SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
สาระบนเวที “การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการศึกษาปฐมวัย”
“INSIGHTS TO FINNISH EARLY YEARS EDUCATION AND CARE”
วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐น.
ณ หอศิลป์ กรุงเทพมหานคร
-----------------------------------------
วิทยากรผู้บรรยาย : Ms. Elise Tarvainen และ Ms.Tiina Malste
ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์
ผู้แปล : คุณชเนษฐ์วัลลภ ณ ขุมทอง อาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงต้นแนะนาวิทยากร
วิทยากรทั้งสองท่านเป็นนักการศึกษาประเทศฟินแลนด์ วิทยากรเป็นที่
ปรึกษาทางด้านการศึกษา วิทยากรผู้ชานาญการ การศึกษาระดับต้นผู้ชานาญการการศึกษาระดับโลก
การศึกษาทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรมการศึกษาต่างๆ เป็นผู้พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นการศึกษา มี
ประสบการณ์ต่างประเทศมากมายโดยเฉพาะพื้นที่ตะวันออกกลาง และจัดการศึกษาให้กับประเทศ
ซิมบับเว รวมถึงทักษะอาชีวะต่างๆ ได้พัฒนาโรงเรียนของฟินแลนด์และครู
Ms. Elise Tarvainen
ในวันนี้จะเล่าภูมิหลังของการเรียนของฟินแลนด์ในระดับปฐมวัย ฟินแลนด์ถือว่ามี
นักการศึกษาผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับต้นของโลก รอยต่อสาคัญทางด้านการศึกษามีหลายประเด็น เราจะ
ไม่ทิ้งเด็กคนไหนไว้เลย เราจะพยายามจัดการศึกษาให้เด็กตั้งแต่เกิดจนโต โดยการร่วมพัฒนาไปด้วยกัน
สิ่งที่ควรเรียนรู้คือเด็กและวิธีการเรียนว่าเราจะเอื้ออานวยหรือช่วยเขาอย่างไร จะมีการพูดคุยสนทนากัน
ตลอดเส้นทางของการเรียนมีการปรับแก้ไปพร้อมกันตลอดเส้นทางแห่งอนาคตนี้ตั้งแต่การศึกษาตาม
มาตรฐานไปจนถึงการปรับปรุงประเมินและแก้ไข เป็นลักษณะองค์รวมของการพัฒนาการศึกษา
เปรียบเสมือนการสร้างบ้าน เสาหลักสาคัญของการก่อสร้างจะมีมืออาชีพทางด้านนักการศึกษาเข้ามา
ช่วยเหลือ ซึ่งถือเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาเด็กแต่ละคน และยังมีส่วนสาคัญอื่นๆ คือ หลักสูตร หรือ
โครงสร้างวิชา รวมทั้งสภาพแวดล้อม การเตรียมตัวกาหนดลักษณะคุณภาพของหลักสูตรต่างๆเหล่านี้จะ
สาเร็จไม่ได้หากไม่คานึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัวเด็ก ซึ่งการจัดสภาพแวดล้อมขึ้นอยู่กับการนา
ของสถานศึกษาด้วย ในระบบการศึกษาของฟินแลนด์ครูใหญ่ของโรงเรียนจะเป็นผู้นาการเล่าเรียนว่าเด็ก
ควรจะมีทิศทางอย่างไร เป็นการจัดการศึกษาระบบ ๓ ส่วน คือ บ้าน สถานศึกษา และโรงเรียน รวมทั้งผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียทางสังคมที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่เว้นแม้แต่เพื่อนบ้านหรือผู้ที่ได้ประโยชน์จากการที่เด็กได้รับ
การศึกษา กลุ่มคนเหล่านี้จะเข้ามามีส่วนร่วมวางแผนให้การศึกษากับเด็กซึ่งจะเป็นอนาคตของสังคม ไม่ใช่
การมอง “ความเป็นนักเรียน ๑ คน” สิ่งเหล่านี้เป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาในระดับต้นๆของเด็กฟินแลนด์
๖ องค์ประกอบสาคัญ (จากสไลด์) คือ
๑. ให้การเล่นเป็นพาหะของการเรียน
๒. จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นบรรยากาศของการเล่าเรียนศึกษาที่พัฒนาสภาพแวดล้อม
ทางจิตวิญญาณเพื่อให้เกิดบทบาทการปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน
๓. เน้นการให้การศึกษาควบคู่กับการดูแลอย่างฟูมฟัก
๔. สร้างพื้นที่เรียนรู้ให้เกิดการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์
๕. มีแนวคิดด้านการออกแบบการจัดการศึกษาอย่างมีวิสัยทัศน์ (มองภาพใหญ่)
๖. สร้างบรรยากาศที่กระตุ้น เร้า อารมณ์และจิตนาการในการเรียนรู้
โดยมีหมุดหมายสาคัญของการพัฒนาการศึกษาเพื่อให้เด็กเป็นนักเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
ได้นั้นก็คือ “ครู” ที่ต้องมีคุณสมบัติ ๕ ประการ ได้แก่
๑. ต้องเอาจริงเอาจังในการเป็นผู้จัดบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างคึกคัก
๒. เป็นผู้ชานาญการเชื่อมโยงทักษะการเรียนรู้ของเด็ก
๓. มีทักษะการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนสามารถต่อยอด
ความรู้และประสบการณ์ได้
๔. มีทักษะการสร้างสรรค์สังคมรูปแบบเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เด็กเรียนรู้ด้วยการลงมือทา
๕. ต้องมีทักษะในการกระตุ้น เร้า อารมณ์ ปลุกจินตนาการ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ
เอื้ออานวยช่วยเหลือผู้เรียนให้ได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ
ในการเข้าหาเด็ก การเล่น เป็นพาหะของการเรียน คงเคยได้ยินว่าสื่อให้แนวทางการ
เรียนเป็นอย่างไร สื่อคือพาหะ หรือให้แนวทางการเรียน สภาพแวดล้อม คือพาหะ เราจะให้เด็กอยู่ใน
บรรยากาศแห่งการเล่าเรียนและศึกษาพร้อมกับพัฒนาสภาพทางจิตวิทยาให้เด็กอย่างไร จะขยายภาวะ
บทบาทในปฏิสัมพันธ์กับการเรียนอย่างไร นี่เป็นหัวใจสาคัญ หรือที่เรียกว่า EduCare เป็นการให้การให้
คาปรึกษาและให้การดูแลไปด้วย ช่วงต้นของอายุเป็นช่วงสาคัญที่จะสร้างสรรค์และเปิดเวทีให้กับชีวิตใน
ขั้นต่อๆ ไปของมนุษย์ทุกคน ในช่วงต้นเราสามารถให้หลักประกันกับเด็กได้ เพื่อสร้างภูมิหลังที่ดีให้กับเด็ก
เราจาเป็นต้องดูแลเด็กอย่างเป็นองค์รวม เพียงแค่การถ่ายทอดทักษะทางวิชาการยังไม่เพียงพอ เพราะการ
บ่มเพาะในเบื้องต้นจาเป็นต้องมีมากกว่านั้น
EduCare เป็นสิ่งที่ครอบครัวทาให้อยู่แล้วในช่วงต้นของชีวิต หากเป็นสถานที่ ส่วนใหญ่
จะ เรียกว่า “เนอสเซอรี่” แท้จริงแล้ว เด็กปฐมวัยต้องได้รับการดูแลและให้การเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย ไม่ใช่
ศึกษาอะไรก็ได้ องค์ประกอบสาคัญคือความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกส่วนตลอดเส้นทาง
การศึกษา เด็กจาเป็นต้องเข้าร่วมกระบวนการดูแลตั้งแต่ต้น ประเด็นนี้สาคัญมาก ถ้าเด็กไม่เข้าร่วมจะไม่มี
ความหมาย ถ้าคุณดูภาพ (จากสไลด์) นี้ การพัฒนาเด็กจะเริ่มต้นเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนเด็กเกิด และเกี่ยวข้อง
กับพ่อแม่และคนรอบข้างทั้งหมด ในช่วงต้นปีแรก เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ทาหน้าที่จัดการการศึกษาระดับ
เบื้องต้นจะเข้ามาประสานงานกับครอบครัว ขึ้นอยู่กับพ่อแม่ว่าต้องการให้ลูกอายุ ๑-๖ ปีทาอะไร ไม่ใช่
เริ่มต้นเข้าเรียนตามเกณฑ์ตั้งแต่ ๗ ขวบตามกฎหมาย แต่ที่ฟินแลนด์จะเริ่มตั้งแต่ช่วงปีแรกตั้งแต่ก่อนเกิด
และหลังเกิดแล้วจะต้องมีการตัดสินใจและมีทางเลือกที่ต้องพิจารณามากมาย เช่น ก่อนวัยเรียนจะทาอะไร
จะเลือกให้เด็กอยู่ในศูนย์เด็กเล็กแบบไหน การศึกษาภาคบังคับจะเลือกแบบใด ฯลฯ ช่วง ๓ ปีแรกใน
ฟินแลนด์พ่อแม่จะสามารถดูแลได้ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ ยิ่งเด็กอายุมากขึ้นเด็กจะเข้าไปอยู่ในความดูแลของศูนย์
ดูแลเด็กมากขึ้น (เป็นการดูแลของคนนอกครอบครัว) จึงขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของพ่อแม่ว่าจะนาเด็กไปไว้
อยู่ในที่ใด เป็นการการผสมผสานการตัดสินใจ ๓ ฝ่าย ศูนย์เลี้ยงเด็ก หรือ DayCare เป็นสถานศึกษาของ
ฟินแลนด์ซึ่งภาครัฐจัดให้อยู่แล้วตามการศึกษาภาคบังคับ จึงมีลักษณะที่ประสานกันระหว่างท้องถิ่นกับ
สถานศึกษาที่ให้การศึกษาและการแนะนาตามแนวทางระบบการศึกษาแห่งชาติ พอเด็กอายุ ๗ ปีจะเข้า
เรียนในการศึกษาภาคบังคับ มีสถานศึกษาของเทศบาล ศูนย์ดูแลเด็กของเทศบาลดูแลเด็กใน ๒ ปีแรก
ของการอยู่โรงเรียน อายุ ๗-๘ ขวบ เด็กจะเข้ามาในช่วงเช้าก็ได้หรือบ่ายก็ได้หรือเลือกบางช่วงก็ได้ เป็น
ข้อตกลงสามัญร่วมกัน อันเป็นประเด็นที่สาคัญมาก โครงการการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวมโดยอนาคต
ของเด็กตลอดเส้นทางในการศึกษาของฟินแลนด์ให้ความสาคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก
สรุปว่า แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้กับเด็กในสถานศึกษามี ๕ องค์ประกอบ จะ
เห็นได้ว่าจัดการเรียนรู้ให้เด็กจะต้องมีลักษณะเอาจริงเอาจัง คือ ให้เด็กเข้าร่วมและต้องเชื่อมโยงกับทักษะ
ความจาเป็นอันเป็นประโยชน์ตามทักษะพื้นฐานเหล่านั้น เราต้องการให้เด็กสร้างความรู้ของเขาได้ด้วย
ตนเอง ไม่ใช่การให้เด็กนั่งจดจา และปฏิสัมพันธ์กับผู้ให้การศึกษาก็เป็นสิ่งที่สาคัญมาก นักการศึกษาจะ
เริ่มคิดเรื่องการก่อสร้างทางสังคม วางแนวคิดทางการเรียนที่จะนามาใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์ทาง
สังคม
หลักการไม่สาคัญแต่การนาสู่การปฏิบัตินั้นสาคัญกว่า เราจะร่วมกันอย่างไร เราตอบครูว่า
ครูจะเป็นผู้อานวยช่วยเหลือเด็กอย่างไรนั่นคือบทบาทของครู จะทาอย่างไรให้ครูนาพาเด็กบรรลุเป้าหมาย
ไม่ใช่แค่กรอบของความรู้ซึ่งแตกต่างจากข้อเท็จจริงเป็นอย่างมาก ดังนั้นเราจึงไม่ค่อยคานึงถึงการถกเถียง
ด้านวิชาการแต่เราจะปฏิบัติตามที่เราพูด หรือเรียกว่า ”เดินตามที่เราพูด”
หลัก ๖ ประการ (สไลด์) รากฐานสาคัญของการจัดการศึกษาของฟินแลนด์ นั่นคือ ครู
นักการศึกษาที่มีความรู้อย่างมากจึงสาคัญมาก เพราะเป็นผู้ที่กาหนดว่าอาชีพที่เด็กโตขึ้นแล้วจะเป็น
อย่างไรเพราะนักการศึกษาจะเห็นภาพรวมเหล่านั้น ทุกคนเป็นครูได้หมดแต่ใครจะเป็นนักการศึกษาได้นั้น
ยาก เพราะไม่ค่อยมีใครถูกกระตุ้นเราให้สนใจทางด้านอนาคตของการเรียนของเด็ก รวมถึงสิ่งอานวยความ
สะดวก
ในช่วงต้นของการเรียน นักเรียนมีความสามารถที่จะดูแลตัวเองในช่วงต้น หากเราวาด
สามเหลี่ยม อันประกอบด้วย เด็ก พ่อแม่ และครู ถามว่าในสามเหลี่ยมนี้ใครคือ ผู้เป็นเจ้าของกระบวนการ
เรียนรู้ แน่นอนที่ “เด็ก” เป็นเจ้าของการเรียนรู้ตั้งแต่แรก ในพระราชบัญญัติว่าด้วยการศึกษาระบุไว้แล้วว่า
นักเรียนเป็นผู้กาหนดการเรียนของตนเอง ดังนั้น ในช่วงต้นลักษณะของกรรมสิทธิ์ในการเรียนจะแตกต่าง
กับการเรียนในระดับวัยรุ่น เด็กเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ยังเล็กว่าเขาอยากเรียนอะไร เพราะการศึกษาเป็น
ของเขาเอง ระบบการศึกษาเป็นการทางานเพื่อสร้างศักยภาพให้เด็ก บทบาทของศูนย์เด็กหรือศูนย์ดูแลเด็ก
ก็เช่นเดียวกัน เป็นเรื่องที่ต้องออกแบบกันวันต่อวันในการเรียนรู้ ด้วยพ่อแม่จะมาส่งเด็กที่โรงเรียนทุกวันซึ่ง
จะได้เจอกันพูดคุยแลกเปลี่ยนกันตลอดเวลา นั่นหมายถึง เมื่อนักเรียนเข้าเรียน pre school ระดับก่อน
เรียนจะต่างจากเขาอยู่ในช่วงวัยรุ่นในช่วง ๖ ปีแรก นักเรียนจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยเราจะส่งนักเรียนจาก
โรงเรียนหนึ่งไปอีกโรงเรียนหนึ่งเพื่อการสนับสนุนอย่างดี และมีความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอย่างเป็น
ระบบ และด้วยความร่วมมือดังกล่าวจะมีกระบวนการโอนถ่ายข้อมูลเด็กศูนย์ดูแลเด็กแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่ง
หนึ่ง มีหลักฐานปรากฏทางด้านหลักสูตรโครงสร้างวิชาซึ่งไม่ได้เน้นทางด้านวิชาการหรือภาษา แต่เน้นเรื่อง
การรับรู้ใหม่ๆ หรือเรียกว่า “ปฐมปฏิสัมพันธ์” ซึ่งมีกาหนดไว้อย่างเป็นมาตรฐานระดับชาติรองรับอ จะกลับ
เข้าสู่เชิงวิชาการน้อยมาก
การสร้างสรรค์พัฒนาคนก่อนปฐมวัยเป็นประเด็นสาคัญ จาเป็นต้องมีด้านวิชาการ ไม่ใช่
การเรียนวิชาการแต่เป็นการเตรียมเพื่อรับการเรียนวิชาการ โรงเรียนจะต้องอยู่ในภาวะเตรียมพร้อมสถาบัน
ต่างๆต้องอยู่ในสถานะที่พร้อมจะปรับเช้าสู่เชิงวิชาการ ทั้งในระดับน้อยหรือมาก โรงเรียนต้องมีความพร้อม
เพราะเด็กยังไม่มีทักษะของการขีดเขียน หรือพูด แต่เริ่มที่จะเรียนรู้นั้นคือเป็นความจาเป็นของการที่เด็ก
เหล่านั้นจะอยู่ในชุมชนสังคมในบริบทที่มีหลักการว่าการเรียนเหล่านี้จะสร้างไว้ให้เด็กแต่ละคนเพื่อมีทักษะ
มีความชานาญการเฉพาะและก่อนประถมต้นหรือมัธยมต้นจะเป็นตัวแปรร่วม เป็น core learning area
Ms.Tiina Malste ยกตัวอย่างเกี่ยวกับแผนพัฒนาการเรียนของลูกๆของเธอ โดยเล่าว่าเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว
เมื่อลูกชาย ๒ คนยังเล็กก็ได้รับการพัฒนาเป็นรายบุคคล เมื่อจะเข้าอนุบาลจะต้องคุยกับครูอนุบาลกับ
ผู้ช่วยครูอนุบาล ได้เข้าร่วมวงคุยที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาคีต่างๆ มาถามคาถาม โดยครูจะแสดงความ
คิดเห็นว่ารู้สึกอย่างไร พ่อแม่ก็แสดงความคิดเห็นว่ารู้สึกอย่างไร และควรจะเน้นอะไรให้กับลูก ปฏิกิริยาของ
พ่อแม่และครูตลอดจนความคิดเห็นจะถูกบันทึกไว้เป็นข้อมูล และเอกสารนั้นจะแลกเปลี่ยนกันหารือกับ
ส่วนงานต่างๆต่อไป โดยเฉพาะประเด็นที่ว่า อะไรคือวัตถุประสงค์ด้านการศึกษาของเด็ก เพื่อแบ่งปัน
แลกเปลี่ยนกันกับทุกฝ่าย แล้วพบกันปีละครั้งเพื่อพัฒนาว่าแผนนั้นยังอยู่ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่
เราในฐานะพ่อแม่ พ่อแม่ค่อนข้างพอใจว่าลูกจะเป็นไปในเส้นทางใดตามกระบวนการเหล่านี้
นี่คือ (สไลด์)ตารางของการอยู่ในศูนย์ดูแลเด็ก คุณอาจจะคิดว่าในแต่ละวันของเขาอยู่
อย่างไรมีสภาพอย่างไรเป็นการออกแบบแต่ละวันจะเห็นได้ว่าไม่มีชื่อของวิชาแต่ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง “ปฐม
ปฏิสัมพันธ์” กับสภาพแวดล้อม เข้ามาทาอะไรบ้างตอนบ่ายทาอะไรกลับบ้านทาอะไรเราพัฒนาส่วนนี้
เพื่อให้ครูรู้ว่าจากมุมมองของเด็กเขามองอย่างไรกิจกรรมต่างๆ เด็กตั้งแต่ ๓-๕ปีจะอยู่นิ่งเฉยไม่ได้ เด็กต้อง
ลุกขึ้นทาโน่นทานี่ ดังนั้นเราพยายามที่จะจัดอะไรให้เด็ก และให้เด็กได้นอนหลับพักผ่อนด้วย โปรแกรมใน
ตารางที่เห็น (สไลด์) จะพบแต่คาว่า “เล่น” จุดสาคัญที่สุดของนักเรียนคือ “เล่น” เพราะการเล่น คือ
กระบวนการการเรียนรู้ เป็นการให้แนวทาง ดังนั้นการเล่นเป็นการให้แนวทางว่าจะเล่นอย่างไร
เราเอื้ออานวยให้เขาเล่นอย่างมีแนวทาง หรือมีนัยยะว่าเล่นแล้วเรียนรู้อะไร มีบทบาทในขณะที่เล่นเด็ก
กาลังเรียนรู้ เด็กกาลังเรียนรู้การรับรู้เชิงประสาทสัมผัสซึ่งเรียกว่า cognitive เป็นมิติแรก หรือมิติต้นๆ
(ไม่ใช่การเรียนระดับบวกลบคูณหาร) แนวทางจัดระบบสภาพแวดล้อมหรือบรรยากาศการเล่าเรียนจะ
เกิดขึ้นได้อย่างไรในทุกบริบทสภาพแวดล้อมทุกอันควรเป็นสภาพแวดล้อมของการเรียนแต่เราจะทาให้
สภาพแวดล้อมนั้น จะมีหลักสูตรหรือแนวทางสภาพแวดล้อมการเล่าเรียนอย่างไร ดังนั้น เราจะเห็นอนาคต
เด็กได้ทั้งระดับมหภาค หรือภาพรวมใหญ่ ขณะเดียวกันจะเห็นภาพในระดับไมโครหรือระดับจุลภาคด้วย
ยกตัวอย่าง โปรแกรมการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งเราจะดูในแต่ละวันเป็นระดับจุลภาค ส่วนภาพ
ใหญ่ เช่น ในสถานศึกษาควรจะมีจัดเก้าอี้หรือไม่ หรือใช้การนั่งบนพื้น ฯลฯ ทุกรายละเอียดจะนามาคานึง
ว่าจะเกิดบรรยากาศของการเล่าเรียนได้อย่างไร เราไม่พูดถึงคาว่า “ชั้นเรียน ” แต่เราพูดถึง “พื้นที่การเรียน”
จะเป็นอย่างไรก็ได้ เรามองทุกองค์ประกอบทั้งพื้นที่เล่าเรียนและพื้นที่นอกการเล่าเรียน ไม่ว่าบรรยากาศจะ
เป็นอย่างไร ฝนตก ฯลฯ ก็สามารถเรียนรู้ได้ ในพื้นที่เรียนจะต้องอานวยช่วยเหลือให้การเรียนสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ที่เรากาหนด และที่สาคัญที่เราให้ความสนใจถึงสภาพทางจิตวิทยาสังคม ดังนั้นเราไม่คานึงถึง
ทางกายภาพอย่างเดียว แต่คานึงถึงสภาพสังคมและจิตวิทยาดังนั้นในเตียงของเด็กเก้าอี้ของเด็กอาจจะมี
ประเด็นว่าเด็กสองคนไม่สามารถอยู่ด้วยกันเพราะนี่คือการบรรยากาศเด็กจะรู้สึกว่าเด็กปลอดภัยในเชิง
จิตวิทยาและอยู่ในพื้นที่ปลอดภัยถึงจะใกล้ชิดกับสิ่งที่ไม่สบายใจแต่เด็กจะเรียนรู้ถึงสิ่งเหล่านั้น
------------------------------
ช่วงล้อมวงสนทนา ประกอบด้วย
Ms. Elise Tarvainen และ Ms.Tiina Malste
ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์
ดร.อัญญมณี บุญซื่อ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร.สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์
คุณณัฐพร สิงห์เพชร ผู้ปกครองโรงเรียนรุ่งอรุณ
ครูสุนิสา ชื่นเจริญสุข ผู้อานวยการระดับอนุบาล โรงเรียนรุ่งอรุณ
ถาม วิชาภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่สาคัญทางฟินแลนด์มีประเด็นอะไรเกี่ยวข้องกับการสอน
ภาษาอังกฤษของประเทศ ประเด็นนี้อยู่ในความคิดนักเรียนฟินแลนด์ควรรับรู้ภาษาอื่นให้เด็กอนุบาล
อย่างไรเหมือนกับที่ประเทศไทยต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อให้มีประชาคมที่ใหญ่ขึ้นเป็นเรื่องสาคัญที่
นักเรียนต้องเตรียมตัวเรื่องนี้ทางฟินแลนด์มองอย่างไร
ตอบ สิ่งที่จาเป็นต่อทุกภาษา คือ ภาษาแม่ต้องดีก่อน หากจะมีแผนการเริ่มภาษาต่างประเทศ
ต้องคุยกับพ่อแม่ ถ้าพ่อแม่มุ่งภาษาที่สองจะทาลายฐานของภาษาแรก การอยากให้เด็กมี
ภาษาต่างประเทศ ผู้ปกครองและสังคมรอบข้างต้องดูแลภาษาแรกให้ได้ก่อน ในฟินแลนด์มีหลักการศึกษา
ใหม่ๆที่เกิดขึ้น รวมทั้งเรื่องภาษา การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต้องผ่านกระบวนการเล่น ฟินแลนด์จึงเน้นให้เด็ก
เล่น ทั้งนี้ในแผนการศึกษาต่อด้านภาษา การจัดการเรียนรู้ ต้องมีผู้ใหญ่ที่พูดภาษาแม่ และผู้ใหญ่ที่พูด
ภาษาอังกฤษ อย่าโดดไปโดดมา การสื่อสารเราจะเน้นพูดเป็นหลัก เราจะไม่เน้นการเขียนอ่านหรือเล่น
ละคร จนกว่าจะมีแรงจูงใจที่อยากได้ภาษาอื่น ถ้าเราพูดซ้า ผู้ใหญ่ ๑ คน ๑ ภาษาเด็กจะไม่เกิดภาวะสับสน
ถาม (ผู้ปกครอง)สิ่งหนึ่งที่เป็นกิจวัตรสาคัญ คือพ่อแม่ต้องอยู่กับเด็กตลอดเวลาหรือไม่ เด็ก
จาเป็นต้องมีแผนการเรียนของแต่ละคนซึ่งพ่อแม่บางคนอาจมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกันครูจะนาแผน
อย่างหนึ่งไปเชื่อมโยงกับแผนของนักเรียนอย่างไร และจะเชื่อมโยงกับทางสังคมรอบข้างของเด็กอย่างไร
ตอบ “ในฐานะแม่ เราไม่ได้เตรียมลูกเพื่อโรงเรียน แต่เตรียมเพื่อเเป็นมนุษย์ที่จะเป็นส่วนหนึ่ง
ของสังคม” คนที่มีสถานะต่างกันเราจะจัดการอย่างไรให้เกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเด็กคนหนึ่งในแบบ
พลวัต ซึ่งในระดับปฐมวัยเราต้องให้การศึกษากับนักเรียน ผู้ปกครอง กับทุกคนรอบตัวเด็ก โรงเรียนต้องเป็น
ผู้ชานาญการในการเล่าเรียน นักการศึกษาเป็นผู้ชานาญการในการเล่าเรียนและช่วยเหลือเหล่าผู้ปกครอง
ดังนั้นในการต้นๆ ของการเล่าเรียนควรมีลักษณะเท่าเทียมกัน ผู้ปกครองต้องมีบทบาทมากถึง ๙๐% ของ
การเล่าเรียนของเด็ก เพราะเด็กต้องผ่านกระบวนการอธิบาย ผ่าน “ตัวอย่างแม่” “ตัวอย่างพ่อ” เป็นต้นแบบ
เพื่อให้เด็กเลือกทาตาม ที่ฟินแลนด์และการศึกษาจบการศึกษาระดับปริญญาโทซึ่งได้รับการฝึกฝนจน
เชี่ยวชาญแต่พ่อแม่คือผู้ชานาญการของเด็กเพราะรู้จักเด็กเติบโตมากับเด็กเราจึงใช้ประโยชน์จากตรงนั้น
ดังนั้นจุดสาคัญของคุณครูคือนาสิ่งที่พ่อแม่รู้อยู่แล้วมาใช้ประโยชน์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้
ถาม ครู เป็นคนสาคัญ รวมทั้งผู้ปกครอง และชุมชน ที่ฟินแลนด์ใครเป็นผู้จัดการศึกษาให้กับครู
และผลิตครูอย่างไร
ตอบ การอบรมครูในฟินแลนด์มีลักษณะพิเศษ ครูต้องจบปริญญาโทก่อน และเรียนในวิชาใดก็
ตามที่เน้นแนวทางการเรียนเป็นรากและแกนของการเรียน อีกวิชาหนึ่งคือจิตวิทยาเป็นวิชาวิทยาศาสตร์
ประยุกต์ที่นามาใช้ด้วยกัน ซึ่งทฤษฏีและการปฏิบัติต้องนามาประสานการตลอดเส้นทาง ไม่ใช้ทฤษฎีอย่าง
เดียวแล้วปฏิบัติที่หลัง ตั้งแต่เทอมแรกนักเรียนฝึกหัดครูจะต้องฝึกฝน สังเกตการณ์ เข้าร่วม คิดคานึง
สะท้อนการเรียนรู้ และต้องผ่านการฝึกอบรมและประเมินผล ดังนั้นจึงมีลักษณะพิเศษไม่สามารถแบ่งด้าน
วิชาการแยกออกมาได้ อีกอย่างหนึ่งเราต้องการสร้างทักษะการคิดคานึง การสะท้อนภาพตนเอง เพื่อให้รู้ว่า
สิ่งที่คาดหวังนั้นมีอะไรที่ไม่ถูกต้อง ถ้าสามารถคิดคานึงได้ จะรู้ว่าอะไรผิดอะไรถูกอจะทาให้เกิดชุมชนแห่ง
การเรียนรู้มีการพัฒนาขึ้น ในส่วนของ reflection หรือมองย้อนกลับ ครูมีเสรีในการกาหนดการสอนของ
ตนเอง เพราะครูมีทักษะในด้านการมองสะท้อนย้อนกลับตนเองได้ ดังนั้นทักษะส่วนนี้ที่ครูใหญ่จะไม่มีการ
ประเมินครูในโรงเรียน เพราะความเชื่อใจ และให้ความรับผิดชอบว่าครูจะใช้เครื่องมืออย่างไรจาก
หลักเกณฑ์ที่โรงเรียนหรือภาครัฐกาหนด ยิ่งไว้ใจมาก ครูยิ่งทางานดีขึ้น หากมีการประเมินจะยิ่งทาให้ครู
ทางานได้แย่ลง
คาถามจากผู้เข้าร่วม
๑. สัดส่วนระหว่างครูกับนักเรียนในฟินแลนด์เป็นอย่างไร
๒. เด็กเล็กๆเป็นเจ้าของการเรียนของตนเองได้อย่างไร (ถ้าเป็นระดับมหาลัยจะเข้าใจได้ว่าเด็ก
สามารถเลือกเองได้)
๓. ในแผนพัฒนาการเรียนของเด็กแต่ละคน วัตถุประสงค์จะเป็นอะไร เมื่อวางแผนให้เด็ก ลักษณะ
ของแผนดังกล่าวจะเป็นอย่างไร
ตอบ ตามกฎหมายฟินแลนด์สัดส่วนที่ภาคนโยบาย นายกเทศมนตรี และนักการศึกษาร่วมกันกาหนดไว้
อาทิ ครู ๑ คนต่อเด็ก ๔ คนตอนอายุ ๓ ขวบ และ ๑ ต่อเด็ก ๘ คนสาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ขวบ การบ้าน ๑
ชิ้นต่อ ๑วัน เป็นต้น
เราไม่อยากเป็นผู้ไปสอนเด็กให้เกิดภาพที่ว่า ชุมชนหรือพื้นที่จะไปกาหนดอนาคตให้เด็ก แต่จะเป็น
ภาพที่ความรับผิดชอบจะอยู่ที่เด็ก เช่น นักเรียนจะบอกเรื่องการบ้านให้กับพ่อแม่ดูในช่วงทานข้าว หรือการ
นาดินสอสีมาวางไว้บนโต๊ะให้เด็กเลือกที่จะลงมือวาดด้วยตัวเอง ฯลฯ ส่วนการพัฒนาทักษะ เราจะปลูกฝัง
กับเด็กให้สะท้อนกลับสิ่งที่ลงมือทาเป็นว่าเป็นอย่างไร เช่น ให้เด็กเขียนภาพว่าเห็นตนเองพัฒนาไปอย่างไร
ฝึกให้เด็กเห็นภาพของตนเองและนาไปใช้ประโยชน์ ยกตัวอย่าง สิ่งที่เด็กลงมือทา หากเด็กบอกว่า “ฉันทา
ได้ดีนะ” ถ้าครูไม่เห็นด้วย ครูจะทาเฉยเมยไม่ได้ ครูกับเด็กต้องมาปรึกษาหารือว่าทาไมครูมองว่าใช้ไม่ได้
ไม่ได้หมายถึงเด็กผิดหรือถูกแต่เป็นการหาทางรอมชอมกัน หาทางเข้าใจปรึกษาหารือร่วมกันในฐานะที่
นักเรียนเป็นเจ้าของประเด็นต่างๆเหล่านั้น เป็นต้น
สุดท้าย เด็กในช่วง “ปฐมปฏิสัมพันธ์” จาเป็นต้องมีรูปธรรมที่ครูต้องเฝ้าดู และคอยปรับ
วัตถุประสงค์อนาคตของเด็ก และให้เวลาในการพิจารณาแผนเหล่านั้น ซึ่งการพัฒนาการเรียนอยู่บน
พื้นฐานของการดูแล ฟูมฝัก และให้ความรัก โดยเฉพาะให้เนื้อหาเป็นเรื่องของนักเรียนเอง เรามีหน้าที่ดูแล
รักเขา และสนับสนุนเขา ซึ่งในฟินแลนด์เรามองว่าการศึกษาเป็นตัวแปรสาคัญของความสาเร็จของประเทศ
คนเป็นครู คนเป็นนักการศึกษา ไม่ว่าทางใดทางหนึ่งเราขอแสดงความชื่นชมเพราะคุณได้เลือกอาชีพที่ดี
ที่สุดที่จะกาหนดอนาคตของประเทศ
--------------------------------

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่PakChee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่Wann Rattiya
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)GexkO
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 

Similar a การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์

วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42ungpao
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันFang Malinee
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailxwarx
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59Ying Kanya
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือchaimate
 

Similar a การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์ (20)

วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59
ผอ.สพป.สตูล พบเพือนครู เม.ย. พ.ค.59
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
V 282
V 282V 282
V 282
 

Más de Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

Más de Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์

  • 1. สาระบนเวที “การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการศึกษาปฐมวัย” “INSIGHTS TO FINNISH EARLY YEARS EDUCATION AND CARE” วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐น. ณ หอศิลป์ กรุงเทพมหานคร ----------------------------------------- วิทยากรผู้บรรยาย : Ms. Elise Tarvainen และ Ms.Tiina Malste ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์ ผู้แปล : คุณชเนษฐ์วัลลภ ณ ขุมทอง อาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงต้นแนะนาวิทยากร วิทยากรทั้งสองท่านเป็นนักการศึกษาประเทศฟินแลนด์ วิทยากรเป็นที่ ปรึกษาทางด้านการศึกษา วิทยากรผู้ชานาญการ การศึกษาระดับต้นผู้ชานาญการการศึกษาระดับโลก การศึกษาทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรมการศึกษาต่างๆ เป็นผู้พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นการศึกษา มี ประสบการณ์ต่างประเทศมากมายโดยเฉพาะพื้นที่ตะวันออกกลาง และจัดการศึกษาให้กับประเทศ ซิมบับเว รวมถึงทักษะอาชีวะต่างๆ ได้พัฒนาโรงเรียนของฟินแลนด์และครู Ms. Elise Tarvainen ในวันนี้จะเล่าภูมิหลังของการเรียนของฟินแลนด์ในระดับปฐมวัย ฟินแลนด์ถือว่ามี นักการศึกษาผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับต้นของโลก รอยต่อสาคัญทางด้านการศึกษามีหลายประเด็น เราจะ ไม่ทิ้งเด็กคนไหนไว้เลย เราจะพยายามจัดการศึกษาให้เด็กตั้งแต่เกิดจนโต โดยการร่วมพัฒนาไปด้วยกัน สิ่งที่ควรเรียนรู้คือเด็กและวิธีการเรียนว่าเราจะเอื้ออานวยหรือช่วยเขาอย่างไร จะมีการพูดคุยสนทนากัน ตลอดเส้นทางของการเรียนมีการปรับแก้ไปพร้อมกันตลอดเส้นทางแห่งอนาคตนี้ตั้งแต่การศึกษาตาม มาตรฐานไปจนถึงการปรับปรุงประเมินและแก้ไข เป็นลักษณะองค์รวมของการพัฒนาการศึกษา เปรียบเสมือนการสร้างบ้าน เสาหลักสาคัญของการก่อสร้างจะมีมืออาชีพทางด้านนักการศึกษาเข้ามา ช่วยเหลือ ซึ่งถือเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาเด็กแต่ละคน และยังมีส่วนสาคัญอื่นๆ คือ หลักสูตร หรือ โครงสร้างวิชา รวมทั้งสภาพแวดล้อม การเตรียมตัวกาหนดลักษณะคุณภาพของหลักสูตรต่างๆเหล่านี้จะ สาเร็จไม่ได้หากไม่คานึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัวเด็ก ซึ่งการจัดสภาพแวดล้อมขึ้นอยู่กับการนา ของสถานศึกษาด้วย ในระบบการศึกษาของฟินแลนด์ครูใหญ่ของโรงเรียนจะเป็นผู้นาการเล่าเรียนว่าเด็ก ควรจะมีทิศทางอย่างไร เป็นการจัดการศึกษาระบบ ๓ ส่วน คือ บ้าน สถานศึกษา และโรงเรียน รวมทั้งผู้มี
  • 2. ส่วนได้ส่วนเสียทางสังคมที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่เว้นแม้แต่เพื่อนบ้านหรือผู้ที่ได้ประโยชน์จากการที่เด็กได้รับ การศึกษา กลุ่มคนเหล่านี้จะเข้ามามีส่วนร่วมวางแผนให้การศึกษากับเด็กซึ่งจะเป็นอนาคตของสังคม ไม่ใช่ การมอง “ความเป็นนักเรียน ๑ คน” สิ่งเหล่านี้เป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาในระดับต้นๆของเด็กฟินแลนด์ ๖ องค์ประกอบสาคัญ (จากสไลด์) คือ ๑. ให้การเล่นเป็นพาหะของการเรียน ๒. จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นบรรยากาศของการเล่าเรียนศึกษาที่พัฒนาสภาพแวดล้อม ทางจิตวิญญาณเพื่อให้เกิดบทบาทการปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน ๓. เน้นการให้การศึกษาควบคู่กับการดูแลอย่างฟูมฟัก ๔. สร้างพื้นที่เรียนรู้ให้เกิดการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ๕. มีแนวคิดด้านการออกแบบการจัดการศึกษาอย่างมีวิสัยทัศน์ (มองภาพใหญ่) ๖. สร้างบรรยากาศที่กระตุ้น เร้า อารมณ์และจิตนาการในการเรียนรู้ โดยมีหมุดหมายสาคัญของการพัฒนาการศึกษาเพื่อให้เด็กเป็นนักเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ได้นั้นก็คือ “ครู” ที่ต้องมีคุณสมบัติ ๕ ประการ ได้แก่ ๑. ต้องเอาจริงเอาจังในการเป็นผู้จัดบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างคึกคัก ๒. เป็นผู้ชานาญการเชื่อมโยงทักษะการเรียนรู้ของเด็ก ๓. มีทักษะการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนสามารถต่อยอด ความรู้และประสบการณ์ได้ ๔. มีทักษะการสร้างสรรค์สังคมรูปแบบเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เด็กเรียนรู้ด้วยการลงมือทา ๕. ต้องมีทักษะในการกระตุ้น เร้า อารมณ์ ปลุกจินตนาการ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ เอื้ออานวยช่วยเหลือผู้เรียนให้ได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ ในการเข้าหาเด็ก การเล่น เป็นพาหะของการเรียน คงเคยได้ยินว่าสื่อให้แนวทางการ เรียนเป็นอย่างไร สื่อคือพาหะ หรือให้แนวทางการเรียน สภาพแวดล้อม คือพาหะ เราจะให้เด็กอยู่ใน บรรยากาศแห่งการเล่าเรียนและศึกษาพร้อมกับพัฒนาสภาพทางจิตวิทยาให้เด็กอย่างไร จะขยายภาวะ บทบาทในปฏิสัมพันธ์กับการเรียนอย่างไร นี่เป็นหัวใจสาคัญ หรือที่เรียกว่า EduCare เป็นการให้การให้ คาปรึกษาและให้การดูแลไปด้วย ช่วงต้นของอายุเป็นช่วงสาคัญที่จะสร้างสรรค์และเปิดเวทีให้กับชีวิตใน ขั้นต่อๆ ไปของมนุษย์ทุกคน ในช่วงต้นเราสามารถให้หลักประกันกับเด็กได้ เพื่อสร้างภูมิหลังที่ดีให้กับเด็ก เราจาเป็นต้องดูแลเด็กอย่างเป็นองค์รวม เพียงแค่การถ่ายทอดทักษะทางวิชาการยังไม่เพียงพอ เพราะการ บ่มเพาะในเบื้องต้นจาเป็นต้องมีมากกว่านั้น EduCare เป็นสิ่งที่ครอบครัวทาให้อยู่แล้วในช่วงต้นของชีวิต หากเป็นสถานที่ ส่วนใหญ่ จะ เรียกว่า “เนอสเซอรี่” แท้จริงแล้ว เด็กปฐมวัยต้องได้รับการดูแลและให้การเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย ไม่ใช่ ศึกษาอะไรก็ได้ องค์ประกอบสาคัญคือความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกส่วนตลอดเส้นทาง
  • 3. การศึกษา เด็กจาเป็นต้องเข้าร่วมกระบวนการดูแลตั้งแต่ต้น ประเด็นนี้สาคัญมาก ถ้าเด็กไม่เข้าร่วมจะไม่มี ความหมาย ถ้าคุณดูภาพ (จากสไลด์) นี้ การพัฒนาเด็กจะเริ่มต้นเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนเด็กเกิด และเกี่ยวข้อง กับพ่อแม่และคนรอบข้างทั้งหมด ในช่วงต้นปีแรก เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ทาหน้าที่จัดการการศึกษาระดับ เบื้องต้นจะเข้ามาประสานงานกับครอบครัว ขึ้นอยู่กับพ่อแม่ว่าต้องการให้ลูกอายุ ๑-๖ ปีทาอะไร ไม่ใช่ เริ่มต้นเข้าเรียนตามเกณฑ์ตั้งแต่ ๗ ขวบตามกฎหมาย แต่ที่ฟินแลนด์จะเริ่มตั้งแต่ช่วงปีแรกตั้งแต่ก่อนเกิด และหลังเกิดแล้วจะต้องมีการตัดสินใจและมีทางเลือกที่ต้องพิจารณามากมาย เช่น ก่อนวัยเรียนจะทาอะไร จะเลือกให้เด็กอยู่ในศูนย์เด็กเล็กแบบไหน การศึกษาภาคบังคับจะเลือกแบบใด ฯลฯ ช่วง ๓ ปีแรกใน ฟินแลนด์พ่อแม่จะสามารถดูแลได้ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ ยิ่งเด็กอายุมากขึ้นเด็กจะเข้าไปอยู่ในความดูแลของศูนย์ ดูแลเด็กมากขึ้น (เป็นการดูแลของคนนอกครอบครัว) จึงขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของพ่อแม่ว่าจะนาเด็กไปไว้ อยู่ในที่ใด เป็นการการผสมผสานการตัดสินใจ ๓ ฝ่าย ศูนย์เลี้ยงเด็ก หรือ DayCare เป็นสถานศึกษาของ ฟินแลนด์ซึ่งภาครัฐจัดให้อยู่แล้วตามการศึกษาภาคบังคับ จึงมีลักษณะที่ประสานกันระหว่างท้องถิ่นกับ สถานศึกษาที่ให้การศึกษาและการแนะนาตามแนวทางระบบการศึกษาแห่งชาติ พอเด็กอายุ ๗ ปีจะเข้า เรียนในการศึกษาภาคบังคับ มีสถานศึกษาของเทศบาล ศูนย์ดูแลเด็กของเทศบาลดูแลเด็กใน ๒ ปีแรก ของการอยู่โรงเรียน อายุ ๗-๘ ขวบ เด็กจะเข้ามาในช่วงเช้าก็ได้หรือบ่ายก็ได้หรือเลือกบางช่วงก็ได้ เป็น ข้อตกลงสามัญร่วมกัน อันเป็นประเด็นที่สาคัญมาก โครงการการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวมโดยอนาคต ของเด็กตลอดเส้นทางในการศึกษาของฟินแลนด์ให้ความสาคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก สรุปว่า แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้กับเด็กในสถานศึกษามี ๕ องค์ประกอบ จะ เห็นได้ว่าจัดการเรียนรู้ให้เด็กจะต้องมีลักษณะเอาจริงเอาจัง คือ ให้เด็กเข้าร่วมและต้องเชื่อมโยงกับทักษะ ความจาเป็นอันเป็นประโยชน์ตามทักษะพื้นฐานเหล่านั้น เราต้องการให้เด็กสร้างความรู้ของเขาได้ด้วย ตนเอง ไม่ใช่การให้เด็กนั่งจดจา และปฏิสัมพันธ์กับผู้ให้การศึกษาก็เป็นสิ่งที่สาคัญมาก นักการศึกษาจะ เริ่มคิดเรื่องการก่อสร้างทางสังคม วางแนวคิดทางการเรียนที่จะนามาใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์ทาง สังคม หลักการไม่สาคัญแต่การนาสู่การปฏิบัตินั้นสาคัญกว่า เราจะร่วมกันอย่างไร เราตอบครูว่า ครูจะเป็นผู้อานวยช่วยเหลือเด็กอย่างไรนั่นคือบทบาทของครู จะทาอย่างไรให้ครูนาพาเด็กบรรลุเป้าหมาย ไม่ใช่แค่กรอบของความรู้ซึ่งแตกต่างจากข้อเท็จจริงเป็นอย่างมาก ดังนั้นเราจึงไม่ค่อยคานึงถึงการถกเถียง ด้านวิชาการแต่เราจะปฏิบัติตามที่เราพูด หรือเรียกว่า ”เดินตามที่เราพูด” หลัก ๖ ประการ (สไลด์) รากฐานสาคัญของการจัดการศึกษาของฟินแลนด์ นั่นคือ ครู นักการศึกษาที่มีความรู้อย่างมากจึงสาคัญมาก เพราะเป็นผู้ที่กาหนดว่าอาชีพที่เด็กโตขึ้นแล้วจะเป็น อย่างไรเพราะนักการศึกษาจะเห็นภาพรวมเหล่านั้น ทุกคนเป็นครูได้หมดแต่ใครจะเป็นนักการศึกษาได้นั้น ยาก เพราะไม่ค่อยมีใครถูกกระตุ้นเราให้สนใจทางด้านอนาคตของการเรียนของเด็ก รวมถึงสิ่งอานวยความ สะดวก
  • 4. ในช่วงต้นของการเรียน นักเรียนมีความสามารถที่จะดูแลตัวเองในช่วงต้น หากเราวาด สามเหลี่ยม อันประกอบด้วย เด็ก พ่อแม่ และครู ถามว่าในสามเหลี่ยมนี้ใครคือ ผู้เป็นเจ้าของกระบวนการ เรียนรู้ แน่นอนที่ “เด็ก” เป็นเจ้าของการเรียนรู้ตั้งแต่แรก ในพระราชบัญญัติว่าด้วยการศึกษาระบุไว้แล้วว่า นักเรียนเป็นผู้กาหนดการเรียนของตนเอง ดังนั้น ในช่วงต้นลักษณะของกรรมสิทธิ์ในการเรียนจะแตกต่าง กับการเรียนในระดับวัยรุ่น เด็กเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ยังเล็กว่าเขาอยากเรียนอะไร เพราะการศึกษาเป็น ของเขาเอง ระบบการศึกษาเป็นการทางานเพื่อสร้างศักยภาพให้เด็ก บทบาทของศูนย์เด็กหรือศูนย์ดูแลเด็ก ก็เช่นเดียวกัน เป็นเรื่องที่ต้องออกแบบกันวันต่อวันในการเรียนรู้ ด้วยพ่อแม่จะมาส่งเด็กที่โรงเรียนทุกวันซึ่ง จะได้เจอกันพูดคุยแลกเปลี่ยนกันตลอดเวลา นั่นหมายถึง เมื่อนักเรียนเข้าเรียน pre school ระดับก่อน เรียนจะต่างจากเขาอยู่ในช่วงวัยรุ่นในช่วง ๖ ปีแรก นักเรียนจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยเราจะส่งนักเรียนจาก โรงเรียนหนึ่งไปอีกโรงเรียนหนึ่งเพื่อการสนับสนุนอย่างดี และมีความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอย่างเป็น ระบบ และด้วยความร่วมมือดังกล่าวจะมีกระบวนการโอนถ่ายข้อมูลเด็กศูนย์ดูแลเด็กแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่ง หนึ่ง มีหลักฐานปรากฏทางด้านหลักสูตรโครงสร้างวิชาซึ่งไม่ได้เน้นทางด้านวิชาการหรือภาษา แต่เน้นเรื่อง การรับรู้ใหม่ๆ หรือเรียกว่า “ปฐมปฏิสัมพันธ์” ซึ่งมีกาหนดไว้อย่างเป็นมาตรฐานระดับชาติรองรับอ จะกลับ เข้าสู่เชิงวิชาการน้อยมาก การสร้างสรรค์พัฒนาคนก่อนปฐมวัยเป็นประเด็นสาคัญ จาเป็นต้องมีด้านวิชาการ ไม่ใช่ การเรียนวิชาการแต่เป็นการเตรียมเพื่อรับการเรียนวิชาการ โรงเรียนจะต้องอยู่ในภาวะเตรียมพร้อมสถาบัน ต่างๆต้องอยู่ในสถานะที่พร้อมจะปรับเช้าสู่เชิงวิชาการ ทั้งในระดับน้อยหรือมาก โรงเรียนต้องมีความพร้อม เพราะเด็กยังไม่มีทักษะของการขีดเขียน หรือพูด แต่เริ่มที่จะเรียนรู้นั้นคือเป็นความจาเป็นของการที่เด็ก เหล่านั้นจะอยู่ในชุมชนสังคมในบริบทที่มีหลักการว่าการเรียนเหล่านี้จะสร้างไว้ให้เด็กแต่ละคนเพื่อมีทักษะ มีความชานาญการเฉพาะและก่อนประถมต้นหรือมัธยมต้นจะเป็นตัวแปรร่วม เป็น core learning area Ms.Tiina Malste ยกตัวอย่างเกี่ยวกับแผนพัฒนาการเรียนของลูกๆของเธอ โดยเล่าว่าเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว เมื่อลูกชาย ๒ คนยังเล็กก็ได้รับการพัฒนาเป็นรายบุคคล เมื่อจะเข้าอนุบาลจะต้องคุยกับครูอนุบาลกับ ผู้ช่วยครูอนุบาล ได้เข้าร่วมวงคุยที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาคีต่างๆ มาถามคาถาม โดยครูจะแสดงความ คิดเห็นว่ารู้สึกอย่างไร พ่อแม่ก็แสดงความคิดเห็นว่ารู้สึกอย่างไร และควรจะเน้นอะไรให้กับลูก ปฏิกิริยาของ พ่อแม่และครูตลอดจนความคิดเห็นจะถูกบันทึกไว้เป็นข้อมูล และเอกสารนั้นจะแลกเปลี่ยนกันหารือกับ ส่วนงานต่างๆต่อไป โดยเฉพาะประเด็นที่ว่า อะไรคือวัตถุประสงค์ด้านการศึกษาของเด็ก เพื่อแบ่งปัน แลกเปลี่ยนกันกับทุกฝ่าย แล้วพบกันปีละครั้งเพื่อพัฒนาว่าแผนนั้นยังอยู่ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ เราในฐานะพ่อแม่ พ่อแม่ค่อนข้างพอใจว่าลูกจะเป็นไปในเส้นทางใดตามกระบวนการเหล่านี้ นี่คือ (สไลด์)ตารางของการอยู่ในศูนย์ดูแลเด็ก คุณอาจจะคิดว่าในแต่ละวันของเขาอยู่ อย่างไรมีสภาพอย่างไรเป็นการออกแบบแต่ละวันจะเห็นได้ว่าไม่มีชื่อของวิชาแต่ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง “ปฐม ปฏิสัมพันธ์” กับสภาพแวดล้อม เข้ามาทาอะไรบ้างตอนบ่ายทาอะไรกลับบ้านทาอะไรเราพัฒนาส่วนนี้
  • 5. เพื่อให้ครูรู้ว่าจากมุมมองของเด็กเขามองอย่างไรกิจกรรมต่างๆ เด็กตั้งแต่ ๓-๕ปีจะอยู่นิ่งเฉยไม่ได้ เด็กต้อง ลุกขึ้นทาโน่นทานี่ ดังนั้นเราพยายามที่จะจัดอะไรให้เด็ก และให้เด็กได้นอนหลับพักผ่อนด้วย โปรแกรมใน ตารางที่เห็น (สไลด์) จะพบแต่คาว่า “เล่น” จุดสาคัญที่สุดของนักเรียนคือ “เล่น” เพราะการเล่น คือ กระบวนการการเรียนรู้ เป็นการให้แนวทาง ดังนั้นการเล่นเป็นการให้แนวทางว่าจะเล่นอย่างไร เราเอื้ออานวยให้เขาเล่นอย่างมีแนวทาง หรือมีนัยยะว่าเล่นแล้วเรียนรู้อะไร มีบทบาทในขณะที่เล่นเด็ก กาลังเรียนรู้ เด็กกาลังเรียนรู้การรับรู้เชิงประสาทสัมผัสซึ่งเรียกว่า cognitive เป็นมิติแรก หรือมิติต้นๆ (ไม่ใช่การเรียนระดับบวกลบคูณหาร) แนวทางจัดระบบสภาพแวดล้อมหรือบรรยากาศการเล่าเรียนจะ เกิดขึ้นได้อย่างไรในทุกบริบทสภาพแวดล้อมทุกอันควรเป็นสภาพแวดล้อมของการเรียนแต่เราจะทาให้ สภาพแวดล้อมนั้น จะมีหลักสูตรหรือแนวทางสภาพแวดล้อมการเล่าเรียนอย่างไร ดังนั้น เราจะเห็นอนาคต เด็กได้ทั้งระดับมหภาค หรือภาพรวมใหญ่ ขณะเดียวกันจะเห็นภาพในระดับไมโครหรือระดับจุลภาคด้วย ยกตัวอย่าง โปรแกรมการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งเราจะดูในแต่ละวันเป็นระดับจุลภาค ส่วนภาพ ใหญ่ เช่น ในสถานศึกษาควรจะมีจัดเก้าอี้หรือไม่ หรือใช้การนั่งบนพื้น ฯลฯ ทุกรายละเอียดจะนามาคานึง ว่าจะเกิดบรรยากาศของการเล่าเรียนได้อย่างไร เราไม่พูดถึงคาว่า “ชั้นเรียน ” แต่เราพูดถึง “พื้นที่การเรียน” จะเป็นอย่างไรก็ได้ เรามองทุกองค์ประกอบทั้งพื้นที่เล่าเรียนและพื้นที่นอกการเล่าเรียน ไม่ว่าบรรยากาศจะ เป็นอย่างไร ฝนตก ฯลฯ ก็สามารถเรียนรู้ได้ ในพื้นที่เรียนจะต้องอานวยช่วยเหลือให้การเรียนสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ที่เรากาหนด และที่สาคัญที่เราให้ความสนใจถึงสภาพทางจิตวิทยาสังคม ดังนั้นเราไม่คานึงถึง ทางกายภาพอย่างเดียว แต่คานึงถึงสภาพสังคมและจิตวิทยาดังนั้นในเตียงของเด็กเก้าอี้ของเด็กอาจจะมี ประเด็นว่าเด็กสองคนไม่สามารถอยู่ด้วยกันเพราะนี่คือการบรรยากาศเด็กจะรู้สึกว่าเด็กปลอดภัยในเชิง จิตวิทยาและอยู่ในพื้นที่ปลอดภัยถึงจะใกล้ชิดกับสิ่งที่ไม่สบายใจแต่เด็กจะเรียนรู้ถึงสิ่งเหล่านั้น ------------------------------ ช่วงล้อมวงสนทนา ประกอบด้วย Ms. Elise Tarvainen และ Ms.Tiina Malste ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์ ดร.อัญญมณี บุญซื่อ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์ คุณณัฐพร สิงห์เพชร ผู้ปกครองโรงเรียนรุ่งอรุณ ครูสุนิสา ชื่นเจริญสุข ผู้อานวยการระดับอนุบาล โรงเรียนรุ่งอรุณ ถาม วิชาภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่สาคัญทางฟินแลนด์มีประเด็นอะไรเกี่ยวข้องกับการสอน ภาษาอังกฤษของประเทศ ประเด็นนี้อยู่ในความคิดนักเรียนฟินแลนด์ควรรับรู้ภาษาอื่นให้เด็กอนุบาล อย่างไรเหมือนกับที่ประเทศไทยต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อให้มีประชาคมที่ใหญ่ขึ้นเป็นเรื่องสาคัญที่ นักเรียนต้องเตรียมตัวเรื่องนี้ทางฟินแลนด์มองอย่างไร
  • 6. ตอบ สิ่งที่จาเป็นต่อทุกภาษา คือ ภาษาแม่ต้องดีก่อน หากจะมีแผนการเริ่มภาษาต่างประเทศ ต้องคุยกับพ่อแม่ ถ้าพ่อแม่มุ่งภาษาที่สองจะทาลายฐานของภาษาแรก การอยากให้เด็กมี ภาษาต่างประเทศ ผู้ปกครองและสังคมรอบข้างต้องดูแลภาษาแรกให้ได้ก่อน ในฟินแลนด์มีหลักการศึกษา ใหม่ๆที่เกิดขึ้น รวมทั้งเรื่องภาษา การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต้องผ่านกระบวนการเล่น ฟินแลนด์จึงเน้นให้เด็ก เล่น ทั้งนี้ในแผนการศึกษาต่อด้านภาษา การจัดการเรียนรู้ ต้องมีผู้ใหญ่ที่พูดภาษาแม่ และผู้ใหญ่ที่พูด ภาษาอังกฤษ อย่าโดดไปโดดมา การสื่อสารเราจะเน้นพูดเป็นหลัก เราจะไม่เน้นการเขียนอ่านหรือเล่น ละคร จนกว่าจะมีแรงจูงใจที่อยากได้ภาษาอื่น ถ้าเราพูดซ้า ผู้ใหญ่ ๑ คน ๑ ภาษาเด็กจะไม่เกิดภาวะสับสน ถาม (ผู้ปกครอง)สิ่งหนึ่งที่เป็นกิจวัตรสาคัญ คือพ่อแม่ต้องอยู่กับเด็กตลอดเวลาหรือไม่ เด็ก จาเป็นต้องมีแผนการเรียนของแต่ละคนซึ่งพ่อแม่บางคนอาจมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกันครูจะนาแผน อย่างหนึ่งไปเชื่อมโยงกับแผนของนักเรียนอย่างไร และจะเชื่อมโยงกับทางสังคมรอบข้างของเด็กอย่างไร ตอบ “ในฐานะแม่ เราไม่ได้เตรียมลูกเพื่อโรงเรียน แต่เตรียมเพื่อเเป็นมนุษย์ที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคม” คนที่มีสถานะต่างกันเราจะจัดการอย่างไรให้เกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเด็กคนหนึ่งในแบบ พลวัต ซึ่งในระดับปฐมวัยเราต้องให้การศึกษากับนักเรียน ผู้ปกครอง กับทุกคนรอบตัวเด็ก โรงเรียนต้องเป็น ผู้ชานาญการในการเล่าเรียน นักการศึกษาเป็นผู้ชานาญการในการเล่าเรียนและช่วยเหลือเหล่าผู้ปกครอง ดังนั้นในการต้นๆ ของการเล่าเรียนควรมีลักษณะเท่าเทียมกัน ผู้ปกครองต้องมีบทบาทมากถึง ๙๐% ของ การเล่าเรียนของเด็ก เพราะเด็กต้องผ่านกระบวนการอธิบาย ผ่าน “ตัวอย่างแม่” “ตัวอย่างพ่อ” เป็นต้นแบบ เพื่อให้เด็กเลือกทาตาม ที่ฟินแลนด์และการศึกษาจบการศึกษาระดับปริญญาโทซึ่งได้รับการฝึกฝนจน เชี่ยวชาญแต่พ่อแม่คือผู้ชานาญการของเด็กเพราะรู้จักเด็กเติบโตมากับเด็กเราจึงใช้ประโยชน์จากตรงนั้น ดังนั้นจุดสาคัญของคุณครูคือนาสิ่งที่พ่อแม่รู้อยู่แล้วมาใช้ประโยชน์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ ถาม ครู เป็นคนสาคัญ รวมทั้งผู้ปกครอง และชุมชน ที่ฟินแลนด์ใครเป็นผู้จัดการศึกษาให้กับครู และผลิตครูอย่างไร ตอบ การอบรมครูในฟินแลนด์มีลักษณะพิเศษ ครูต้องจบปริญญาโทก่อน และเรียนในวิชาใดก็ ตามที่เน้นแนวทางการเรียนเป็นรากและแกนของการเรียน อีกวิชาหนึ่งคือจิตวิทยาเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ที่นามาใช้ด้วยกัน ซึ่งทฤษฏีและการปฏิบัติต้องนามาประสานการตลอดเส้นทาง ไม่ใช้ทฤษฎีอย่าง เดียวแล้วปฏิบัติที่หลัง ตั้งแต่เทอมแรกนักเรียนฝึกหัดครูจะต้องฝึกฝน สังเกตการณ์ เข้าร่วม คิดคานึง สะท้อนการเรียนรู้ และต้องผ่านการฝึกอบรมและประเมินผล ดังนั้นจึงมีลักษณะพิเศษไม่สามารถแบ่งด้าน วิชาการแยกออกมาได้ อีกอย่างหนึ่งเราต้องการสร้างทักษะการคิดคานึง การสะท้อนภาพตนเอง เพื่อให้รู้ว่า สิ่งที่คาดหวังนั้นมีอะไรที่ไม่ถูกต้อง ถ้าสามารถคิดคานึงได้ จะรู้ว่าอะไรผิดอะไรถูกอจะทาให้เกิดชุมชนแห่ง การเรียนรู้มีการพัฒนาขึ้น ในส่วนของ reflection หรือมองย้อนกลับ ครูมีเสรีในการกาหนดการสอนของ ตนเอง เพราะครูมีทักษะในด้านการมองสะท้อนย้อนกลับตนเองได้ ดังนั้นทักษะส่วนนี้ที่ครูใหญ่จะไม่มีการ ประเมินครูในโรงเรียน เพราะความเชื่อใจ และให้ความรับผิดชอบว่าครูจะใช้เครื่องมืออย่างไรจาก
  • 7. หลักเกณฑ์ที่โรงเรียนหรือภาครัฐกาหนด ยิ่งไว้ใจมาก ครูยิ่งทางานดีขึ้น หากมีการประเมินจะยิ่งทาให้ครู ทางานได้แย่ลง คาถามจากผู้เข้าร่วม ๑. สัดส่วนระหว่างครูกับนักเรียนในฟินแลนด์เป็นอย่างไร ๒. เด็กเล็กๆเป็นเจ้าของการเรียนของตนเองได้อย่างไร (ถ้าเป็นระดับมหาลัยจะเข้าใจได้ว่าเด็ก สามารถเลือกเองได้) ๓. ในแผนพัฒนาการเรียนของเด็กแต่ละคน วัตถุประสงค์จะเป็นอะไร เมื่อวางแผนให้เด็ก ลักษณะ ของแผนดังกล่าวจะเป็นอย่างไร ตอบ ตามกฎหมายฟินแลนด์สัดส่วนที่ภาคนโยบาย นายกเทศมนตรี และนักการศึกษาร่วมกันกาหนดไว้ อาทิ ครู ๑ คนต่อเด็ก ๔ คนตอนอายุ ๓ ขวบ และ ๑ ต่อเด็ก ๘ คนสาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ขวบ การบ้าน ๑ ชิ้นต่อ ๑วัน เป็นต้น เราไม่อยากเป็นผู้ไปสอนเด็กให้เกิดภาพที่ว่า ชุมชนหรือพื้นที่จะไปกาหนดอนาคตให้เด็ก แต่จะเป็น ภาพที่ความรับผิดชอบจะอยู่ที่เด็ก เช่น นักเรียนจะบอกเรื่องการบ้านให้กับพ่อแม่ดูในช่วงทานข้าว หรือการ นาดินสอสีมาวางไว้บนโต๊ะให้เด็กเลือกที่จะลงมือวาดด้วยตัวเอง ฯลฯ ส่วนการพัฒนาทักษะ เราจะปลูกฝัง กับเด็กให้สะท้อนกลับสิ่งที่ลงมือทาเป็นว่าเป็นอย่างไร เช่น ให้เด็กเขียนภาพว่าเห็นตนเองพัฒนาไปอย่างไร ฝึกให้เด็กเห็นภาพของตนเองและนาไปใช้ประโยชน์ ยกตัวอย่าง สิ่งที่เด็กลงมือทา หากเด็กบอกว่า “ฉันทา ได้ดีนะ” ถ้าครูไม่เห็นด้วย ครูจะทาเฉยเมยไม่ได้ ครูกับเด็กต้องมาปรึกษาหารือว่าทาไมครูมองว่าใช้ไม่ได้ ไม่ได้หมายถึงเด็กผิดหรือถูกแต่เป็นการหาทางรอมชอมกัน หาทางเข้าใจปรึกษาหารือร่วมกันในฐานะที่ นักเรียนเป็นเจ้าของประเด็นต่างๆเหล่านั้น เป็นต้น สุดท้าย เด็กในช่วง “ปฐมปฏิสัมพันธ์” จาเป็นต้องมีรูปธรรมที่ครูต้องเฝ้าดู และคอยปรับ วัตถุประสงค์อนาคตของเด็ก และให้เวลาในการพิจารณาแผนเหล่านั้น ซึ่งการพัฒนาการเรียนอยู่บน พื้นฐานของการดูแล ฟูมฝัก และให้ความรัก โดยเฉพาะให้เนื้อหาเป็นเรื่องของนักเรียนเอง เรามีหน้าที่ดูแล รักเขา และสนับสนุนเขา ซึ่งในฟินแลนด์เรามองว่าการศึกษาเป็นตัวแปรสาคัญของความสาเร็จของประเทศ คนเป็นครู คนเป็นนักการศึกษา ไม่ว่าทางใดทางหนึ่งเราขอแสดงความชื่นชมเพราะคุณได้เลือกอาชีพที่ดี ที่สุดที่จะกาหนดอนาคตของประเทศ --------------------------------