • 11. – มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficalty) ่ ความยากง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา นันคือ มีผูตอบถูก ้ ่ ่ ประมาณครึงหนึงของผูเ้ ข้าสอบทังหมด ้ – มีความยุติธรรม (Fairness) เดาไม่ได้ ครอบคลุมเนื้อหาในหลักสูตร – ถามลก(Searching)ไม่ถามเฉพาะความรู ้ ึ ความจํา
  • 12. – มีความเฉพาะเจาะจง (Definite) ข้อคําถามมีความเฉพาะเจาะจงมีความหมายเดียว – มีลกษณะท้าทาย (Challenge) และ ั เป็ นตัวอย่างที่ด(Examplary) ี เรียงข้อสอบจากง่ายไปยาก ถามเรืองที่น่าสนใจ และ ่ เป็ นแบบอย่างที่ดี – มีประสิทธิภาพ (Efficiency) นําไปไช้ง่าย ไม่ส้นเปลืองเวลา เงินและแรงงานมาก ิ และนําผลการสอบไปใช้ได้คุมค่า้
  • 13. 2.4 หลักทัวไปในการเขียนข้อสอบ ่ – ถามให้ครอบคลุม ครบตามหลักสูตร – ถามเฉพาะสิงที่สาคัญ ่ ํ – ถามให้ลก ครบทุกพฤติกรรม ึ – ถามในสิงที่เป็ นแบบอย่างที่ดี ่ – ถามให้เฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ
  • 14. 2.5 ขันตอนการสร้างแบบทดสอบ ้ • วางแผนสร้างแบบทดสอบ • ลงมือเขยนขอสอบ ี ้ • ทดลองใช้แบบทดสอบ • ประเมินผลแบบทดสอบ
  • 15. 2.6 การวางแผนสร้างแบบทดสอบ • กําหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ • เพือประเมินผล ่ • เพือปรับปรุงการเรียนการสอน ่ • เพือตัดสินผลการเรียน ่ • วิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา และพฤติกรรม • เขียนข้อสอบตามหลักการเขียนข้อสอบ • ทดลองใช้แบบทดสอบ(try out) เพือนําข้อมูล ่ ไปใช้ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ • ตรวจสอบคุณภาพรายข้อและทังฉบับ ้
  • 16. 3. แบบทดสอบปรนัย (Objective test) เป็ นข้อสอบที่มีคาถามเฉพาะเจาะจง ํ ํ ่ ตรวจให้คะแนนตรงกัน มีคาสัง วิธีการ ปฏิบติ และวิธีการตรวจให้คะแนนชัดเจน ั
  • 17. ประเภท  แบบถูกผิด (true-false)  แบบเตมคา (completion) ิ ํ  แบบจับคู่ (matching)  แบบเลือกตอบ (multiple choices)
  • 18. 1) ข้อสอบแบบถูก-ผิด จงใส่เครืองหมาย / หน้าข้อความที่เห็นว่าถูก ่ และใส่ หนาขอความที่เห็นว่าผด ้ ้ ิ ….1. ข้อสอบถูก-ผิด ทาใหเ้ กดโอกาสการเดาสงสด ํ ิ ู ุ ….2. ข้อสอบอัตนัยมีส่วนอย่างมากในการพัฒนา การออกความเห็นของนกเรยน ั ี
  • 19. หลักการเขียนข้อสอบแบบถูกผิด  ข้อความมีความหมายชัดเจนไม่กากวมํ และไม่ควรใช้คาที่แสดงคุณภาพ ํ  ข้อความที่กาหนดให้ตองตัดสินได้ว่า ํ ้ ถกหรอผดจรงและเป็นสากล ู ื ิ ิ  แต่ละข้อควรถามจุดสําคัญเพียง ่ เรืองเดียว  ไม่ควรสร้างข้อคําถามเชิงปฏิเสธ
  • 20. ่ หลีกเลียงการคัดลอกข้อความจากหนังสือ ่  หลีกเลียงการใช้คาชี้แนะคําตอบ เช่น ํ ้ ้ ่ เท่านัน เสมอ บางครัง โดยทัวไป อาจจะ  ความยาวของข้อความควรใกล้เคียงกัน  ไม่ควรวางข้อถูกและข้อผิดอย่างเป็ น ระบบ  ควรให้มีจานวนข้อถูกและข้อผิดพอๆกัน ํ
  • 21. ข้อดีของข้อสอบแบบถูกผิด  เหมาะกับการวัดพฤติกรรม ความรู ้ ความจา ํ  สร้างง่าย ตรวจง่ายและมีความ เป็ นปรนัย  ใช้ทดสอบได้ทุกวิชา  ผูตอบใช้เวลาทําน้อย ้
  • 22. ข้อจํากัดของข้อสอบแบบถูกผิด  โอกาสที่เดาถูกมีมาก  วัดพฤติกรรมระดับสูงไม่ได้  ไม่สามารถวินจฉัยสภาพการเรียนได้ ิ  มีค่าอานาจจาแนกตา ํ ํ ํ่
  • 23. 2) ข้อสอบแบบเติมคํา(Completion) (0) การวดผล คือ………………….. ั (00) ข้ อสอบทีเ่ ขียนยากทีสุดคือข้ อสอบ…… ่ (000) อุณหภูมปกตของร่างกายมนุษย์ คือ…… ิ ิ
  • 24. หลักการเขียนข้อสอบแบบเติมคํา  เขียนคําถามให้เฉพาะเจาะจง  เขยนคาถามใหตอบไดสนที่สด ี ํ ้ ้ ้ั ุ  ควรให้เติมส่วนที่เป็ นสาระสําคัญ  ควรเว้นช่องว่ างให้เติมท้ายประโยค  ควรเว้นช่องว่ างที่จะให้เติมเท่ากัน ทุกช่อง
  • 25.  คําตอบที่เป็ นตัวเลข ถ้ามีหน่วยควรระบุ หน่วยที่ตองการให้ตอบ ้  ไม่ควรลอกข้อความจากตําราแล้วตัด ข้อความบางตอนออก  ไม่ควรเว้นช่องว่ างให้เติมหลายแห่ง  ไม่ควรให้มีคาหรือข้อความแนะคําตอบ ํ  หลีกเลียงการใช้คาที่จะให้คาตอบไม่ ่ ํ ํ แน่นอน เช่น ประมาณ ราวๆ ได้แก่ ฯลฯ
  • 26. ข้อดีของข้อสอบแบบเติมคํา  เหมาะกับพฤติกรรมด้านความรูความจํา ้  เหมาะกบวิชาคณตศาสตรและทกษะ ั ิ ์ ั คานวณ ํ  เดาคาตอบไดยาก ํ ้ ข้อจํากัดของข้อสอบแบบเติมคํา  ไม่เหมาะกับวัดพฤติกรรมระดับสูง  ยากในการเขียนให้ได้คาตอบเดียว ํ  ถ้าใช้บ่อยๆ ผูเ้ รียนจะมุ่งแต่ท่องจํา
  • 27. 3) ข้อสอบแบบจับคู่ รายการที่ควรนํามาออกข้อสอบแบบจับคู่  ศัพท์กบความหมาย ั  เหตุการณ์กบเวลา ั  เหตุกบผลั ่  ชือบุคคลกับผลงาน ่  ชือกระบวนการกับผลผลิต  กฎกบการใช ้ ั
  • 28. คาช้ แจง จงพจารณาว่าเหตการณต่างๆ (ขวามือ) ํ ี ิ ุ ์ เกิดขึ้นในรัชสมัยใด (ซายมือ) โดยนําอักษรหน้า ้ รัชสมัยไปเติมหน้าเหตุการณ์ต่างๆ ….1. สงคราม 9 ทัพ ก. รชกาลท่ี 1 ั ….2. เลิกทาส ข. รชกาลท่ี 2 ั ….3. มีกฎหมายตรา 3 ดวง ค. รชกาลท่ี 3 ั ง. รัชกาลที่ 4 จ. รัชกาลที่ 5
  • 29. หลักการสร้างข้อสอบแบบจับคู่  เขียนคําชี้แจงให้ชดเจน ั ่  เนื้อหาวิชาควรถามในเรืองเดียวกัน  ควรกําหนดให้คาตอบมีมากกว่ าคําถาม ํ  จํานวนข้อคําถามไม่ควรมากเกินไป (สําหรับชันประถมศึกษาไม่ควรเกิน 5-6 ขอ) ้ ้  ควรให้คาชี้แจง คําถาม คําตอบ อยูหน้า ํ ่ เดียวกัน  หลีกเลียงคําถามที่แนะคําตอบ ่
  • 30. ข้อดีของข้อสอบแบบจับคู่  เหมาะสําหรับความรูความจําที่มีเนื้อหา ้ ั ั ี่ ้ ั สมพนธ์เกยวของกน  สามารถวัดพฤติกรรมระดับความเข้าใจ และการนําไปใช้ได้ดี เช่น การอ่าน สัญลักษณ์ การจับคู่ระหว่างกฎเกณฑ์กบ ั ปรากฏการณ์  ประหยัดเวลาในการอ่านข้อสอบ ทําให้ สามารถออกข้อสอบได้หลายข้อ
  • 31. ขอจากดของขอสอบแบบจบคู่ ้ ํ ั ้ ั  ใช้วดพฤติกรรมระดับการสังเคราะห์ ั และประเมินค่าไม่ได้  ยากที่จะหาเนื้อหาที่เป็ นเรืองเดียวกัน ่ ่  โอกาสการเดาถูกจะเพิมขึ้นเรือยๆ ่
  • 32. 4) ขอสอบแบบเลอกตอบ ้ ื ส่วนประกอบ ตวคาถาม (Stem) ั ํ ตวเลอก (Choices) ั ื ตัวเลือกที่เป็ นตัวถูก (Key) ตวลวง (Distrater) ั
  • 33. ประเภทของข้อสอบเลือกตอบ 4.1) แบบคําถามโดด (Single question) ่ ่ ่ คําถามจะถามเพียงเรืองเดียว ไม่เกียวกับข้ออืน  ให้หาคําตอบถูก  คําตอบถูกต้องแน่นอน  คาตอบที่ดที่สด ํ ี ุ  ชนิดให้เรียงลําดับ  ชนิดคําตอบรวม
  • 35. 4.2)แบบตัวเลือกคงที่(Constant choice) เป็ นการรวมเนื้อหาที่เป็ นพวก เดียวกันเข้าด้วยกัน แล้วตังคําถามเป็ นชุด ้ ตัวอย่าง ให้พจารณาข้อความแต่ละข้อว่าผิดศีล ิ ข้อใด โดยใช้ตวเลือกต่อไปนี้ ั ก. ขอที่ 1 ข. ขอที่ 2 ค. ขอที่ 3 ้ ้ ้ ง. ขอที่ 4 จ. ขอที่ 5 ้ ้ 1. มาโรงเรียนสาย 2. รับซื้อของโจร 3. ่ หลบเลียงภาษี
  • 36. 4.3) แบบถามตามเนื้อเรืองที่ ่ กําหนดให้ (Situation test) เป็ นการยกข้อความหรือสถานการณ์ท่ี ่ เกียวกับจุดประสงค์การเรียนการสอนให้ ผูตอบอ่านและตอบคําถาม ้
  • 37. คาช้ แจง จงอานขอความขางล่างน้ แลวตอบคาถามขอ 1 -2 ํ ี ่ ้ ้ ี ้ ํ ้ “สงคมใดกตาม ถ้ามีแต่คนที่คานึงถึงสิทธิของตน ั ็ ํ ไม่ใฝ่ ใจในหน้าที่ท่ีตองปฏิบติหรือปฏิบตผดหน้าที่และเกิน ้ ั ัิ ิ ิ ่ สทธิของตน เพือประโยชน์ส่วนตัว สงคมนนจะดารงอยู่ ั ้ั ํ ไม่ได้” 1. ขอความน้ ีเป็นคากล่าวลกษณะใด ้ ํ ั ก. การขอรอง้ ข. การวิงวอน ค. การประชด ง. การตกเตอน ั ื จ. การเปรียบเทียบ
  • 38. หลักในการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 1. เขียนคําถามให้เป็ นประโยคคําถามสมบูรณ์ (0) กรุงเทพฯ เป็ น ่ (00) กรุงเทพฯ เป็ นชือของอะไร
  • 39. 2. ตัดคําฟุ่ มเฟื อยในตัวคําถามและตัวเลือก (0) จังหวัดใดมีพลเมืองน้อยที่สด ุ ก. จังหวัดเชียงใหม่ ข. จังหวัดขอนแก่น ค. จังหวัดระนอง ง. จังหวัดชุมพร จ. จังหวัดชัยนาท ่ (00) มนุษย์มีวิธีเพิมพูนสมรรถภาพให้แก่ตนเอง เพือต่อต้านโรคภัยที่รายแรงได้หลายวิธี จงบอก ่ ้ วิธีท่ีสาคญที่สด ท่ีเราควรปฏบตเพอตานทานการ ํ ั ุ ิ ั ิ ื่ ้ ตดต่อของโรค ิ
  • 40. ่ 3. หลีกเลียงการใช้คาถามรูปปฏิเสธ ถ้าจําเป็ น ํ ต้องใช้ควรขีดเส้นใต้ให้ชดเจน ั (00) เมื่อนกเรยนพบขอความบางตอน ั ี ้ ที่ไม่สามารถจดจําได้ง่ายๆ เราไม่ควรปฏิบติอย่างไร ั ก. ท่องใหข้ นใจ ้ึ ข. ย่นย่อให้สน ั้ ค. ตความใหชด ี ้ั ง. อานทบทวนชาๆ ่ ้ จ. ขยายความให้กว้าง
  • 41. ่ 4. ข้อเดียวถามเรืองเดียว/ถามชัดเจนตรงจุด (0) ภาคกลางของประเทศไทย ก. เป็นท่ีราบ ข. มีฝนตกชุก ค.ปลูกข้าวมาก ง. อากาศอบอน ุ่ จ.อาณาเขตกวาง ้ (00) คนภาคกลางมีอาชพอะไรมาก ี (000) ภูมิอากาศของภาคกลางเป็ นอย่างไร
  • 42. 5. ใช้ภาษาไทยไม่ซบซ้อน เหมาะกับชันและวัย ั ้ (0) เท่าที่นกวิทยาศาสตร์ไค้คนพบ ในสุรยจักรวาล ั ้ ิ มีดาวเคราะห์อยู่ดวยกันทังหมดกีดวง ้ ้ ่ ก. 6 ดวง ข. 7 ดวง ค. 8 ดวง ง. 9 ดวง จ. 10 ดวง ี่ (00) มีดาวเคราะห์กดวงในสุรยจักรวาล (มัธยม) ิ ี่ (000) ดาวเคราะห์มีกดวง (ประถม)
  • 43. 6. เรียงตัวเลือกที่เป็ นข้อความจากสันไปยาว หรือยาวไปสัน ้ ้ และข้อสอบทังฉบับควรเรียงระบบเดียวกัน ้ (0) “รถส่วนตัว” ราชาศัพท์สาหรับ ํ พระมหากษตรยคอขอใด ั ิ์ื ้ ก. รถทรง ข. รถพระที่นง ่ั ค. รถพระที่นงทรง ่ั ง. รถทรงพระที่นง ่ั
  • 45. 8. ถ้าไม่จาเป็ นไม่ควรใช้ตวเลือกปลายเปิ ด-ปิด ํ ั (0) “ดมานด” ท่ีคนมีต่อสนคาถกกาหนดโดยอะไร ี ์ ิ ้ ู ํ ก. รายได้ ข. รสนิยม ค. ราคาสนคา ิ ้ ง. ถูกทุกข้อ
  • 46. 9. ตัวเลือกที่ถูกต้องมีเพียงตัวเดียว (0) ข้อใดไม่เข้าพวก ก. นก ข. ควาย ค. จระเข ้ ง. ปลาวาฬ
  • 47. 10. ตัวเลือกแต่ละตัวต้องเป็ นอิสระต่อกัน (0) โลกอยูห่างจากดวงอาทิตย์ ่ ประมาณเท่าใด ก. 50-60 ล้านไมล์ ข. 60-70 ล้านไมล์ ค. 70-80 ล้านไมล์ ง 80-90 ล้านไมล์ จ. 90-100 ล้านไมล์
  • 48. 11. จํานวนตัวเลือกเหมาะสมกับระดับชันของผูเ้ รียน ้ ป.1-2 ควรมี 3 ตัวเลือก ป.3-4 ควรมี 4 ตัวเลือก ป.5-6 และชนมธยมข้ นไป ้ั ั ึ ควรมี 5 ตวเลอก ั ื
  • 49. 12. ตัวเลือกถูกไม่ควรใช้ศพท์/ภาษาที่สะดดตา ั ุ (0) เมืองใดไม่อยู่ในประเทศไทย ก. ลําพูน ข. ขอนแก่น ค. สงขลา ง. โตเกยว ี
  • 50. 13. ทังตัวเลือกที่ถูกและผิด ไม่ควรถูกผิด ้ เด่นชัดจนเกินไป (0) ขอใดเป็นพช ้ ื ก. มา ้ ข. วว ั ค. ควาย ง. มะเขือ
  • 51. 14. ตัวเลือกที่ถูกไม่ควรใช้คาซํากับคําถาม ํ ้ (0) สุจริตตรงข้ามกับอะไร ก. ความสุข ข. ความทุกข์ ค. อารมณ์ ง. ทุจรต ิ
  • 52. 15. หลีกเลียงคําถามที่เด็กคล่องปากอยู่แล้ว ่ (0) ขาวตรงข้ามกับคําใด ก. ดา ํ ข. แดง ค. เขยว ี ง. เหลอง ื จ. น้าเงน ํ ิ
  • 53. 16. ไม่ควรให้มีคาถามข้อแรกๆ แนะคําตอบ ํ ข้อหลังๆ ่ (0) ปี 2544 มีอตราการเพิมของพลเมืองไทยเท่าใด ั (00) จากปี 2543 ถง 2544 พลเมืองไทย ึ ่ เพิมขึ้นหรือลดลง
  • 54. 17. ควรใช้รปภาพประกอบคําถามในกรณีที่ใช้ภาพจะ ู อธิบายได้ชดเจนกว่าตัวหนังสือ หรือใช้ขอสอบรูปภาพ ั ้ สําหรับเด็กเล็ก หรือคนที่อ่านหนังสือไม่ออก 18. กระจายตัวเลือกที่ถูกให้อยู่ในตําแหน่งต่างๆ กัน 19. คําถามควรมีประเภทวัดพฤติกรรมสูงๆ อยู่ดวย ้ 20. ต้องเขียนตัวถูกหรือตัวผิดตามหลักวิชา
  • 55. ตัวอย่างข้อสอบ 1. ถ้านักเรียนไม่อยากสอบตก นักเรียนไม่ควรทําเช่นใด 2. พืชที่เป็ นสินค้าออกของไทยได้แก่อะไร ่ 3. ปั กกิงเป็ นเมืองหลวงของประเทศใด อยู่ในทวีปอะไร 4. ถาเราแปรงฟันไม่สะอาด มีเศษอาหารตดตามซอกฟัน ้ ิ เสมอๆ จะทาใหเ้ กดอะไร ํ ิ 5. ภพานเป็น ู
  • 56. 6. การปกครองส่วนภูมิภาคของไทยแบ่งเป็ นจังหวัดและ ่ อําเภอ ปั จจุบนประเทศไทยแบ่งเป็ นกีจงั หวัด ั ก. 73 จังหวัด ข. 74 จังหวัด ค. 75 จังหวัด ง. 76 จังหวัด 7. อาชีพใดเป็ นอาชีพที่สาคัญที่สดของคนไทย ํ ุ ก. ทานา ํ ข. ทาเหมืองแร่ ํ ค. อุตสาหกรรม ง. กสิกรรม
  • 57. 4. แบบทดสอบอตนย ั ั (Essay type /Subjective test) แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบทดสอบความเรียง เป็ นแบบทดสอบประเภทเขียนคําตอบ ผูสอบต้องแสดง ้ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ประเมินผลแนวความคิดและความรูที่ได้เรียนมา เรียบ ้ เรียงภาษาและผูกเป็ นรูปประโยคให้เป็ นข้อความที่เป็ น คาตอบของคาถาม ํ ํ
  • 58. ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัย • ให้อสระแก่ผูสอบ ิ ้ – กาหนดคาตอบเอง ํ ํ – เรียบเรียงคําตอบด้วยตนเอง • คําถามหรือโจทย์จะกําหนดสถานการณ์ข้ นเพือให้ ึ ่ ผูตอบแสดงความคิด ความรู ้ และความเข้าใจ ้
  • 59. • ใช้ทดสอบในลักษณะกระบวนการ – ให้เปรียบเทียบ – ใหคาจากดความ ้ํ ํ ั – ตีความ – แปลความ ฯลฯ • ผูตรวจให้คะแนนต้องเป็ นผูที่มีความรูความสามารถ ้ ้ ้ ในเนื้อหาวิชาที่ถาม จะให้ผูอนตรวจแทนไม่ได้ ้ ื่
  • 60. ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย 1. แบบจํากัดคําตอบ 2. แบบไม่จากัดคําตอบ ํ (Restricted Response Questions) (Extended Response Questions) เวลา+ ความยาวของคําตอบ เปิ ดโอกาสให้ตอบได้อย่าง จํากัด กว้าง ๆ ไม่มีขอจํากัด ้ เนื้อหา + รูปแบบ
  • 61. ส่วนประกอบ ก. ตวคาถาม จะเขยนโดยกาหนดเป็นสถานการณข้ นมา ั ํ ี ํ ์ึ ่ เพือให้ ผูตอบแสดงความรูความเข้าใจ ความคิดเห็นออกมา ้ ้ อย่างเต็มที่ ข. คาตอบ ผูตอบจะต้องเขียนตอบโดยใช้ภาษาของตนเอง ํ ้ โดยอาศัยความรู ้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น เขียนเรียบเรียง ่ เป็ นประโยคเรืองราว
  • 62. หลักการสร้างข้อสอบแบบอัตนัย – กําหนดพฤติกรรมที่ตองการวัดให้ชดเจน ้ ั – เขียนคําถามให้ชดเจนว่าต้องการให้ผูตอบ ั ้ ทําอย่างไร เช่น อธิบาย วิเคราะห์ ฯลฯ – ควรวัดพฤติกรรมตังแต่ระดับความเข้าใจ ้ ข้ นไป ึ – เขียนคําถามโดยใช้สถานการณ์ใหม่ให้ต่าง จากที่เคยเรียนหรือที่อยู่ในตํารา
  • 63. – ถามเฉพาะสิงที่เป็ นประเด็นสําคัญของเรือง ่ ่ – กําหนดความซับซ้อนและความยากให้ เหมาะกับวัยของผูตอบ้ – ควรเฉลยคําตอบไปพร้อมๆกับการเขียนข้อสอบ – ไม่ควรให้มีการเลือกตอบบางข้อ
  • 64. ลักษณะโจทย์คาถามของแบบทดสอบแบบอัตนัย ํ Gronlund (1981) ได้เสนอลักษณะโจทย์คาถาม ํ ไว้ 12 หลก ดงน้ ี ั ั 1. ให้เปรียบเทียบ (Comparing) จงบรรยายความเหมือนกันและความแตกต่างกันระหว่าง….. จงเปรียบเทียบระเบียบวิธีทงสองต่อไปนี้…………. ้ั
  • 65. 2. ให้หาความสัมพันธ์ของสาเหตุกบผล ั (Relating cause and effect) อะไรเป็ นสาเหตุสาคัญของ…………….. ํ อะไรควรจะได้รบกระทบของ………….มากที่สด ั ุ 3. ให้บอกการกระทําที่ถูกต้อง (Justifying) ทางเลือกต่อไปนี้ท่านชอบทางเลือกไหนและทําไมจึงไม่ชอบ จงอธิบายว่าทําไมท่านจึงเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยกับ ข้อความต่อไปนี้
  • 66. 4. ให้สรุปความ (Summaring) จงสรุปใจความสําคัญของ…………….. ่ จงสรุปเนื้อหาเรือง………….เพียงสัน ๆ ้ 5. ให้สรุปอ้างอิง (Generalizing) จงสรุปอ้างอิงให้เชือถือได้ทวไปจากข้อมูลที่กาหนดให้ ่ ั่ ํ จงเสนอหลักการที่สามารถอธิบายเหตุการณ์ต่อไปนี้ได้
  • 67. 6. ให้อนุมานเอา (Infering) จากขอมูลที่เสนอ อะไรจะเกิดขึ้นได้มากที่สด และ ้ ุ จะเกดข้ นเมื่อใด…………….. ิ ึ 7. จําแนกประเภท (Classifying) จงจัดกลุ่มข้อสอบต่อไปนี้ตาม………….. อะไรเป็ นลักษณะร่วม (Common) ของข้อสอบต่อไปนี้
  • 68. 8. ให้สร้างขึ้น (Creating) จงบอกวิธีการให้มากที่สดเท่าที่มากได้ ท่ีท่านคดว่า…….. ุ ิ จงสรางเรองราวที่บรรยายใหเ้ ห็นว่าอะไรจะเกดข้ น ถา……. ้ ื่ ิ ึ ้ 9. ให้ประยุกต์ใช้ (Applying) จงใช้หลักการของ……เป็ นแนวทางบรรยายว่าท่าน จะแก้ปัญหาสถานการณ์นนได้อย่างไร ั้ ่ จงบรรยายสถานการณ์ ซึงแสดงถึงหลักการของ……...
  • 69. 10. ให้วิเคราะห์ (Analying) จงให้รายการและบรรยายลักษณะสําคัญของ……….. 11. ให้สงเคราะห์ (Synthesizing) ั จงบรรยายแผนการที่ใช้ปรับปรุง……….. จงเขียนรายงานที่เรียบเรียงอย่างดี เพือแสดงว่า……. ่
  • 70. 12. ให้ประเมิน (Evaluating)  จงบรรยายข้อดีและข้อบกพร่องของ……………..  จงใช้กฎเกณฑ์ที่กาหนดให้ประเมิน…………….. ํ
  • 71. ลักษณะคําถามตามพฤติกรรม • ความรู ้ – ความจํา (ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร) - จงบอกประโยชน์ของต้นไม้ มา ๕ ขอ ้ - จงบอกขนตอนการตอนตนไมมาตามลาดบ ั้ ้ ้ ํ ั • ความเข้าใจ - ถามให้เปรียบเทียบ - ถามให้บรรยาย - ถามให้สรุปความ
  • 72. • การนําไปใช้ - ถามคาดคะเนผลที่เกิด - ถามความสัมพันธ์ - ถามยกตวอยาง ั ่ - ถามประยุกต์ใช้หลักการทฤษฎีในสถานการณ์ใหม่ • การวิเคราะห์ - ถามให้บอกความสําคัญ - ถามให้บอกเหตุผล - ถามหาหลักการ
  • 73. • สังเคราะห์ ่ - ถามเกียวกับแผนงานและโครงการ - ถามให้จดราบรวมข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ ั - ถามให้แสดงความคิดสร้างสรรค์ • การประเมินค่า - ถามให้ตดสินใจ ั - ถามให้อภิปราย หรือวิพากษ์วิจารณ์
  • 74. (0) (0)ยนข้อยนข้ อดีของข้ อสอบแบบอัยนัยมา 5 ข้อ จงเขี จงเขี ดีของข้อสอบแบบอัตนัตมา 5 ข้อ (00) ด่ านคดว่าความรงรเทคนิคการวัดดผลจะช่ววยทาน (00) ท่านคิ ทว่าความรูเ้ รือ ู้ เ ่ือง เทคนิคการวั ผลจะช่ ยท่ ่ าน ิ ่ ในการแต่งข้อสอบอย่างไรบ้าง ในการแต่งข้อสอบอย่างไรบ้าง
  • 75. ่ (0) ท่านคิดว่าความรูเ้ กียวกับการวัดผลการศึกษามี ประโยชน์ต่อท่านอย่างไร จงอธิบาย (00) ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อการปฏิรปการศึกษา ู ในเมืองไทย
  • 76. โอกาสที่ควรใช้ขอสอบอัตนัย ้  มีจานวนผูสอบนอย ํ ้ ้  ผูสอนมีเวลาในการตรวจ ้  ผูสอนสามารถอ่านและวินจฉยในการใหคะแนนได ้ ้ ิ ั ้  ต้องการวัดการคิด/การเขียน  มีเวลาในการออกข้อสอบน้อย  จะไม่นาขอสอบนนมาใชอก ํ ้ ั้ ้ี
  • 77. ขอเสนอแนะในการใชแบบทดสอบอตนย ้ ้ ั ั 1. ต้องการวัดผลการเรียนรูระดับสูงหรือซําซ้อน ้ ้ 2. ควรมีเวลาสร้างข้อสอบอย่างเพียงพอ 3. ควรถามให้ชดเจน เฉพาะเจาะจง ั 4. ไม่ควรมีขอสอบไว้ให้เลือกตอบ โดยเฉพาะ ้ การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 5. ควรบอกผูสอบให้ทราบล่างหน้าว่าจะใช้ ้ ่ แบบทดสอบอัตนัย เพือการเตรียมตัว
  • 78. ่ ั 6. ควรเขียนคําสังให้ชดเจน 7. ควรใช้คาถามหลาย ๆ ลักษณะในแบบทดสอบ ํ ชดเดยวกน ุ ี ั 8. ควรให้มีขอสอบจํานวนมากข้อ ้ 9. ควรเรียงข้อสอบตามลําดับจากง่ายไปยาก 10. ควรให้เวลาในการตอบอย่างเพียงพอ 11. ควรกําหนดจํานวนข้อ ความยาวในการตอบ ความซับซ้อนให้เหมาะผูสอบ ้ 12. ควรเขียนคําตอบเฉลยไว้
  • 79. ข้อแนะนําในการตรวจข้อสอบแบบอัตนัย – พิจารณาคําตอบแต่ละข้อ และแบ่งคุณภาพ ่ การตอบเป็ นกลุ่ม เช่น ดี ปานกลาง ตํา – ตรวจให้คะแนนแต่ละข้อของแต่ละกลุ่ม – นาคะแนนมาเรยงลาดบคณภาพ ํ ี ํ ั ุ – ตรวจให้คะแนนทีละข้อของทุกคน ู่ ้ – ควรสุ่มคําตอบมาตรวจโดยไม่ดชือผูตอบ – ควรใช้ผูตรวจอย่างน้อย 2 คน ้
  • 80. ขอดของขอสอบแบบอตนย ้ ี ้ ั ั  วัดพฤติกรรมด้านการคิดสังเคราะห์และ ประเมินค่าได้ดี ่  วัดความคิดริเริมและความคิดเห็นได้ดี  สร้างได้งาย รวดเร็ว ประหยัด ่  เดายาก  ส่งเสริมพัฒนาทักษะการเขียนและนิสยั การเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 81. ขอจากดของขอสอบแบบอตนย ้ ํ ั ้ ั ั  วัดเนื้อหาได้ไม่ครอบคลุมเพราะข้อสอบ ถามได้นอยข้อ ้  ตรวจให้คะแนนยาก เสียเวลามาก  คะแนนไม่แน่นอน มีความเท่ียงนอย ้  วินจฉัยข้อบกพร่องของผูเ้ รียนไม่ได้ ิ  ทักษะด้านภาษามีอทธิพลต่อการตรวจ ิ
  • 82. ตัวอย่างคําถามของข้อสอบแบบอัตนัย  จงบอกขันตอนของการตอนต้นไม้ ้  จงสรุปเหตุการณ์ท่ีเป็ นสาเหตุทาให้เกิดสงครามโลก ํ ครังที่ 2 ้  ถ้าต้องการขึงลวดให้ตึงอยู่ตลอดเวลาควรทําอย่างไร  จงอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้อากาศของไทยร้อนจัด ํ ํ  จงเขียนแผนงานในการปรับปรุงโรงเรียนให้สะอาด  การที่รจนาเลือกเจ้าเงาะถือเป็ นความผิดหรือไม่ เพราะเหตุใด