SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 71
Descargar para leer sin conexión
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน(CleanFood)กลุ่มวัยทางานในเขต
กรุงเทพมหานคร
ชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์
การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ปีการศึกษา2560
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน(CleanFood)กลุ่มวัยทางานใน
เขตกรุงเทพมหานคร
นางสาวชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์
การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ปีการศึกษา2560
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
หัวข้อการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
(Clean Food)กลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร
ชื่อผู้ศึกษา ชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์
ปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ชาวงษ์
ปีการศึกษา 2560
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน (Clean
Food) ของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ลักษณะส่วนบุคคลและรูปแบบการดาเนินชีวิต
ประกอบด้วยด้านกิจกรรม ความสนใจและความคิดเห็นที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจัย คือ กลุ่มวัยทางานที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จานวนทั้งสิ้น 200 คน โดยใช้
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย
ค่าร้อยละและการทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติทดสอบ Chi – square พบว่า ผู้ตอบแบบสอบส่วน
ใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21-25 ปี ลักษณะการอยู่อาศัยเป็นบ้าน โดยส่วนมากสถานภาพโสด
มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพลูกจ้างเอกชนหรือพนักงานบริษัทและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
10,001 – 20,000 บาท ผู้ตอบแบบสอบถามแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มที่ไม่เคยรับประทาน 2.กลุ่ม
ที่เคยรับประทานและไม่รับประทานต่อ 3.กลุ่มที่เคยรับประทานและรับประทานต่อ ซึ่งโดยส่วนใหญ่
ผู้ตอบแบบสอบถามจะอยู่ในกลุ่มผู้ที่เคยรับประทานและไม่รับประทานต่อ โดย มีสาเหตุว่าไม่นิยม
อาหารประเภทนี้ รองลงมาเป็นเคยและรับระทานต่อซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1)ปรุงทานเองที่บ้าน
2)ซื้อแบบพร้อมรับประทาน 3)ปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานซึ่งโดยส่วนใหญ่
เลือกที่จะซื้อแบบพร้อมรับประทาน ตามมาด้วยปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานและ
สุดท้าย คือ ปรุงทานเองที่บ้านในส่วนกลุ่มผู้ที่ไม่เคยรับประทานมีสาเหตุว่าไม่นิยมอาหารประเภทนี้
จ
และเหตุผลที่ไม่สนใจเพราะคิดว่าไม่อร่อย สาหรับกลุ่มที่เลือกปรุงทานเองที่บ้านรวมทั้งกลุ่มที่เลือก
ปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานด้วยนั้น เนื่องจาก เน้นความสะอาดในกระบวนการ
ผลิต มั่นใจในความสด สะอาดกว่าแบบพร้อมรับประทาน ในการเลือกซื้อวัตถุดิบต่อคนต่อครั้งมี
ค่าใช้จ่ายประมาณ 101 – 200 บาท โดยส่วนใหญ่และเมื่อเทียบกับอาหาร 1มื้อ มีความเต็มใจจ่าย
เพื่อทานอาหารคลีนเพิ่มขึ้น 50-100 บาท ความถี่ในการปรุงอาหารรวมถึงความถี่ในการเลือกซื้อ
วัตถุดิบ 2-3 วันต่อสัปดาห์ สถานที่ที่ซื้อวัตถุดิบ คือ ห้างสรรพสินค้า สาหรับกลุ่มที่เลือกซื้อแบบ
พร้อมรับประทานรวมถึงกลุ่มที่เลือกปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานด้วยนั้น
เนื่องจาก มีการระบุปริมาณแคลลอรี่และคุณค่าทางโภชนาการสาหรับอาหารแต่ละกล่องหรือถุง
อย่างละเอียดและเชื่อถือได้และเน้นความสะอาดในกระบวนการผลิต มีค่าใช้จ่ายต่อคนต่อครั้ง
ประมาณ 200-300บาท ความถี่ในการเลือกซื้ออาหาร 2-3 วันต่อสัปดาห์ ในด้านทัศนคติ กิจกรรม
ของกลุ่มผู้ที่เคยรับประทานและรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพต่อนั้น มีความห่วงใยในสุขภาพ
ตนเองมาก และโดยส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มคนที่ออกกาลังกายและเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพเป็น
หลัก มีการรับประทานอาหารตามร้านอาหารเพียง 1-2 ครั้งต่อเดือน และสาเหตุที่เลือกรับประทาน
อาหารเพื่อสุขภาพนั้น เนื่องจากต้องการมีสุขภาพที่แข็งแรงเป็นอันดับแรกและตามมาด้วยต้องการ
ลดน้าหนักความสนใจ ความคิดเห็นของผู้ที่เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่องนั้น
จากเหตุผลแรกที่ว่า เป้าหมายในชีวิตคือการมีสุขภาพกายและจิตที่ดีจากการบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพที่ช่วยให้รูปร่างดี ผลการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่า เพศ อายุ อาชีพ
ลักษณะที่อยู่อาศัย สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะ
ลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลด้านสถานภาพและอาชีพไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานครในระดับสูง รูปแบบ
การดาเนินชีวิตด้านกิจกรรม ความสนใจ ทัศนคติและความคิดเห็นมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรม
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร
กิตติกรรมประกาศ
สารนิพนธ์ฉบับนี้ได้เสร็จลุล่วงด้วยความอนุเคราะห์จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์
ชาวงษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าอิสระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ชาวงษ์ รวมถึง
ผู้เข้าร่วมการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าอิสระ อาจารย์ ดร.ลลิตา จันทรวงศ์ไพศาล ที่ได้เสียสละเวลา
ให้คาปรึกษาด้านวิชาการตรวจคุณภาพเครื่องมือวิจัยตลอดจนการให้คาแนะนาแก้ไขข้อบกพร่องทา
ให้การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัยข้อกราบขอบพระคุณคณาจารย์ด้วยความเคารพ
อย่างสูง
ขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ ทุกท่านที่อานวยความสะดวก
และให้คาแนะนาที่ดีตลอดมา รวมถึงเพื่อนๆทั้งในและนอกหลักสูตรรวมทั้งญาติมิตร ซึ่งได้ให้ความ
ช่วยเหลือในการเก็บข้อมูลและคาแนะนาเกี่ยวกับธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพและความรู้ในการวิจัย อัน
ทาให้การวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ท้ายสุดนี้ คุณงามความดีอันเกิดจากสารนิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอน้อมบูชาคุณบิดามารดา
และบูรพคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชา อบรม สั่งสอน ข้าพเจ้า จนกระทั่งประสบ
ผลสาเร็จในวันนี้
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ …………….………………………………..…………………………………………... ง
กิตติกรรมประกาศ …………………………….………………..…………………………......…... ฉ
สารบัญ ………………………………..…………………………………..………………….……. ช
บทที่
1.บทนา
1.1 ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย ………………….……………………..…. 1
1.2 คาถามในกาวิจัย …………………………………………....……………………….. 4
1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ……………………….……..……..…………………… 5
1.4 ประโยชน์ที่ใช้ในการศึกษา …………………..………………………….………….. 5
1.5 ขอบเขตการศึกษา …………………………………………..……………………..... 6
1.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล …………………………………….……………………..….. 8
1.7 กรอบแนวคิดการวิจัย ………………………………………………….……………... 9
1.8 นิยามศัพท์ …………………………………………..…….…………………………... 9
1.9 สมมุติฐาน ………………………………………………………….…………..……. 11
2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ……………….………..…………………………... 13
3. ระเบียบวิธีการศึกษา
3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่างประชากร ..…………………………….…... 18
3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ………………………………………..………………..… 19
3.2.1 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ……..……………………..…..….. 19
3.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย …………………………………….………..…. 20
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ……………..……………………………………..….…….... 22
3.4 การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล ……..…………..………………………….......... 22
3.5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล …..…………………………….……..………..….. 23
ซ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
4. ผลการศึกษา
4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์และแปรผลข้อมูล …………….…..……………. 24
4.2 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ……………………...……………………… 24
ส่วนที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ………...…………... 25
ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ………..…….. 29
ส่วนที่ 3 เกี่ยวกับรูปแบบการดาเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพ ……………………………………………………..…… 30
ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานความสัมพันธ์ระหว่าง
ลักษณะส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ .………… 32
5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สังเขปความมุ่งหมายสมมติฐาน และวิธีดาเนินการวิจัย…..….. 41
5.2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า………………………………………. 42
5.3 ผลการทดลองสมมติฐาน………………………………………. 42
5.4 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า……………………………..…… 47
5.5 ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป……..………………….... 49
บรรณนานุกรม………………………………………………..…………………….. 50
ภาคผนวก…………………………………………………………………..……….. 52
ก.แบบสอบถาม……………………………………………………………..... 53
ประวัติผู้ศึกษา……………………………………..………………………………... 63
บทที่ 1
บทนา
1.1 ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย
การบริโภคอาหารนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการดาเนินชีวิตยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะผู้
ที่มีอายุสูงขึ้นเรื่อยๆนั้นจะให้ความสาคัญกับเรื่องการบริโภคอาหารมากที่สุดเป็นหลัก อาหารที่
ผู้บริโภคทุกกลุ่มวัยรับประทานเข้าไปนั้นจะต้องมีคุณภาพและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และยัง
ต้องมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสาคัญกับ
อาหารและสุขภาพมากขึ้น โดยทั่วโลกหันมาให้ความสาคัญกับสุขภาพกันมากขึ้น เนื่องจาก
สุขภาพที่ดี ส่งผลต่อการพัฒนาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะด้านความคิด สติปัญญา การศึกษาหรือ
การทางาน การรักษาสุขภาพทาได้หลายทาง เช่น การออกกาลังกาย การตรวจสุขภาพอย่าง
สม่าเสมอ รวมถึงการ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ซึ่งในปัจจุบันผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ
ได้รับการวิจัยและพัฒนา ให้มีความหลากหลายและตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค
มากขึ้น
ในรายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557 ระบุว่า โรคอ้วนทาให้เป็นสาเหตุเจ็บป่วยได้ง่ายทา
ให้โรคภัยต่างๆตามมา ความอ้วนสามารถทาให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเข้ามาได้หลายโรคพร้อม
กัน ได้แก่ ไขมันภายในเลือดมีปริมาณมาก โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน อัมพาตอัมพฤกษ์
โรคหัวใจ และยังเป็นต้นเหตุของโรคมะเร็ง โดยกองทุนวิจัยมะเร็งโลกโดยคนอ้วนมีโอกาสเป็น
โรคเหล่านี้มากกว่าปกติ 2-3 เท่า สาเหตุของโรคมะเร็งร้อยละ 24 เกิดมาจากความอ้วน
นอกจากนี้ ความอ้วนยังส่งผลระยะยาวต่อข้อเข่า ทาให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วเนื่องจากเข่ารับน้าหนัก
ตัวไม่ไหว เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย โดยองค์กรอนามัยโลก (WHO) คาดการณ์ว่า ในปี 2558 ทั่ว
โลกจะมีคนที่มีน้าหนักเกินมาตรฐานถึง 2,300 ล้านคน ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง
ต่างๆกว่า 2.8 ล้านคน ประเทศไทยในยุคปัจจุบันภาวะน้าหนักเกินและโรคอ้วนเกิดขึ้นมาก
โดยเฉพาะการไม่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและการรับประทานอาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
2
เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ อาหารที่ไม่มีประโยชน์หรืออาหารขยะ น้าอัดลมต่างๆและอาหารที่
ขาดโภชนาการ รวมถึงการเคลื่อนไหวร่างกายในระหว่างวันที่น้อยจนเกินไป เช่น นั่งอยู่กับโต๊ะ
ทางานเป็นส่วนมาก ทาให้มีสุขภาพที่ไม่แข็งแรงสมบูรณ์เพราะพฤติกรรมการบริโภคนั้นเป็น
ส่วนสาคัญอย่างมาก ดังนั้น การดูแลร่างกายให้แข็งแรงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเป็นสิ่งสาคัญมากและ
ผู้บริโภคเริ่มให้ตระหนักถึงความสาคัญเพิ่มขึ้นในการดูแลตนเองให้ร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ
(สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส, 2557) เนื่องจากการรับประทานอาหาร
ของคนไทยนั้นยังคงเน้นเรื่องรสชาติมากกว่าเป็นหลักจึงอยากให้ทราบประโยชน์หรือคุณค่าทาง
สารอาหารเพื่อสุขภาพว่ามีประโยชน์อย่างไร อาหารที่ส่งผลประโยชน์ต่อร่างกายและช่วยลด
อัตราการเป็นโรคต่างๆ เป็นประโยชน์ที่ก่อให้เกิดวิสัยทัศน์ของผู้บริโภค คุณประโยชน์ต่างๆ
จากอาหารเพื่อสุขภาพ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพเป็นวิธีรับประทานอย่างหนึ่งซึ่งยึด
หลักให้คล้ายคลึงกับธรรมชาติ ซึ่งเป็นวิถีที่มาจากฝั่งตะวันตก อาหารเพื่อสุขภาพเป็นวิถีการ
บริโภคอาหารที่เน้นความสดใหม่อยู่เสมอซึ่งก็มีหลายรูปแบบด้วยกัน โดยนิยมแบบไม่แปรรูป
ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องเป็นวัตถุดิบโดยตรงจากธรรมชาติให้มากที่สุดที่ไม่ผ่านการแปรรูปหรือปรุงแต่ง
น้อย ใส่สี ใส่กลิ่นมากจนเกินไป การกินแบบเพื่อสุขภาพจะเน้นการหุงต้มให้น้อยที่สุด เช่น ผักที่
รับประทานสดได้ ผลไม้ เป็นต้น จาพวกเนื้อสัตว์จะเน้นแบบไม่ผ่านความร้อนสูงอย่างการนา
อาหารมานึ่ง การย่างอาหารต่างๆหรือการนาวัตถุดิบเหล่านั้นมาผัดแต่ที่จะไม่นิยมคือการทอด
ในน้ามัน ปรุงสุกใหม่และปรุงแต่งน้อยจะสัมพันธ์กับหลักการโภชนาการเป็นส่วนใหญ่ มีคน
หลายประเภทเชื่อว่าการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพนั้นต้องทานอาหารจาพวกผักมากแต่การ
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเป็นการทานให้ครบ 5 หมู่ตามสัดส่วนให้พอเหมาะต่อความต้องการ
พลังงานในแต่ละวันร่างกายของตนเอง (อาณดี นิติธรรมยง, 2558) ทั้งนี้เพื่อนาไปสู่การบริโภค
อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี การมีทัศนคติเกี่ยวกับอาหารคลีนฟู้ด ส่งผลทาให้การตัดสินใจ
บริโภคอาหารคลีนฟู้ดมากขึ้นเพื่อสุขภาพของตนเอง รวมถึงจากรายงานตลาดอาหารโลกปี
2558 ระบุว่า ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจการบริโภคอาหารเพื่อรักษาสัดส่วนให้อยู่ในระดับที่
เหมาะสมกันมากขึ้นด้วยอิทธิพลจากรายการอาหารเพื่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการสารวจอาหาร
และการชิมอาหารจากทั่วโลกหรือกระตุ้นให้ผู้บริโภคทดลองบริโภคหรือปรุงแต่งอาหา
รับประทานด้วยตนเองที่บ้าน โดยเน้นวัตถุดิบที่เกิดมาจากธรรมชาติ เน้นอาหารที่ให้โปรตีนสูง
และคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ลดปริมาณความหวานและความเค็มที่นามาปรุงแต่งภายในอาหาร
ทานอาหารที่อุดมไปด้วยไขมันดี และต้องมีส่วนช่วยในระบบทางเดินอาหาร แนวโน้มที่สาคัญ
ของอาหารและสุขภาพปี 2558 1.เน้นการควบคุมน้าหนัก 2.มีประโยชน์จากธรรมชาติ 3.มี
โปรตีนสูง 4.มีคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน 5.น้ าตาลน้อย 6.มีส่วนช่วยในระบบขับถ่าย ข้อมูลจาก
3
สมาคมค้นคว้าในสหรัฐอเมริการะบุว่าในปี 2557 ชาวอเมริกันกว่า 60% ส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่ม
ผู้บริโภคอายุ 15-30 ปีและผู้บริโภคอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อ
หันมานิยมรับประทานอาหารประเภทสเปเชี่ยลตี้ ฟู๊ ด (Specialty Food) หรือ อาหารเพื่อสุขภาพ
รูปแบบคลีนฟู๊ ด (Clean Food) นั้นคืออาหารที่มีปริมาณการผลิตโดยตระหนักถึงวัตถุดิบและ
เครื่องปรุงที่มีคุณภาพสูงมากและเป็นอาหารที่ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพมากกว่าอาหารทั่วไป ทา
ให้มูลค่าตลาดอาหารที่ตระหนักถึงวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงมีมูลค่าสูงถึง 88, 300 ล้านบาทและ
คาดว่า จะเติบโตขึ้นอีก เมื่อมองในส่วนของประชาชนไทยส่วนใหญ่เป็นคนรักสุขภาพและมีวิธี
ดูแลตนเอง การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ทางด้านร่างกาย โภชนาการทางด้านสุขภาพ
อาหารที่พบว่ามีไขมันต่าเพื่อสุขภาพที่ดีต่อร่างกายหลีกเลี่ยงโรคต่างๆและมีมุมมองว่าอาหาร
เพื่อสุขภาพสามารถทาให้น้าหนักคงที่ แล้วยังส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงและห่างจากโรคต่างๆ ซึ่ง
คนไทยถือว่าการไม่มีโรคนั้นเป็นลาภอันประเสริฐ การเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่
ประชาชนนิยมเช่น อาหารเจ อาหารมังสวิรัติ อาหารชีวจิต อาหารคลีนฟู๊ ด และสมุนไพรต่างๆ
นับเป็นโภชนาการที่ส่งเสริมสุขภาพให้ดีขึ้น และเป็นที่นิยมของผู้บริโภคในขณะนี้ อีกทั้งธุรกิจ
ร้านที่จาหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพยังคงขยายตัวต่อเนื่องมากขึ้น (สุขหิบ, 2554) เป็นผลให้
รูปแบบการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงจากอดีต จึงส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
เพิ่มขึ้น ทาให้การขายอาหารเพื่อสุขภาพเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตค่อนข้างดีความ
ต้องการทางตลาดก็เพิ่มมาก ขึ้นทาให้หลักในการเลือกอาหารก็เพิ่มมากขึ้น จึงเป็นการนาส่วน
ประสมทางการตลาดเข้ามา จัดการธุรกิจ ดังนั้น ผู้บริโภคควรปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารจาก
เดิมมาบริโภคคลีนฟู๊ ด ควรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้บริโภคและทราบถึงส่วนประสมทางการตลาด
คือทราบถึงช่องทางการจัดจาหน่ายการเข้าถึงในการซื้อผลิตภัณฑ์หรือสินค้าได้สะดวก การ
ทราบถึงวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม และการจัดโปรโมชั่นสาหรับชักจูงผู้บริโภคให้หันมา
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ตลอดจนนาไปสู่การตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ทั้งนี้แนวโน้มในประเทศไทยที่เป็นความสาคัญหลักคือ ความ
สวยงามในการมีผิวพรรณและมีรูปร่างที่ดีและยังคงมีความสาคัญอย่างต่อเนื่อง แต่ผู้บริโภคก็
มักจะมีพฤติกรรมที่ตรงข้ามมักจะบริโภคอาหารที่ไม่ได้ส่งผลดีต่อสุขภาพหรือตามใจปาก
วัตถุดิบผลิตภัณฑ์ของอาหารเพื่อสุขภาพ จึงต้องมีรสชาติที่ดีไม่จืดและต้องไม่ทาลายสุขภาพ
และมีประโยชน์ที่ดีต่อผิวพรรณ และช่วยให้รูปร่างดีจะเป็นวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคมี
ความสนใจมากขึ้นอยู่เสมอ (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2557) จากข้อมูลดังกล่าวการลดความ
เสี่ยงจากโรค เป็นอีกทางเลือกของกลุ่มผู้บริโภคที่จะทาให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับใน
ปัจจุบันที่ผู้บริโภคหันมาดูแลเอาใจใส่ในสุขภาพของตนเองมากขึ้น โดยมีการให้ทัศนคติที่ดีต่อ
4
ผู้บริโภคให้ทราบถึงประโยชน์ของการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ รวมถึงการสนองความ
ต้องการของผู้บริโภคให้เกิดประโยชน์มากที่สุดในส่วนของส่วนประสมการตลาดโดยมีการขยาย
ช่องทางการจัดจาหน่าย การให้โปรโมชั่น ความคุ้มค่าหรือเหมาะสมด้านราคาและตัวผลิตภัณฑ์
ของอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อเป็นการขยายกลุ่มผู้บริโภค และปัจจุบันอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ
อาหารคลีนก็มีการพัฒนา คือการเพิ่มรูปแบบ รายการอาหารและมีรสชาติที่ถูกใจผู้บริโภค เพื่อ
สนองให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุดและยังมีการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ
เพิ่มขึ้นจากเดิม ซึ่งก็ตอบสนองผู้บริโภคทั้งด้านความทันสมัย ความสะดวกสบาย ซึ่งเหมาะแก่
สังคมไทยในปัจจุบันเป็นทางเลือกใหม่และตอบสนองรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริโภคที่ไม่มี
เวลาดูแลสุขภาพตนเองแบบธรรมชาติ การใช้จ่ายบริโภคเพื่อแลกกับสุขภาพที่ดีด้วยอาหาร
ส่งผลให้การตัดสินใจบริโภคอาหารคลีนฟู้ดเกิดขึ้นอย่างมาก
ทั้งนี้ กรมอนามัย จึงเชิญชวนให้ดูแลสุขภาพ เพราะในกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายที่
สาคัญของประเทศไทย 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจ อุบัติเหตุ และการเป็นพิษ มะเร็งทุกชนิด
ความดันเลือดสูง และโรคหลอดเลือดสมอง และการบาดเจ็บจากการฆ่าตัวตาย ถูกฆ่าตายฯ
ตามลาดับ จานวนผู้ตายด้วยสาเหตุดังกล่าว ทั้งประเทศ มีจานวนเพิ่มขึ้นมาตลอดโดยกลุ่มวัย
ทางานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15-60 ปี ในปี พ.ศ.2540 ประเทศไทยมีประชากรในวัย
นี้ถึง 38.97 ล้านคน จานวนการตายของประชากรในกลุ่มนี้ จะสูงมากในช่วงอายุ 25-29 ปี (ร้อย
ละ 6.7) รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 30-34 ปี (ร้อยละ 6.5) และในวัย 55-59 ปี (ร้อยละ 6.2) โดยที่
เพศชายเสียชีวิตมากกว่าเพศหญิงประมาณ 3 เท่า ขณะนี้มีแนวโน้มการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกปี
เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุ
ของภาวะ การเจ็บป่วยและการตายได้ ดังนั้น ผู้ทาวิจัยจึงทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของคนกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร เพื่อให้
ฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งด้านผู้บริโภค ธุรกิจ เป็นต้น นาผลไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้บริโภคอาหารในยุคปัจจุบันรวมถึงการรักษาสุขภาพของผู้บริโภคในกระแส
ปัจจุบัน
1.2 คาถามในการวิจัย
1. กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานครมีพฤติกรรมการบริโภคคลีนฟู้ดอย่างไร
2. ลักษณะของแต่ละบุคคลในกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานครมีผลต่อพฤติกรรมบริโภค
อาหารคลีนฟู้ดหรือไม่
5
3. รูปแบบการดาเนินชีวิตของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารคลีนฟู้ดหรือไม่
1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานใน
เขตกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
รูปแบบคลีนในกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร
3. เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีผลต่อพฤติกรรม
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
1.4 ประโยชน์ที่ใช้ในการศึกษา
ผลจากการศึกษามีประโยชน์ต่อฝ่ายที่เกี่ยวข้องดังนี้ คือ
1. ทราบถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มความพึง
พอใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ
รูปแบบอาหารคลีนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2. เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ประกอบการทางด้านโภชนาการนาไปพิจารณาเป็นแนวทางพัฒนา ต่อ
ยอดต่อธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
3. ส่งเสริมให้ผู้บริโภคดูแลสุขภาพรวมถึงการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเพื่อลด
อัตราการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ อย่างโรคอ้วนที่จะนามาซึ่งโรคอื่นๆที่จะแทรกซ้อนตามมา
4. สามารถนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนด้านการตลาด
ของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน รวมถึงเป็นประโยชน์ในการค้นคว้า
และวิจัยเชิงวิชาการในโอกาสต่อไป
1.5 ขอบเขตการศึกษา
ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณสาหรับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเลือกใช้วิธีการสารวจด้วย
แบบสอบถามที่สร้างขึ้นและได้กาหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังนี้
1. ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นคนอายุ 15-60 ปี กลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
6
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบบง่าย (Simple
Random Sampling) ใช้การกาหนดขนาดที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และระดับความ
คลาดเคลื่อน ± 5%
สูตร n=N/(1+〖Ne〗^2 )
เมื่อ n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N แทน ขนาดของประชากร
e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง
ดังนั้น จึงใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คนซึ่งจานวนนี้ได้จากการใช้ตารางสาเร็จรูปของYamane
(1967)
3. ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ประกอบด้วย
ตัวแปรอิสระ คือ
3.1 ลักษณะส่วนบุคคล ประกอบด้วย
3.1.1 เพศ
3.1.2 อายุ
3.1.3 ลักษณะที่อยู่อาศัย
3.1.4 ระดับการศึกษา
3.1.5 อาชีพ
3.1.6 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
3.2 รูปแบบการดาเนินชีวิต ประกอบด้วย
3.2.1 กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
3.2.2 ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
3.2.3 ความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
7
ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่ม
คนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
4. สถานที่ศึกษาที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ บริษัทเอกชน หน่วยงานรัฐบาล สถานศึกษา
ศูนย์การค้า
5. ระยะเวลาในการศึกษา เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 ถึงเดือนเมษายน 2561
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการนาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม จานวน 400 ชุด มา
ตรวจสอบความสมบูรณ์และคามถูกต้อง จากนั้นนาข้อมูลทั้งหมดมาทาการวิเคราะห์ข้อมูลและ
ประมวลผลโดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS ซึ่งการแบ่งส่วนแบบสอบถาม
ดังนี้
ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคล เป็นลักษณะแบบสอบถามปลายปิด
ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน เป็นลักษณะ
แบบสอบถามปลายปิด
ส่วนที่ 3 เกี่ยวกับรูปแบบการดาเนินชีวิต เป็นลักษณะแบบสอบถามปลายปิด
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
6.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่
6.1.1 ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ(Percentage) ใช้วิเคราะห์สาหรับข้อมูลบุคคล
และพฤติกรรมของกลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
6.1.2 ค่าเฉลี่ย(Mean)และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ใช้สาหรับ
วิเคราะห์รูปแบบการดาเนินชีวิต(ความสนใจ กิจกรรม ความคิดเห็น)ที่สนใจเกี่ยวกับอาหารเพื่อ
สุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพนามาซึ่งพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
6.2 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน
ใช้ค่าไค-สแควร์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
8
1.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่สาคัญ 2
แหล่ง คือ
1.แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data)โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่าง400 คน โดยการส่งแบบสอบถามพร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลและรอเก็บแบบสอบถามด้วย
ตนเอง
2.แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องใน
อดีต วารสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ เอกสารทางวิชาการและข้อมูลที่เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
9
1.7 กรอบแนวคิดการวิจัย
(ตัวแปรตาม)
ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
1.8 นิยามศัพท์
1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน หมายถึงการกระทาของ
ผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับการเลือกสรร การตัดสินใจและการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหาร
คลีน ประกอบด้วยจุดประสงค์ในการบริโภคอาหารคลีนฟู้ด โอกาสในการบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ความถี่ในการบริโภคอาหาเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
ระยะเวลาในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน มื้ออาหารในการบริโภค
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
รูปแบบการดาเนินชีวิต (ตัวแปรอิสระ)
1. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพ
รูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพ
2. ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารอาหาร
เพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล
สุขภาพ
3. ความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับอาหารอาหาร
เพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล
สุขภาพ
ลักษณะส่วนบุคคล (ตัวแปรอิสระ)
- เพศ - ลักษณะการอยู่อาศัย
- อายุ - ระดับการศึกษา
- อาชีพ - รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
10
อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ค่าใช้จ่ายต่อมื้อในการบริโภคอาหาเพื่อสุขภาพ
รูปแบบอาหารคลีน สถานที่ในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและบุคคล
ที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
2. รูปแบบการดาเนินชีวิต หมายถึง ปัจจัยด้านตัวบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ
ประกอบด้วย 1).กิจกรรม 2).ความสนใจ 3).ความเห็น
3. อาหารคลีน (Clean Food) มีความหมายอยู่ 2 นัยยะ คือ “อาหารที่ไม่ปนเปื้อน” หมายถึง
กินเข้าไปแล้ว มีประโยชน์และไม่เป็นพิษต่อร่างกาย ซึ่งการปนเปื้อนก็มีอยู่ 3 ทางด้วยกัน
คือ “ปนเปื้อนเชื้อโรค” มีเชื้อจุลินทรีย์เข้าไปปะปนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่ไม่สุก
อาหารที่ค้างคืน มีแมลงวันตอม ปรุงไม่สะอาด ก็นามาซึ่งอาการท้องเดินได้ ต่อมา “ปนเปื้อน
จากพยาธิ” เช่น การกินอาหารที่สุกๆ ดิบๆ การกินอาหารที่ไม่ระมัดระวังเรื่องความสะอาดก็
มีการปนเปื้อนพยาธิได้ และสุดท้าย “ปนเปื้อนสารเคมี” เช่น กินผักที่ไม่ได้ล้างหรือล้างไม่
สะอาด มียาฆ่าแมลงปะปนอยู่ อาหารที่ใส่สีแต่ไม่ใช่สีผสมอาหาร อาหารที่มีพิษ เช่น เห็ด
พิษ น้ามันทอดซ้า ถั่วลิสงที่มีอะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) เป็นต้น ส่วนนัยยะที่สอง คือ
"อาหารที่ถูกหลักโภชนาการ" อาจารย์จึงอยากจะยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า การตั้งคาถามว่าเรา
จะกินอาหารอย่างไรให้ครบ 5 หมู่ และต้องกินให้ได้สัดส่วน ปริมาณที่เพียงพอไม่มากน้อย
จนเกินไป รวมถึงมีความหลากหลาย เลี่ยงอาหารหวานจัด เค็มจัด มันจัด สุดท้ายกินผัก
ผลไม้ให้มากซึ่งทั้งหมดทั้งปวงคือ การกินอาหารให้ถูกหลักโภชนาการในแบบที่ตรงกับคาว่า
คลีนฟู้ด เพราะฉะนั้นคาว่าคลีนฟู้ดก็คือ คาว่า อาหารปลอดภัยไม่ปนเปื้อน อาหารถูกหลัก
โภชนาการนั่นเอง”
4. กิจกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพ
ได้แก่ การมีสุขภาพอนามัยในการขับถ่ายเป็นปกติทุกวัน รับประทานอาหารครบวันละ3มื้อ
รับประทานผักและผลไม้เป็นประจา เป็นต้น
5. ความสนใจ ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล
สุขภาพที่ผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนสนใจ ได้แก่ เป้าหมายในการ
ดารงชีวิต โดยการมีสุขภาพกายและใจที่ดี ต้องการมีอายุยืนยาวและสนใจในสุขภาพของ
สมาชิกในครอบครัว เป็นต้น
6. ความคิดเห็น ความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน และการดูแล
สุขภาพที่ผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนสนใจ ได้แก่ เป้าหมายในการ
11
ดารงชีวิตโดยการมีสุขภาพกายและใจที่ดีโดยคิดว่าการบริโภคอาหารคลีนมีส่วนช่วยให้
รูปร่างดี ควบคุมน้าหนักได้หรือคิดว่าการรับประทานอาหารคลีนสามารถช่วยล้างพิษใน
ร่างกายได้ เป็นต้น
7. กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ปฏิกิริยาที่แสดงออกถึงการส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การตรวจ
สุขภาพประจาปี การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การททานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
เป็นต้น
8. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ ทัศนะในการมองตนเองและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของบุคคล
ต่อสิ่งเร้าที่เกิดขึ้นที่จะเกิดขึ้นอันส่งผลต่อสุขภาพทั้งในด้านบวกและด้านลบ ได้แก่ การมอง
ว่าสุขภาพจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและสิ่งที่เรารับประทาน เป็นต้น
9. กลุ่มวัยทางาน กลุ่มวัยทางานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15-60 ปี สาหรับกลุ่ม
ประชากรสตรีในช่วงวัยนี้ ยังได้แบ่งออกเป็น กลุ่มวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี และกลุ่มวัย
หลังเจริญพันธุ์ อายุ 45-59 ปี ซึ่งจะต้องมีการดูแลส่งเสริมสุขภาพที่แตกต่างกัน ใน
รายละเอียด อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสรีระร่างกาย ตามวัย โดยเฉพาะการส่งเสริม
สุขภาพประชากรกลุ่มนี้ ก็เพื่อให้ประชากรวัยทางานมีความรู้ และพฤติกรรมอนามัยที่
ถูกต้อง ทั้งในครอบครัว ชุมชน และในสถานประกอบการ มีสุขภาพดีตามมาตรฐาน และมี
พฤติกรรมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง สตรีมีบัตรเมื่ออายุไม่ต่ากว่า 20 ปี การรับ
บริการวางแผนครอบครัวตามความเหมาะสม ได้แก่ ห่วงอนามัย ยาเม็ดคุมกาเนิด การทา
หมันชาย / หญิง ยาฉีดคุมกาเนิด ยาฝังคุมกาเนิด และถุงยางอนามัย เป็นต้น รวมทั้งการ
ส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น ได้แก่ ภาวะโภชนาการ การออกกาลังกาย และการดูแลสุขภาพฟัน
เป็นต้น
1.9 สมมุติฐาน
1. เพศมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของ
กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
2. อายุมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของ
กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
3. ลักษณะการอยู่อาศัยมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ
อาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
12
4. ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหาร
คลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
5. อาชีพมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ของ
กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ
อาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
7. รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เพื่อสุขภาพ
รูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดด้านการตลาด
Kotler (2009, p. 24) แบ่งระดับแนวความคิดและทฤษฎี คือ การตลาดแบบดั้งเดิม
(Traditional Marketing) โดยจะมีวัตถุประสงค์ คือ การสร้างความนึกคิดในแบรนด์ของสินค้า
การตลาดแบบดั้งเดิมจะให้ความสาคัญอย่างมากกับส่วนประสมการตลาด
อดุลย์ จาตุรงคกุล (2543, หน้า 26) กล่าวว่า ส่วนสาคัญของของส่วนประสมทาง
การตลาดแบบ 4P’s ว่าเป็นตัวกระตุ้นหรือแรงจูงใจในตลาดที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อ
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2552, หน้า 80-81) กล่าวว่า ส่วนประสมการตลาด หมายถึง มีตัว
แปรที่ควบคุมทางการตลาดได้ ทางบริษัทจะใช้การประสมกันเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยการใช้เครื่องมือต่างๆ
แนวคิดด้านรูปแบบการดาเนินชีวิต
ศิริวรรณ เสรีรัตน (2541, หน้า135) รูปแบบการดาเนินชีวิต(Lifestyles) หมายถึงการ
ดาเนินชีวิตในโลกโดยการแสดงออกในรูปของกิจกรรม(Activities)ความสนใจ(Interests)และ
ความคิดเห็น(Opinion)Hawkins, Best &Coney( 2001, p. 435)รูปแบบการดารงชีวิตขึ้นกับ
วัฒนธรรมชั้นของสังคมและกลุ่มอาชีพของแต่ละบุคคล นักการตลาดเชื่อว่าการเลือกสิ่งของวัตถุ
อยู่กับค่านิยมและรูปแบบการดารงชีวิตของมนุษย์โดยรูปแบบการดารงชีวิตเป็นการกาหนด
ขึ้นมาโดยเกิดจากประสบการณ์ในอดีตลักษณะของในตัวบุคคลโดยมาแต่กาเนิดและสถานการณ์
ที่เกิดขึ้นจะส่งผลกับพฤติกรรมผู้บริโภค กล่าวได้ดังนี้คือ รูปแบบการดาเนินชีวิตจะขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมค่านิยม สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมรวมถึงวัฒนธรรมย่อย ชนชั้นใน
สังคม กลุ่มอ้างอิง ครอบครัว อารมณ์และบุคลิกภาพ
14
แนวคิดด้านการตัดสินใจ
Barnard (2007) กล่าวว่า การตัดสินใจเป็นการลดทางเลือกจากหลายๆ ขั้นตอนให้ลง
มาเหลือเพียงทางเดียว
Simon (1960, p.1) กล่าว่า เป็นกระบวนการหาแนวทางในการตัดสินใจ หาทางเลือกที่
เหมาะและเกิดขึ้นได้
Kotler (1999 อ้างใน ศิริวรรณ เสรีรัตน์, 2541, หน้า 124 – 125) พฤติกรรมผู้บริโภค
หมายถึง การจัดหาทางตรงถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการ รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจ และ
เกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Krutulyte, Grunert, Scholderer, Lähteenmäki, Hagemann, Elgaard, et al.
(2011)ศึกษาในเรื่องการรับรู้แบบของส่วนประสมแตกต่างกันของผู้ให้บริการและส่วนประสมการ
ทางานและผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อ มีวัตถุประสงค์ในการแยกว่าสิ่งใดคืออาหารเพื่อสุขภาพ
ในการตอบสนองและยอมรับในยุคปัจจุบันของผู้บริโภค เช่นผลิตภัณฑ์อย่าง ธัญพืช สลัด
แซลมอน อาหารเช้าสาหรับเด็กแรกเกิด ข้าวกล้อง และข้าวไรซ์เบอรี่ ความต้องการซื้ออาหารที่
ประกอบด้วยวัตถุเจือปนต่างๆได้มีการขยายความเหมาะสมในการรับรู้ถึงวัตถุเจือปนแต่ละชนิด
เช่นเดียวกับการนึกถึงสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคการตอบสนองที่ส่งผลในอาหารเพื่อสุขภาพซึ่ง
อ้างอิงจากแบบสอบถามผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในประเทศเดนมาร์กพบว่ารับรู้ถึงความ
เหมาะสมของสิ่งที่ผสมสนานอยู่ในอาหารเกี่ยวข้องกันอย่างยิ่งกับการตัดสินใจซื้อและยังได้รับ
อิทธิพลจากการตอบสนองต่ออาหารเพื่อสุขภาพการวิจัยได้สร้างแบบทดสอบและทาการแจก
แบบสอบถามตัวอย่างแบบสุ่มในประเทศเดนมาร์กจานวน1,750คน
การันต์ พุกชัยวานิชย์ (2556) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อและรูปแบบการ
ดาเนินชีวิตที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ
พรานทะเล ในเขตบางแคศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงคุณลักษณะด้าน
ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ
พรานทะเล ในเขตบางแครวมทั้งศึกษาพฤติกรรมการการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อส่วนประสม
การตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแค ตลอดจน
ศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเล
15
แช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแคผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญต่อปัจจัยส่วน
ประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็งยี่ห้อพรานทะเล โดยรวมอยู่
ในระดับมากโดยผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุดในด้านบรรจุภัณฑ์รองลงมาได้แก่ด้าน
ผลิตภัณฑ์และให้ความสาคัญน้อยที่สุดในด้านการส่งเสริมการตลาด ส่วนรูปแบบการดาเนินชีวิต
ของผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญต่อรูปแบบการดาเนินชีวิต โดยรวม อยู่ในระดับมาก
โดยผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุดในด้านความคิดเห็นรองลงมาได้แก่ด้านความสนใจและให้
ความสาคัญน้อยที่สุดในด้านกิจกรรมนอกจากนี้ยังพบว่ารูปแบบการดาเนินชีวิต โดยรวมของ
ผู้บริโภคแตกต่างกัน มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็ง
ยี่ห้อ พรานทะเล โดยรวมแตกต่างกัน
พรพรรณ ป้อมสุข (2554) ทาการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ
สุขภาพและปัจจัยที่สัมพันธ์กันในกลุ่มประชาชนวัยทางานในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท
อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีผลพบว่า ตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีแสดงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
เพื่อสุขภาพคล้ายกันซึ่งมีระดับของพฤติกรรมอยู่ในระดับพอใช้และผลการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่ม
ตัวอย่างคือ ปัจจัยด้านชีวะสังคม ได้แก่ เพศ (x2 = 10.007) และอายุ (x2 = 12.502) มี
ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ < .05 ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ความรู้ (r
= .250) ทัศนคติ(r = .327) มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ < .05 ปัจจัย
เอื้ออานวยด้านการรับรู้ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกาบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (r = .331) และ
ปัจจัยเสริมด้านแรงสนับสนุนจากบุคคล (r = .297) นั้นมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ<.05 ดังนั้น ในการส่งเสริมพฤติกรรม
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพควรให้ความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง โดยส่งเสริมให้ครอบครัวมี
ส่วนร่วม และมีความสอดคล้องกับ รูปแบบการดาเนินชีวิต ซึ่งจะสามารถทาให้ประชาชนปฏิบัติ
พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและยั่งยืน
บงกช รัตนปรีดากุล และ ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี (2553) ทาการศึกษาเรื่อง อิทธิพลของ
ทัศนคติและบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์ของ
ผู้บริโภควัยทางาน ใช้วิธีการวิจัยแสวงหาโดยผู้ตอบแบบสอบถามเป็นวัยทางานตอนต้นอยู่
ในช่วงอายุระหว่าง 20-29 ปีในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์www.pantipmarket.com เป็นเว็บไซต์ที่ถูกเลือกใช้มากที่สุด เครื่องสาอาง คือ
สินค้าที่มีการซื้อผ่านเว็บไซด์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นอันดับหนึ่ง โดยซื้อครั้งละ 500 – 1,000
16
บาทและซื้อสัปดาห์ละครั้ง เหตุผลที่เลือกซื้อสินค้าและบริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะ
การเดินทางที่ไม่ต้องออกไปซื้อสินค้าที่ร้านค้า สรุปได้ว่า ทัศนคติและบรรทัดฐานทางสังคมมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์ของผู้บริโภควัยทางานตอนต้น อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
นัยนา สุทิน(2555) ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติของ
ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร โดยผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จาการวิจัย
พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ภูมิลาเนาเดิม ลักษณะการอยู่อาศัย การศึกษา อาชีพ
และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติของ
ผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ด้านอายุมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติ
ของผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ด้านค่าใช้จ่ายในการบริโภคอาหารมังสวิรัติในระดับสูงโดย
ผู้บริโภคที่มีช่วงอายุ25-34ปีร้อยละ43.3 ผู้บริโภคที่มีช่วงอายุ15-24ปี ร้อยละ 3.0และผู้บริโภคที่
มีช่วงอายุ35-44ปี ร้อยละ9.0รวม 56.3 ด้านระยะเวลาในการบริโภคอาหารมังสวิรัติในระดับสูง
มาก ผู้ตอบแบบสอบถามมีการบริโภคอาหรมังสวิรัติสูงสุดเป็นระยะเวลา1-3ปี รวมเป็นร้อยละ
41.8 ด้านระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติ โดยผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ร้อยละ30.8 ผู้บริโภคในระดับ
มัธยมศึกษา ร้อยละ 7.0และผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ4.0
รวม41.8 สรุปได้ว่าจากงานวิจัยพบว่า รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารมังสวิรัติ
ณัฐณิช สุริยะฉาย (2558 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของประชากรวัยทางานของไทยและมาเลเซีย ผลวิจัยพบว่ากระแส
อาหารเพื่อสุขภาพ ความต้องการรูปร่างและสุขภาพที่ดีทาให้ประชากรวัยทางานของไทยและ
มาเลเซียได้ให้ความสนใจกับอาหารสุขภาพและมีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้นจาก
เมื่อก่อน โดยผู้บริโภคส่วนมากจะสั่งซื้อผ่านร้านออนไลน์เพราะมีความสะดวกและรวดเร็วโดย
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่สาคัญ คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านทัศนคติที่สาคัญ คือ
ประสบการณ์ และปัจจัยทางสังคมที่สาคัญ คือกลุ่มอ้างอิง โดยสิ่งที่แตกต่างคือปัจจัยส่วนประสม
ทางการตลาดด้านโปรโมชั่นในมาเลเซียไม่สัมพันธ์ต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
ธีรวีร์ วราธรไพบูลย์ (2557 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภค : อาหรนิยม
บริโภคกับอาหารเพื่อสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันพฤติกรรมของการรับประทานอาหาร
ของผู้บริโภคเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างมาก สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาการที่มีการนาอาหาร
17
ต่างประเทศเข้ามาเป็นจานวนมาก ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพนั้นพบว่าเมื่อ
อายุของผู้บริโภคสูงขึ้น ผู้บริโภคมีเหตุผลมากขึ้นในการเลือกบริโภค โดยเลือกอาหารที่บริโภค
แล้วสุขภาพแข็งแรงและส่งผลให้เลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอื่นๆตามา โดยเลือกซื้อจาก
ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อที่ทาให้ผู้บริโภคมีความสะดวกมากที่สุด
ธัญญลักษณ์ ทอนราช (2558) ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ คู่มือนี้เป็นการให้ความรู้
สร้างความเข้าใจเรื่องอาหาร รวมทั้งหลักการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ทั้งในด้านคุณภาพและ
ปริมาณ ถือเป็นการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทาให้สามารถป้องกัน
การเกิดโรคจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ทาให้สุขภาพแข็งแรงโดยไม่มีโรคแทรกซ้อน
ได้
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการศึกษา
การวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบอาหารคลีน ในเขต
กรุงเทพมหานคร” โดยมีเนื้อหาสาระสาคัญในการดาเนินการตามลาดับนี้
3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4 การจัดทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่างประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่อยู่ในเขต
กรุงเทพมหานครซึ่งไม่สามารถระบุจานวนที่แน่นอนได้
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานศึกษาวิจัย คือ เป็นผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่อยู่ อายุ 15 ปี
ขึ้นไปและอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งไม่สามารถระบุจานวนจานวนที่แน่นอนได้
เนื่องจากไม่สามารถทราบจานวนที่แน่นอนได้จึงกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการหาขนาด
ตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (กัลยาวานิชย์บัญชา.2545:25-26)
n=Z^2/〖4e〗^2
โดยแทนค่า n แทน จานวนสมาชิกตัวอย่าง
Z แทน ระดับความเชื่อมั่นที่ผู้วิจัยกาหนดไว้
19
Z มีค่าเท่ากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% (ระดับ 0.05)
e แทน สัดส่วนของความคาดคลาดที่จะยอมให้เกิดขึ้น
ดังนั้น
n=〖(Z)〗^2/(สารองแบบสอบถาม 〖(ความเชื่อมั่น)〗^2 )=x
n= 〖(1.96)〗^2/(4 〖(0.05)〗^2 ) =384
ดังนั้น ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้จานวน 200 คนและเพื่อเป็นการป้องกัน
ความผิดพลาดของแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์จึงมีการสารองไว้ 4 % ของกลุ่มตัวอย่างเป็น
จานวน 8 คนรวมขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้ง 208 ตัวอย่าง
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling )
เพื่อเลือกพื้นที่
ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า(Quota Sampling) โดยการ
กาหนดกลุ่มตัวอย่างจานวน 200 คน
ขั้นตอนที่ 3 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความสะดวก(Convenience
Sampling) โดยการแจกแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่างตามที่พักอาศัย สถานที่ทางาน หรือ
ศูนย์การค้าในเขตการปกครอง และสถานศึกษาตามที่ได้เลือกไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนครบตาม
จานวนที่กาหนดไว้ในขั้นตอนที่ 2
3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
3.2.1 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ดาเนินการสร้าง ดังนี้
1.ศึกษาตารา เอกสาร บทความ ทฤษฎีหลักการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนด
ขอบเขตการวิจัย และสร้างเครื่องมือในการวิจัยให้ครอบคลุมตามความมุ่งหมายการวิจัย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝันWanlop Chimpalee
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามKongkrit Pimpa
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1Totsaporn Inthanin
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 

La actualidad más candente (20)

หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 

Similar a พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf

Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokUtai Sukviwatsirikul
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssBiobiome
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาDrDanai Thienphut
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsNanthawat Tabngern
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 

Similar a พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf (20)

Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
Wijaichanrientaweesin
WijaichanrientaweesinWijaichanrientaweesin
Wijaichanrientaweesin
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 

พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf

  • 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน(CleanFood)กลุ่มวัยทางานในเขต กรุงเทพมหานคร ชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์ การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา2560 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน(CleanFood)กลุ่มวัยทางานใน เขตกรุงเทพมหานคร นางสาวชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์ การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา2560 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 3. หัวข้อการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน (Clean Food)กลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ชื่อผู้ศึกษา ชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์ ปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ชาวงษ์ ปีการศึกษา 2560 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน (Clean Food) ของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ลักษณะส่วนบุคคลและรูปแบบการดาเนินชีวิต ประกอบด้วยด้านกิจกรรม ความสนใจและความคิดเห็นที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัย คือ กลุ่มวัยทางานที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จานวนทั้งสิ้น 200 คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละและการทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติทดสอบ Chi – square พบว่า ผู้ตอบแบบสอบส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21-25 ปี ลักษณะการอยู่อาศัยเป็นบ้าน โดยส่วนมากสถานภาพโสด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพลูกจ้างเอกชนหรือพนักงานบริษัทและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท ผู้ตอบแบบสอบถามแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มที่ไม่เคยรับประทาน 2.กลุ่ม ที่เคยรับประทานและไม่รับประทานต่อ 3.กลุ่มที่เคยรับประทานและรับประทานต่อ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ ผู้ตอบแบบสอบถามจะอยู่ในกลุ่มผู้ที่เคยรับประทานและไม่รับประทานต่อ โดย มีสาเหตุว่าไม่นิยม อาหารประเภทนี้ รองลงมาเป็นเคยและรับระทานต่อซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1)ปรุงทานเองที่บ้าน 2)ซื้อแบบพร้อมรับประทาน 3)ปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานซึ่งโดยส่วนใหญ่ เลือกที่จะซื้อแบบพร้อมรับประทาน ตามมาด้วยปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานและ สุดท้าย คือ ปรุงทานเองที่บ้านในส่วนกลุ่มผู้ที่ไม่เคยรับประทานมีสาเหตุว่าไม่นิยมอาหารประเภทนี้
  • 4. จ และเหตุผลที่ไม่สนใจเพราะคิดว่าไม่อร่อย สาหรับกลุ่มที่เลือกปรุงทานเองที่บ้านรวมทั้งกลุ่มที่เลือก ปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานด้วยนั้น เนื่องจาก เน้นความสะอาดในกระบวนการ ผลิต มั่นใจในความสด สะอาดกว่าแบบพร้อมรับประทาน ในการเลือกซื้อวัตถุดิบต่อคนต่อครั้งมี ค่าใช้จ่ายประมาณ 101 – 200 บาท โดยส่วนใหญ่และเมื่อเทียบกับอาหาร 1มื้อ มีความเต็มใจจ่าย เพื่อทานอาหารคลีนเพิ่มขึ้น 50-100 บาท ความถี่ในการปรุงอาหารรวมถึงความถี่ในการเลือกซื้อ วัตถุดิบ 2-3 วันต่อสัปดาห์ สถานที่ที่ซื้อวัตถุดิบ คือ ห้างสรรพสินค้า สาหรับกลุ่มที่เลือกซื้อแบบ พร้อมรับประทานรวมถึงกลุ่มที่เลือกปรุงทานเองที่บ้านและซื้อแบบพร้อมรับประทานด้วยนั้น เนื่องจาก มีการระบุปริมาณแคลลอรี่และคุณค่าทางโภชนาการสาหรับอาหารแต่ละกล่องหรือถุง อย่างละเอียดและเชื่อถือได้และเน้นความสะอาดในกระบวนการผลิต มีค่าใช้จ่ายต่อคนต่อครั้ง ประมาณ 200-300บาท ความถี่ในการเลือกซื้ออาหาร 2-3 วันต่อสัปดาห์ ในด้านทัศนคติ กิจกรรม ของกลุ่มผู้ที่เคยรับประทานและรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพต่อนั้น มีความห่วงใยในสุขภาพ ตนเองมาก และโดยส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มคนที่ออกกาลังกายและเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพเป็น หลัก มีการรับประทานอาหารตามร้านอาหารเพียง 1-2 ครั้งต่อเดือน และสาเหตุที่เลือกรับประทาน อาหารเพื่อสุขภาพนั้น เนื่องจากต้องการมีสุขภาพที่แข็งแรงเป็นอันดับแรกและตามมาด้วยต้องการ ลดน้าหนักความสนใจ ความคิดเห็นของผู้ที่เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่องนั้น จากเหตุผลแรกที่ว่า เป้าหมายในชีวิตคือการมีสุขภาพกายและจิตที่ดีจากการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพที่ช่วยให้รูปร่างดี ผลการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่า เพศ อายุ อาชีพ ลักษณะที่อยู่อาศัย สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะ ลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลด้านสถานภาพและอาชีพไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานครในระดับสูง รูปแบบ การดาเนินชีวิตด้านกิจกรรม ความสนใจ ทัศนคติและความคิดเห็นมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรม การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 5. กิตติกรรมประกาศ สารนิพนธ์ฉบับนี้ได้เสร็จลุล่วงด้วยความอนุเคราะห์จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ชาวงษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าอิสระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ชาวงษ์ รวมถึง ผู้เข้าร่วมการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าอิสระ อาจารย์ ดร.ลลิตา จันทรวงศ์ไพศาล ที่ได้เสียสละเวลา ให้คาปรึกษาด้านวิชาการตรวจคุณภาพเครื่องมือวิจัยตลอดจนการให้คาแนะนาแก้ไขข้อบกพร่องทา ให้การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัยข้อกราบขอบพระคุณคณาจารย์ด้วยความเคารพ อย่างสูง ขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ ทุกท่านที่อานวยความสะดวก และให้คาแนะนาที่ดีตลอดมา รวมถึงเพื่อนๆทั้งในและนอกหลักสูตรรวมทั้งญาติมิตร ซึ่งได้ให้ความ ช่วยเหลือในการเก็บข้อมูลและคาแนะนาเกี่ยวกับธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพและความรู้ในการวิจัย อัน ทาให้การวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ท้ายสุดนี้ คุณงามความดีอันเกิดจากสารนิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอน้อมบูชาคุณบิดามารดา และบูรพคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชา อบรม สั่งสอน ข้าพเจ้า จนกระทั่งประสบ ผลสาเร็จในวันนี้
  • 6. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ …………….………………………………..…………………………………………... ง กิตติกรรมประกาศ …………………………….………………..…………………………......…... ฉ สารบัญ ………………………………..…………………………………..………………….……. ช บทที่ 1.บทนา 1.1 ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย ………………….……………………..…. 1 1.2 คาถามในกาวิจัย …………………………………………....……………………….. 4 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ……………………….……..……..…………………… 5 1.4 ประโยชน์ที่ใช้ในการศึกษา …………………..………………………….………….. 5 1.5 ขอบเขตการศึกษา …………………………………………..……………………..... 6 1.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล …………………………………….……………………..….. 8 1.7 กรอบแนวคิดการวิจัย ………………………………………………….……………... 9 1.8 นิยามศัพท์ …………………………………………..…….…………………………... 9 1.9 สมมุติฐาน ………………………………………………………….…………..……. 11 2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ……………….………..…………………………... 13 3. ระเบียบวิธีการศึกษา 3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่างประชากร ..…………………………….…... 18 3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ………………………………………..………………..… 19 3.2.1 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ……..……………………..…..….. 19 3.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย …………………………………….………..…. 20 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ……………..……………………………………..….…….... 22 3.4 การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล ……..…………..………………………….......... 22 3.5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล …..…………………………….……..………..….. 23
  • 7. ซ สารบัญ (ต่อ) หน้า 4. ผลการศึกษา 4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์และแปรผลข้อมูล …………….…..……………. 24 4.2 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ……………………...……………………… 24 ส่วนที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ………...…………... 25 ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ………..…….. 29 ส่วนที่ 3 เกี่ยวกับรูปแบบการดาเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพ ……………………………………………………..…… 30 ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ .………… 32 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สังเขปความมุ่งหมายสมมติฐาน และวิธีดาเนินการวิจัย…..….. 41 5.2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า………………………………………. 42 5.3 ผลการทดลองสมมติฐาน………………………………………. 42 5.4 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า……………………………..…… 47 5.5 ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป……..………………….... 49 บรรณนานุกรม………………………………………………..…………………….. 50 ภาคผนวก…………………………………………………………………..……….. 52 ก.แบบสอบถาม……………………………………………………………..... 53 ประวัติผู้ศึกษา……………………………………..………………………………... 63
  • 8. บทที่ 1 บทนา 1.1 ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย การบริโภคอาหารนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการดาเนินชีวิตยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะผู้ ที่มีอายุสูงขึ้นเรื่อยๆนั้นจะให้ความสาคัญกับเรื่องการบริโภคอาหารมากที่สุดเป็นหลัก อาหารที่ ผู้บริโภคทุกกลุ่มวัยรับประทานเข้าไปนั้นจะต้องมีคุณภาพและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และยัง ต้องมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสาคัญกับ อาหารและสุขภาพมากขึ้น โดยทั่วโลกหันมาให้ความสาคัญกับสุขภาพกันมากขึ้น เนื่องจาก สุขภาพที่ดี ส่งผลต่อการพัฒนาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะด้านความคิด สติปัญญา การศึกษาหรือ การทางาน การรักษาสุขภาพทาได้หลายทาง เช่น การออกกาลังกาย การตรวจสุขภาพอย่าง สม่าเสมอ รวมถึงการ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ซึ่งในปัจจุบันผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ ได้รับการวิจัยและพัฒนา ให้มีความหลากหลายและตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค มากขึ้น ในรายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557 ระบุว่า โรคอ้วนทาให้เป็นสาเหตุเจ็บป่วยได้ง่ายทา ให้โรคภัยต่างๆตามมา ความอ้วนสามารถทาให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเข้ามาได้หลายโรคพร้อม กัน ได้แก่ ไขมันภายในเลือดมีปริมาณมาก โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน อัมพาตอัมพฤกษ์ โรคหัวใจ และยังเป็นต้นเหตุของโรคมะเร็ง โดยกองทุนวิจัยมะเร็งโลกโดยคนอ้วนมีโอกาสเป็น โรคเหล่านี้มากกว่าปกติ 2-3 เท่า สาเหตุของโรคมะเร็งร้อยละ 24 เกิดมาจากความอ้วน นอกจากนี้ ความอ้วนยังส่งผลระยะยาวต่อข้อเข่า ทาให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วเนื่องจากเข่ารับน้าหนัก ตัวไม่ไหว เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย โดยองค์กรอนามัยโลก (WHO) คาดการณ์ว่า ในปี 2558 ทั่ว โลกจะมีคนที่มีน้าหนักเกินมาตรฐานถึง 2,300 ล้านคน ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง ต่างๆกว่า 2.8 ล้านคน ประเทศไทยในยุคปัจจุบันภาวะน้าหนักเกินและโรคอ้วนเกิดขึ้นมาก โดยเฉพาะการไม่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและการรับประทานอาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
  • 9. 2 เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ อาหารที่ไม่มีประโยชน์หรืออาหารขยะ น้าอัดลมต่างๆและอาหารที่ ขาดโภชนาการ รวมถึงการเคลื่อนไหวร่างกายในระหว่างวันที่น้อยจนเกินไป เช่น นั่งอยู่กับโต๊ะ ทางานเป็นส่วนมาก ทาให้มีสุขภาพที่ไม่แข็งแรงสมบูรณ์เพราะพฤติกรรมการบริโภคนั้นเป็น ส่วนสาคัญอย่างมาก ดังนั้น การดูแลร่างกายให้แข็งแรงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเป็นสิ่งสาคัญมากและ ผู้บริโภคเริ่มให้ตระหนักถึงความสาคัญเพิ่มขึ้นในการดูแลตนเองให้ร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ (สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส, 2557) เนื่องจากการรับประทานอาหาร ของคนไทยนั้นยังคงเน้นเรื่องรสชาติมากกว่าเป็นหลักจึงอยากให้ทราบประโยชน์หรือคุณค่าทาง สารอาหารเพื่อสุขภาพว่ามีประโยชน์อย่างไร อาหารที่ส่งผลประโยชน์ต่อร่างกายและช่วยลด อัตราการเป็นโรคต่างๆ เป็นประโยชน์ที่ก่อให้เกิดวิสัยทัศน์ของผู้บริโภค คุณประโยชน์ต่างๆ จากอาหารเพื่อสุขภาพ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพเป็นวิธีรับประทานอย่างหนึ่งซึ่งยึด หลักให้คล้ายคลึงกับธรรมชาติ ซึ่งเป็นวิถีที่มาจากฝั่งตะวันตก อาหารเพื่อสุขภาพเป็นวิถีการ บริโภคอาหารที่เน้นความสดใหม่อยู่เสมอซึ่งก็มีหลายรูปแบบด้วยกัน โดยนิยมแบบไม่แปรรูป ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องเป็นวัตถุดิบโดยตรงจากธรรมชาติให้มากที่สุดที่ไม่ผ่านการแปรรูปหรือปรุงแต่ง น้อย ใส่สี ใส่กลิ่นมากจนเกินไป การกินแบบเพื่อสุขภาพจะเน้นการหุงต้มให้น้อยที่สุด เช่น ผักที่ รับประทานสดได้ ผลไม้ เป็นต้น จาพวกเนื้อสัตว์จะเน้นแบบไม่ผ่านความร้อนสูงอย่างการนา อาหารมานึ่ง การย่างอาหารต่างๆหรือการนาวัตถุดิบเหล่านั้นมาผัดแต่ที่จะไม่นิยมคือการทอด ในน้ามัน ปรุงสุกใหม่และปรุงแต่งน้อยจะสัมพันธ์กับหลักการโภชนาการเป็นส่วนใหญ่ มีคน หลายประเภทเชื่อว่าการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพนั้นต้องทานอาหารจาพวกผักมากแต่การ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเป็นการทานให้ครบ 5 หมู่ตามสัดส่วนให้พอเหมาะต่อความต้องการ พลังงานในแต่ละวันร่างกายของตนเอง (อาณดี นิติธรรมยง, 2558) ทั้งนี้เพื่อนาไปสู่การบริโภค อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี การมีทัศนคติเกี่ยวกับอาหารคลีนฟู้ด ส่งผลทาให้การตัดสินใจ บริโภคอาหารคลีนฟู้ดมากขึ้นเพื่อสุขภาพของตนเอง รวมถึงจากรายงานตลาดอาหารโลกปี 2558 ระบุว่า ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจการบริโภคอาหารเพื่อรักษาสัดส่วนให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสมกันมากขึ้นด้วยอิทธิพลจากรายการอาหารเพื่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการสารวจอาหาร และการชิมอาหารจากทั่วโลกหรือกระตุ้นให้ผู้บริโภคทดลองบริโภคหรือปรุงแต่งอาหา รับประทานด้วยตนเองที่บ้าน โดยเน้นวัตถุดิบที่เกิดมาจากธรรมชาติ เน้นอาหารที่ให้โปรตีนสูง และคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ลดปริมาณความหวานและความเค็มที่นามาปรุงแต่งภายในอาหาร ทานอาหารที่อุดมไปด้วยไขมันดี และต้องมีส่วนช่วยในระบบทางเดินอาหาร แนวโน้มที่สาคัญ ของอาหารและสุขภาพปี 2558 1.เน้นการควบคุมน้าหนัก 2.มีประโยชน์จากธรรมชาติ 3.มี โปรตีนสูง 4.มีคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน 5.น้ าตาลน้อย 6.มีส่วนช่วยในระบบขับถ่าย ข้อมูลจาก
  • 10. 3 สมาคมค้นคว้าในสหรัฐอเมริการะบุว่าในปี 2557 ชาวอเมริกันกว่า 60% ส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่ม ผู้บริโภคอายุ 15-30 ปีและผู้บริโภคอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อ หันมานิยมรับประทานอาหารประเภทสเปเชี่ยลตี้ ฟู๊ ด (Specialty Food) หรือ อาหารเพื่อสุขภาพ รูปแบบคลีนฟู๊ ด (Clean Food) นั้นคืออาหารที่มีปริมาณการผลิตโดยตระหนักถึงวัตถุดิบและ เครื่องปรุงที่มีคุณภาพสูงมากและเป็นอาหารที่ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพมากกว่าอาหารทั่วไป ทา ให้มูลค่าตลาดอาหารที่ตระหนักถึงวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงมีมูลค่าสูงถึง 88, 300 ล้านบาทและ คาดว่า จะเติบโตขึ้นอีก เมื่อมองในส่วนของประชาชนไทยส่วนใหญ่เป็นคนรักสุขภาพและมีวิธี ดูแลตนเอง การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ทางด้านร่างกาย โภชนาการทางด้านสุขภาพ อาหารที่พบว่ามีไขมันต่าเพื่อสุขภาพที่ดีต่อร่างกายหลีกเลี่ยงโรคต่างๆและมีมุมมองว่าอาหาร เพื่อสุขภาพสามารถทาให้น้าหนักคงที่ แล้วยังส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงและห่างจากโรคต่างๆ ซึ่ง คนไทยถือว่าการไม่มีโรคนั้นเป็นลาภอันประเสริฐ การเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ ประชาชนนิยมเช่น อาหารเจ อาหารมังสวิรัติ อาหารชีวจิต อาหารคลีนฟู๊ ด และสมุนไพรต่างๆ นับเป็นโภชนาการที่ส่งเสริมสุขภาพให้ดีขึ้น และเป็นที่นิยมของผู้บริโภคในขณะนี้ อีกทั้งธุรกิจ ร้านที่จาหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพยังคงขยายตัวต่อเนื่องมากขึ้น (สุขหิบ, 2554) เป็นผลให้ รูปแบบการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงจากอดีต จึงส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เพิ่มขึ้น ทาให้การขายอาหารเพื่อสุขภาพเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตค่อนข้างดีความ ต้องการทางตลาดก็เพิ่มมาก ขึ้นทาให้หลักในการเลือกอาหารก็เพิ่มมากขึ้น จึงเป็นการนาส่วน ประสมทางการตลาดเข้ามา จัดการธุรกิจ ดังนั้น ผู้บริโภคควรปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารจาก เดิมมาบริโภคคลีนฟู๊ ด ควรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้บริโภคและทราบถึงส่วนประสมทางการตลาด คือทราบถึงช่องทางการจัดจาหน่ายการเข้าถึงในการซื้อผลิตภัณฑ์หรือสินค้าได้สะดวก การ ทราบถึงวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม และการจัดโปรโมชั่นสาหรับชักจูงผู้บริโภคให้หันมา บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ตลอดจนนาไปสู่การตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ทั้งนี้แนวโน้มในประเทศไทยที่เป็นความสาคัญหลักคือ ความ สวยงามในการมีผิวพรรณและมีรูปร่างที่ดีและยังคงมีความสาคัญอย่างต่อเนื่อง แต่ผู้บริโภคก็ มักจะมีพฤติกรรมที่ตรงข้ามมักจะบริโภคอาหารที่ไม่ได้ส่งผลดีต่อสุขภาพหรือตามใจปาก วัตถุดิบผลิตภัณฑ์ของอาหารเพื่อสุขภาพ จึงต้องมีรสชาติที่ดีไม่จืดและต้องไม่ทาลายสุขภาพ และมีประโยชน์ที่ดีต่อผิวพรรณ และช่วยให้รูปร่างดีจะเป็นวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคมี ความสนใจมากขึ้นอยู่เสมอ (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2557) จากข้อมูลดังกล่าวการลดความ เสี่ยงจากโรค เป็นอีกทางเลือกของกลุ่มผู้บริโภคที่จะทาให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับใน ปัจจุบันที่ผู้บริโภคหันมาดูแลเอาใจใส่ในสุขภาพของตนเองมากขึ้น โดยมีการให้ทัศนคติที่ดีต่อ
  • 11. 4 ผู้บริโภคให้ทราบถึงประโยชน์ของการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ รวมถึงการสนองความ ต้องการของผู้บริโภคให้เกิดประโยชน์มากที่สุดในส่วนของส่วนประสมการตลาดโดยมีการขยาย ช่องทางการจัดจาหน่าย การให้โปรโมชั่น ความคุ้มค่าหรือเหมาะสมด้านราคาและตัวผลิตภัณฑ์ ของอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อเป็นการขยายกลุ่มผู้บริโภค และปัจจุบันอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ อาหารคลีนก็มีการพัฒนา คือการเพิ่มรูปแบบ รายการอาหารและมีรสชาติที่ถูกใจผู้บริโภค เพื่อ สนองให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุดและยังมีการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ เพิ่มขึ้นจากเดิม ซึ่งก็ตอบสนองผู้บริโภคทั้งด้านความทันสมัย ความสะดวกสบาย ซึ่งเหมาะแก่ สังคมไทยในปัจจุบันเป็นทางเลือกใหม่และตอบสนองรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริโภคที่ไม่มี เวลาดูแลสุขภาพตนเองแบบธรรมชาติ การใช้จ่ายบริโภคเพื่อแลกกับสุขภาพที่ดีด้วยอาหาร ส่งผลให้การตัดสินใจบริโภคอาหารคลีนฟู้ดเกิดขึ้นอย่างมาก ทั้งนี้ กรมอนามัย จึงเชิญชวนให้ดูแลสุขภาพ เพราะในกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายที่ สาคัญของประเทศไทย 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจ อุบัติเหตุ และการเป็นพิษ มะเร็งทุกชนิด ความดันเลือดสูง และโรคหลอดเลือดสมอง และการบาดเจ็บจากการฆ่าตัวตาย ถูกฆ่าตายฯ ตามลาดับ จานวนผู้ตายด้วยสาเหตุดังกล่าว ทั้งประเทศ มีจานวนเพิ่มขึ้นมาตลอดโดยกลุ่มวัย ทางานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15-60 ปี ในปี พ.ศ.2540 ประเทศไทยมีประชากรในวัย นี้ถึง 38.97 ล้านคน จานวนการตายของประชากรในกลุ่มนี้ จะสูงมากในช่วงอายุ 25-29 ปี (ร้อย ละ 6.7) รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 30-34 ปี (ร้อยละ 6.5) และในวัย 55-59 ปี (ร้อยละ 6.2) โดยที่ เพศชายเสียชีวิตมากกว่าเพศหญิงประมาณ 3 เท่า ขณะนี้มีแนวโน้มการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุ ของภาวะ การเจ็บป่วยและการตายได้ ดังนั้น ผู้ทาวิจัยจึงทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของคนกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งด้านผู้บริโภค ธุรกิจ เป็นต้น นาผลไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจให้ตรงกับความ ต้องการของผู้บริโภคอาหารในยุคปัจจุบันรวมถึงการรักษาสุขภาพของผู้บริโภคในกระแส ปัจจุบัน 1.2 คาถามในการวิจัย 1. กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานครมีพฤติกรรมการบริโภคคลีนฟู้ดอย่างไร 2. ลักษณะของแต่ละบุคคลในกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานครมีผลต่อพฤติกรรมบริโภค อาหารคลีนฟู้ดหรือไม่
  • 12. 5 3. รูปแบบการดาเนินชีวิตของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ บริโภคอาหารคลีนฟู้ดหรือไม่ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานใน เขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ รูปแบบคลีนในกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลกลุ่มวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีผลต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 1.4 ประโยชน์ที่ใช้ในการศึกษา ผลจากการศึกษามีประโยชน์ต่อฝ่ายที่เกี่ยวข้องดังนี้ คือ 1. ทราบถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มความพึง พอใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ รูปแบบอาหารคลีนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ประกอบการทางด้านโภชนาการนาไปพิจารณาเป็นแนวทางพัฒนา ต่อ ยอดต่อธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 3. ส่งเสริมให้ผู้บริโภคดูแลสุขภาพรวมถึงการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเพื่อลด อัตราการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ อย่างโรคอ้วนที่จะนามาซึ่งโรคอื่นๆที่จะแทรกซ้อนตามมา 4. สามารถนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนด้านการตลาด ของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน รวมถึงเป็นประโยชน์ในการค้นคว้า และวิจัยเชิงวิชาการในโอกาสต่อไป 1.5 ขอบเขตการศึกษา ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณสาหรับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเลือกใช้วิธีการสารวจด้วย แบบสอบถามที่สร้างขึ้นและได้กาหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังนี้ 1. ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นคนอายุ 15-60 ปี กลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
  • 13. 6 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบบง่าย (Simple Random Sampling) ใช้การกาหนดขนาดที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และระดับความ คลาดเคลื่อน ± 5% สูตร n=N/(1+〖Ne〗^2 ) เมื่อ n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N แทน ขนาดของประชากร e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง ดังนั้น จึงใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คนซึ่งจานวนนี้ได้จากการใช้ตารางสาเร็จรูปของYamane (1967) 3. ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ คือ 3.1 ลักษณะส่วนบุคคล ประกอบด้วย 3.1.1 เพศ 3.1.2 อายุ 3.1.3 ลักษณะที่อยู่อาศัย 3.1.4 ระดับการศึกษา 3.1.5 อาชีพ 3.1.6 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3.2 รูปแบบการดาเนินชีวิต ประกอบด้วย 3.2.1 กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 3.2.2 ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 3.2.3 ความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน
  • 14. 7 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่ม คนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 4. สถานที่ศึกษาที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ บริษัทเอกชน หน่วยงานรัฐบาล สถานศึกษา ศูนย์การค้า 5. ระยะเวลาในการศึกษา เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 ถึงเดือนเมษายน 2561 6. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการนาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม จานวน 400 ชุด มา ตรวจสอบความสมบูรณ์และคามถูกต้อง จากนั้นนาข้อมูลทั้งหมดมาทาการวิเคราะห์ข้อมูลและ ประมวลผลโดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS ซึ่งการแบ่งส่วนแบบสอบถาม ดังนี้ ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคล เป็นลักษณะแบบสอบถามปลายปิด ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน เป็นลักษณะ แบบสอบถามปลายปิด ส่วนที่ 3 เกี่ยวกับรูปแบบการดาเนินชีวิต เป็นลักษณะแบบสอบถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 6.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ 6.1.1 ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ(Percentage) ใช้วิเคราะห์สาหรับข้อมูลบุคคล และพฤติกรรมของกลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 6.1.2 ค่าเฉลี่ย(Mean)และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ใช้สาหรับ วิเคราะห์รูปแบบการดาเนินชีวิต(ความสนใจ กิจกรรม ความคิดเห็น)ที่สนใจเกี่ยวกับอาหารเพื่อ สุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพนามาซึ่งพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 6.2 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน ใช้ค่าไค-สแควร์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มคนวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
  • 15. 8 1.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่สาคัญ 2 แหล่ง คือ 1.แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data)โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอย่าง400 คน โดยการส่งแบบสอบถามพร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลและรอเก็บแบบสอบถามด้วย ตนเอง 2.แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องใน อดีต วารสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ เอกสารทางวิชาการและข้อมูลที่เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
  • 16. 9 1.7 กรอบแนวคิดการวิจัย (ตัวแปรตาม) ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 1.8 นิยามศัพท์ 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน หมายถึงการกระทาของ ผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับการเลือกสรร การตัดสินใจและการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหาร คลีน ประกอบด้วยจุดประสงค์ในการบริโภคอาหารคลีนฟู้ด โอกาสในการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ความถี่ในการบริโภคอาหาเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ระยะเวลาในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน มื้ออาหารในการบริโภค พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพรูปแบบอาหารคลีน รูปแบบการดาเนินชีวิต (ตัวแปรอิสระ) 1. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพ รูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพ 2. ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารอาหาร เพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล สุขภาพ 3. ความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับอาหารอาหาร เพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล สุขภาพ ลักษณะส่วนบุคคล (ตัวแปรอิสระ) - เพศ - ลักษณะการอยู่อาศัย - อายุ - ระดับการศึกษา - อาชีพ - รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
  • 17. 10 อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ค่าใช้จ่ายต่อมื้อในการบริโภคอาหาเพื่อสุขภาพ รูปแบบอาหารคลีน สถานที่ในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและบุคคล ที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน 2. รูปแบบการดาเนินชีวิต หมายถึง ปัจจัยด้านตัวบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ ประกอบด้วย 1).กิจกรรม 2).ความสนใจ 3).ความเห็น 3. อาหารคลีน (Clean Food) มีความหมายอยู่ 2 นัยยะ คือ “อาหารที่ไม่ปนเปื้อน” หมายถึง กินเข้าไปแล้ว มีประโยชน์และไม่เป็นพิษต่อร่างกาย ซึ่งการปนเปื้อนก็มีอยู่ 3 ทางด้วยกัน คือ “ปนเปื้อนเชื้อโรค” มีเชื้อจุลินทรีย์เข้าไปปะปนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่ไม่สุก อาหารที่ค้างคืน มีแมลงวันตอม ปรุงไม่สะอาด ก็นามาซึ่งอาการท้องเดินได้ ต่อมา “ปนเปื้อน จากพยาธิ” เช่น การกินอาหารที่สุกๆ ดิบๆ การกินอาหารที่ไม่ระมัดระวังเรื่องความสะอาดก็ มีการปนเปื้อนพยาธิได้ และสุดท้าย “ปนเปื้อนสารเคมี” เช่น กินผักที่ไม่ได้ล้างหรือล้างไม่ สะอาด มียาฆ่าแมลงปะปนอยู่ อาหารที่ใส่สีแต่ไม่ใช่สีผสมอาหาร อาหารที่มีพิษ เช่น เห็ด พิษ น้ามันทอดซ้า ถั่วลิสงที่มีอะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) เป็นต้น ส่วนนัยยะที่สอง คือ "อาหารที่ถูกหลักโภชนาการ" อาจารย์จึงอยากจะยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า การตั้งคาถามว่าเรา จะกินอาหารอย่างไรให้ครบ 5 หมู่ และต้องกินให้ได้สัดส่วน ปริมาณที่เพียงพอไม่มากน้อย จนเกินไป รวมถึงมีความหลากหลาย เลี่ยงอาหารหวานจัด เค็มจัด มันจัด สุดท้ายกินผัก ผลไม้ให้มากซึ่งทั้งหมดทั้งปวงคือ การกินอาหารให้ถูกหลักโภชนาการในแบบที่ตรงกับคาว่า คลีนฟู้ด เพราะฉะนั้นคาว่าคลีนฟู้ดก็คือ คาว่า อาหารปลอดภัยไม่ปนเปื้อน อาหารถูกหลัก โภชนาการนั่นเอง” 4. กิจกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแลสุขภาพ ได้แก่ การมีสุขภาพอนามัยในการขับถ่ายเป็นปกติทุกวัน รับประทานอาหารครบวันละ3มื้อ รับประทานผักและผลไม้เป็นประจา เป็นต้น 5. ความสนใจ ความสนใจที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนและการดูแล สุขภาพที่ผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนสนใจ ได้แก่ เป้าหมายในการ ดารงชีวิต โดยการมีสุขภาพกายและใจที่ดี ต้องการมีอายุยืนยาวและสนใจในสุขภาพของ สมาชิกในครอบครัว เป็นต้น 6. ความคิดเห็น ความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน และการดูแล สุขภาพที่ผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนสนใจ ได้แก่ เป้าหมายในการ
  • 18. 11 ดารงชีวิตโดยการมีสุขภาพกายและใจที่ดีโดยคิดว่าการบริโภคอาหารคลีนมีส่วนช่วยให้ รูปร่างดี ควบคุมน้าหนักได้หรือคิดว่าการรับประทานอาหารคลีนสามารถช่วยล้างพิษใน ร่างกายได้ เป็นต้น 7. กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ปฏิกิริยาที่แสดงออกถึงการส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การตรวจ สุขภาพประจาปี การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การททานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เป็นต้น 8. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ ทัศนะในการมองตนเองและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของบุคคล ต่อสิ่งเร้าที่เกิดขึ้นที่จะเกิดขึ้นอันส่งผลต่อสุขภาพทั้งในด้านบวกและด้านลบ ได้แก่ การมอง ว่าสุขภาพจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและสิ่งที่เรารับประทาน เป็นต้น 9. กลุ่มวัยทางาน กลุ่มวัยทางานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15-60 ปี สาหรับกลุ่ม ประชากรสตรีในช่วงวัยนี้ ยังได้แบ่งออกเป็น กลุ่มวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี และกลุ่มวัย หลังเจริญพันธุ์ อายุ 45-59 ปี ซึ่งจะต้องมีการดูแลส่งเสริมสุขภาพที่แตกต่างกัน ใน รายละเอียด อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสรีระร่างกาย ตามวัย โดยเฉพาะการส่งเสริม สุขภาพประชากรกลุ่มนี้ ก็เพื่อให้ประชากรวัยทางานมีความรู้ และพฤติกรรมอนามัยที่ ถูกต้อง ทั้งในครอบครัว ชุมชน และในสถานประกอบการ มีสุขภาพดีตามมาตรฐาน และมี พฤติกรรมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง สตรีมีบัตรเมื่ออายุไม่ต่ากว่า 20 ปี การรับ บริการวางแผนครอบครัวตามความเหมาะสม ได้แก่ ห่วงอนามัย ยาเม็ดคุมกาเนิด การทา หมันชาย / หญิง ยาฉีดคุมกาเนิด ยาฝังคุมกาเนิด และถุงยางอนามัย เป็นต้น รวมทั้งการ ส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น ได้แก่ ภาวะโภชนาการ การออกกาลังกาย และการดูแลสุขภาพฟัน เป็นต้น 1.9 สมมุติฐาน 1. เพศมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของ กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 2. อายุมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีนของ กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 3. ลักษณะการอยู่อาศัยมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ อาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
  • 19. 12 4. ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหาร คลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 5. อาชีพมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน ของ กลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบ อาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 7. รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เพื่อสุขภาพ รูปแบบอาหารคลีนของกลุ่มวัยทางานในกรุงเทพมหานคร
  • 20. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดด้านการตลาด Kotler (2009, p. 24) แบ่งระดับแนวความคิดและทฤษฎี คือ การตลาดแบบดั้งเดิม (Traditional Marketing) โดยจะมีวัตถุประสงค์ คือ การสร้างความนึกคิดในแบรนด์ของสินค้า การตลาดแบบดั้งเดิมจะให้ความสาคัญอย่างมากกับส่วนประสมการตลาด อดุลย์ จาตุรงคกุล (2543, หน้า 26) กล่าวว่า ส่วนสาคัญของของส่วนประสมทาง การตลาดแบบ 4P’s ว่าเป็นตัวกระตุ้นหรือแรงจูงใจในตลาดที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2552, หน้า 80-81) กล่าวว่า ส่วนประสมการตลาด หมายถึง มีตัว แปรที่ควบคุมทางการตลาดได้ ทางบริษัทจะใช้การประสมกันเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยการใช้เครื่องมือต่างๆ แนวคิดด้านรูปแบบการดาเนินชีวิต ศิริวรรณ เสรีรัตน (2541, หน้า135) รูปแบบการดาเนินชีวิต(Lifestyles) หมายถึงการ ดาเนินชีวิตในโลกโดยการแสดงออกในรูปของกิจกรรม(Activities)ความสนใจ(Interests)และ ความคิดเห็น(Opinion)Hawkins, Best &Coney( 2001, p. 435)รูปแบบการดารงชีวิตขึ้นกับ วัฒนธรรมชั้นของสังคมและกลุ่มอาชีพของแต่ละบุคคล นักการตลาดเชื่อว่าการเลือกสิ่งของวัตถุ อยู่กับค่านิยมและรูปแบบการดารงชีวิตของมนุษย์โดยรูปแบบการดารงชีวิตเป็นการกาหนด ขึ้นมาโดยเกิดจากประสบการณ์ในอดีตลักษณะของในตัวบุคคลโดยมาแต่กาเนิดและสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นจะส่งผลกับพฤติกรรมผู้บริโภค กล่าวได้ดังนี้คือ รูปแบบการดาเนินชีวิตจะขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมค่านิยม สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมรวมถึงวัฒนธรรมย่อย ชนชั้นใน สังคม กลุ่มอ้างอิง ครอบครัว อารมณ์และบุคลิกภาพ
  • 21. 14 แนวคิดด้านการตัดสินใจ Barnard (2007) กล่าวว่า การตัดสินใจเป็นการลดทางเลือกจากหลายๆ ขั้นตอนให้ลง มาเหลือเพียงทางเดียว Simon (1960, p.1) กล่าว่า เป็นกระบวนการหาแนวทางในการตัดสินใจ หาทางเลือกที่ เหมาะและเกิดขึ้นได้ Kotler (1999 อ้างใน ศิริวรรณ เสรีรัตน์, 2541, หน้า 124 – 125) พฤติกรรมผู้บริโภค หมายถึง การจัดหาทางตรงถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการ รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจ และ เกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Krutulyte, Grunert, Scholderer, Lähteenmäki, Hagemann, Elgaard, et al. (2011)ศึกษาในเรื่องการรับรู้แบบของส่วนประสมแตกต่างกันของผู้ให้บริการและส่วนประสมการ ทางานและผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อ มีวัตถุประสงค์ในการแยกว่าสิ่งใดคืออาหารเพื่อสุขภาพ ในการตอบสนองและยอมรับในยุคปัจจุบันของผู้บริโภค เช่นผลิตภัณฑ์อย่าง ธัญพืช สลัด แซลมอน อาหารเช้าสาหรับเด็กแรกเกิด ข้าวกล้อง และข้าวไรซ์เบอรี่ ความต้องการซื้ออาหารที่ ประกอบด้วยวัตถุเจือปนต่างๆได้มีการขยายความเหมาะสมในการรับรู้ถึงวัตถุเจือปนแต่ละชนิด เช่นเดียวกับการนึกถึงสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคการตอบสนองที่ส่งผลในอาหารเพื่อสุขภาพซึ่ง อ้างอิงจากแบบสอบถามผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในประเทศเดนมาร์กพบว่ารับรู้ถึงความ เหมาะสมของสิ่งที่ผสมสนานอยู่ในอาหารเกี่ยวข้องกันอย่างยิ่งกับการตัดสินใจซื้อและยังได้รับ อิทธิพลจากการตอบสนองต่ออาหารเพื่อสุขภาพการวิจัยได้สร้างแบบทดสอบและทาการแจก แบบสอบถามตัวอย่างแบบสุ่มในประเทศเดนมาร์กจานวน1,750คน การันต์ พุกชัยวานิชย์ (2556) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อและรูปแบบการ ดาเนินชีวิตที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแคศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงคุณลักษณะด้าน ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแครวมทั้งศึกษาพฤติกรรมการการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อส่วนประสม การตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแค ตลอดจน ศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตที่มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเล
  • 22. 15 แช่แข็งยี่ห้อ พรานทะเล ในเขตบางแคผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญต่อปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็งยี่ห้อพรานทะเล โดยรวมอยู่ ในระดับมากโดยผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุดในด้านบรรจุภัณฑ์รองลงมาได้แก่ด้าน ผลิตภัณฑ์และให้ความสาคัญน้อยที่สุดในด้านการส่งเสริมการตลาด ส่วนรูปแบบการดาเนินชีวิต ของผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญต่อรูปแบบการดาเนินชีวิต โดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุดในด้านความคิดเห็นรองลงมาได้แก่ด้านความสนใจและให้ ความสาคัญน้อยที่สุดในด้านกิจกรรมนอกจากนี้ยังพบว่ารูปแบบการดาเนินชีวิต โดยรวมของ ผู้บริโภคแตกต่างกัน มีผลต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็ง ยี่ห้อ พรานทะเล โดยรวมแตกต่างกัน พรพรรณ ป้อมสุข (2554) ทาการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพและปัจจัยที่สัมพันธ์กันในกลุ่มประชาชนวัยทางานในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีผลพบว่า ตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีแสดงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพคล้ายกันซึ่งมีระดับของพฤติกรรมอยู่ในระดับพอใช้และผลการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่ม ตัวอย่างคือ ปัจจัยด้านชีวะสังคม ได้แก่ เพศ (x2 = 10.007) และอายุ (x2 = 12.502) มี ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ < .05 ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ความรู้ (r = .250) ทัศนคติ(r = .327) มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ < .05 ปัจจัย เอื้ออานวยด้านการรับรู้ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกาบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (r = .331) และ ปัจจัยเสริมด้านแรงสนับสนุนจากบุคคล (r = .297) นั้นมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ<.05 ดังนั้น ในการส่งเสริมพฤติกรรม การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพควรให้ความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง โดยส่งเสริมให้ครอบครัวมี ส่วนร่วม และมีความสอดคล้องกับ รูปแบบการดาเนินชีวิต ซึ่งจะสามารถทาให้ประชาชนปฏิบัติ พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและยั่งยืน บงกช รัตนปรีดากุล และ ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี (2553) ทาการศึกษาเรื่อง อิทธิพลของ ทัศนคติและบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์ของ ผู้บริโภควัยทางาน ใช้วิธีการวิจัยแสวงหาโดยผู้ตอบแบบสอบถามเป็นวัยทางานตอนต้นอยู่ ในช่วงอายุระหว่าง 20-29 ปีในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์www.pantipmarket.com เป็นเว็บไซต์ที่ถูกเลือกใช้มากที่สุด เครื่องสาอาง คือ สินค้าที่มีการซื้อผ่านเว็บไซด์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นอันดับหนึ่ง โดยซื้อครั้งละ 500 – 1,000
  • 23. 16 บาทและซื้อสัปดาห์ละครั้ง เหตุผลที่เลือกซื้อสินค้าและบริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะ การเดินทางที่ไม่ต้องออกไปซื้อสินค้าที่ร้านค้า สรุปได้ว่า ทัศนคติและบรรทัดฐานทางสังคมมี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์ของผู้บริโภควัยทางานตอนต้น อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นัยนา สุทิน(2555) ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติของ ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร โดยผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จาการวิจัย พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ภูมิลาเนาเดิม ลักษณะการอยู่อาศัย การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติของ ผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ด้านอายุมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติ ของผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ด้านค่าใช้จ่ายในการบริโภคอาหารมังสวิรัติในระดับสูงโดย ผู้บริโภคที่มีช่วงอายุ25-34ปีร้อยละ43.3 ผู้บริโภคที่มีช่วงอายุ15-24ปี ร้อยละ 3.0และผู้บริโภคที่ มีช่วงอายุ35-44ปี ร้อยละ9.0รวม 56.3 ด้านระยะเวลาในการบริโภคอาหารมังสวิรัติในระดับสูง มาก ผู้ตอบแบบสอบถามมีการบริโภคอาหรมังสวิรัติสูงสุดเป็นระยะเวลา1-3ปี รวมเป็นร้อยละ 41.8 ด้านระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติ โดยผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ร้อยละ30.8 ผู้บริโภคในระดับ มัธยมศึกษา ร้อยละ 7.0และผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ4.0 รวม41.8 สรุปได้ว่าจากงานวิจัยพบว่า รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารมังสวิรัติ ณัฐณิช สุริยะฉาย (2558 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของประชากรวัยทางานของไทยและมาเลเซีย ผลวิจัยพบว่ากระแส อาหารเพื่อสุขภาพ ความต้องการรูปร่างและสุขภาพที่ดีทาให้ประชากรวัยทางานของไทยและ มาเลเซียได้ให้ความสนใจกับอาหารสุขภาพและมีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้นจาก เมื่อก่อน โดยผู้บริโภคส่วนมากจะสั่งซื้อผ่านร้านออนไลน์เพราะมีความสะดวกและรวดเร็วโดย ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่สาคัญ คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านทัศนคติที่สาคัญ คือ ประสบการณ์ และปัจจัยทางสังคมที่สาคัญ คือกลุ่มอ้างอิง โดยสิ่งที่แตกต่างคือปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดด้านโปรโมชั่นในมาเลเซียไม่สัมพันธ์ต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ธีรวีร์ วราธรไพบูลย์ (2557 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภค : อาหรนิยม บริโภคกับอาหารเพื่อสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันพฤติกรรมของการรับประทานอาหาร ของผู้บริโภคเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างมาก สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาการที่มีการนาอาหาร
  • 24. 17 ต่างประเทศเข้ามาเป็นจานวนมาก ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพนั้นพบว่าเมื่อ อายุของผู้บริโภคสูงขึ้น ผู้บริโภคมีเหตุผลมากขึ้นในการเลือกบริโภค โดยเลือกอาหารที่บริโภค แล้วสุขภาพแข็งแรงและส่งผลให้เลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอื่นๆตามา โดยเลือกซื้อจาก ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อที่ทาให้ผู้บริโภคมีความสะดวกมากที่สุด ธัญญลักษณ์ ทอนราช (2558) ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ คู่มือนี้เป็นการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเรื่องอาหาร รวมทั้งหลักการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ทั้งในด้านคุณภาพและ ปริมาณ ถือเป็นการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทาให้สามารถป้องกัน การเกิดโรคจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ทาให้สุขภาพแข็งแรงโดยไม่มีโรคแทรกซ้อน ได้
  • 25. บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา การวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบอาหารคลีน ในเขต กรุงเทพมหานคร” โดยมีเนื้อหาสาระสาคัญในการดาเนินการตามลาดับนี้ 3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การจัดทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่างประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่อยู่ในเขต กรุงเทพมหานครซึ่งไม่สามารถระบุจานวนที่แน่นอนได้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานศึกษาวิจัย คือ เป็นผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่อยู่ อายุ 15 ปี ขึ้นไปและอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งไม่สามารถระบุจานวนจานวนที่แน่นอนได้ เนื่องจากไม่สามารถทราบจานวนที่แน่นอนได้จึงกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการหาขนาด ตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (กัลยาวานิชย์บัญชา.2545:25-26) n=Z^2/〖4e〗^2 โดยแทนค่า n แทน จานวนสมาชิกตัวอย่าง Z แทน ระดับความเชื่อมั่นที่ผู้วิจัยกาหนดไว้
  • 26. 19 Z มีค่าเท่ากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% (ระดับ 0.05) e แทน สัดส่วนของความคาดคลาดที่จะยอมให้เกิดขึ้น ดังนั้น n=〖(Z)〗^2/(สารองแบบสอบถาม 〖(ความเชื่อมั่น)〗^2 )=x n= 〖(1.96)〗^2/(4 〖(0.05)〗^2 ) =384 ดังนั้น ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้จานวน 200 คนและเพื่อเป็นการป้องกัน ความผิดพลาดของแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์จึงมีการสารองไว้ 4 % ของกลุ่มตัวอย่างเป็น จานวน 8 คนรวมขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้ง 208 ตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling ) เพื่อเลือกพื้นที่ ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า(Quota Sampling) โดยการ กาหนดกลุ่มตัวอย่างจานวน 200 คน ขั้นตอนที่ 3 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความสะดวก(Convenience Sampling) โดยการแจกแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่างตามที่พักอาศัย สถานที่ทางาน หรือ ศูนย์การค้าในเขตการปกครอง และสถานศึกษาตามที่ได้เลือกไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนครบตาม จานวนที่กาหนดไว้ในขั้นตอนที่ 2 3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.2.1 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ดาเนินการสร้าง ดังนี้ 1.ศึกษาตารา เอกสาร บทความ ทฤษฎีหลักการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนด ขอบเขตการวิจัย และสร้างเครื่องมือในการวิจัยให้ครอบคลุมตามความมุ่งหมายการวิจัย