Se ha denunciado esta presentación.
Se está descargando tu SlideShare. ×

เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน

Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Cargando en…3
×

Eche un vistazo a continuación

1 de 34 Anuncio

เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน

Descargar para leer sin conexión

เศรษฐกิจโลกปี 2022 เผชิญความไม่แน่นอนต่อเนื่อง
ตั้งแต่เกิดการระบาดของสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron variant) ในไตรมาส 1 ทำให้หลายประเทศกลับมาล็อกดาวน์อีกครั้ง ปัญหาอุปทานคอขวดจึงคลี่คลายได้ช้า ตามด้วยสงครามรัสเซีย-ยูเครนซ้ำเติมปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลก ราคาพลังงานและโภคภัณฑ์โลกสูงขึ้นมาก ภาคธุรกิจต้องวางแผนโยกย้ายฐานการผลิตเพื่อสร้างความมั่นคงของห่วงโซ่อุปทาน รวมถึงปัญหาเงินเฟ้อทั่วโลกเร่งตัวสูงทำให้นโยบายการเงินโลกปรับตึงตัวเร็วมาก ซึ่งจะทำให้อุปสงค์โลกชะลอลงอีก สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้มีแนวโน้มจะทำให้เงินเฟ้อสูงกว่าเป้าหมายของธนาคารกลางต่อไปอีก 1-2 ปี กิจกรรมเศรษฐกิจชะลอลงเป็นวงกว้าง ภาคการผลิตปรับแย่ลง ความเชื่อมั่นภาคเอกชนปรับลดลงใกล้ระดับวิกฤตในอดีต ตัวเลขการจ้างงานเริ่มชะลอลง ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกมีโอกาสถดถอย (Recession) มากขึ้น บางประเทศหลัก เช่น สหราชอาณาจักรและยุโรปเริ่มเผชิญ Recession ตั้งแต่ปลายปีนี้ สหรัฐฯ คาดว่าจะเข้าสู่ Recession ในช่วงครึ่งหลังของปีหน้า

ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลกยังมีอยู่ต่อเนื่อง
ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครนไม่จบลงเร็วอย่างที่หลายฝ่ายคาดไว้ ส่งผลให้ปัญหาอุปทานคอขวดยืดเยื้อ ความตึงเครียดระหว่างจีน สหรัฐฯ และไต้หวัน แม้ยังไม่ปะทุรุนแรง แต่จะมีนัยสำคัญต่อห่วงโซ่อุปทานเซมิคอนดักเตอร์โลกในระยะข้างหน้า ซึ่งไต้หวันเป็นผู้ผลิตหลักของโลก นอกจากนี้ การแบ่งขั้วระหว่างสหรัฐฯ และจีน (Decoupling) จะเร่งตัวขึ้น โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่ต้องการรักษาระเบียบโลก (International order) รูปแบบเดิมเอาไว้ ส่งผลให้กลุ่มประเทศทั้งสองขั้วจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น ตลาดการเงินโลกในปี 2565 ผันผวนสูงมาก เป็นผลจากความไม่แน่นอนของนโยบายและเศรษฐกิจโลก ภาวะการเงินโลกตึงตัวตามทิศทางนโยบายการเงินในโลก ราคาสินทรัพย์เสี่ยงลดลงมากตั้งแต่ต้นปีในภาวะเช่นนี้

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
นักท่องเที่ยวต่างชาติปี 2022 ฟื้นตัวดีกว่าคาดหลังไทยเปิดประเทศผ่อนคลายนโยบายควบคุม COVID-19 ตั้งแต่เดือน ก.ค. และมีโอกาสถึง 10.9 ล้านคนในปีนี้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับเป็นปกติมากขึ้นทำให้การบริโภคภาคเอกชนเติบโตดีจากอุปสงค์ที่สะสมมา (Pent-up demand) รวมถึงมีปัจจัยสนับหนุนจากการฟื้นตัวของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะรายได้ภาคท่องเที่ยวและภาคบริการ รายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นมากจากราคาสินค้าเกษตร การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยกิจกรรมการผลิตบางอุตสาหกรรมกลับมาสูงกว่าก่อน COVID-19 แล้ว เช่น ยานยนต์ และเครื่องจักร ด้านการลงทุนก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวดี โดยเฉพาะที่อยู่อาศัย

เศรษฐกิจโลกปี 2022 เผชิญความไม่แน่นอนต่อเนื่อง
ตั้งแต่เกิดการระบาดของสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron variant) ในไตรมาส 1 ทำให้หลายประเทศกลับมาล็อกดาวน์อีกครั้ง ปัญหาอุปทานคอขวดจึงคลี่คลายได้ช้า ตามด้วยสงครามรัสเซีย-ยูเครนซ้ำเติมปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลก ราคาพลังงานและโภคภัณฑ์โลกสูงขึ้นมาก ภาคธุรกิจต้องวางแผนโยกย้ายฐานการผลิตเพื่อสร้างความมั่นคงของห่วงโซ่อุปทาน รวมถึงปัญหาเงินเฟ้อทั่วโลกเร่งตัวสูงทำให้นโยบายการเงินโลกปรับตึงตัวเร็วมาก ซึ่งจะทำให้อุปสงค์โลกชะลอลงอีก สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้มีแนวโน้มจะทำให้เงินเฟ้อสูงกว่าเป้าหมายของธนาคารกลางต่อไปอีก 1-2 ปี กิจกรรมเศรษฐกิจชะลอลงเป็นวงกว้าง ภาคการผลิตปรับแย่ลง ความเชื่อมั่นภาคเอกชนปรับลดลงใกล้ระดับวิกฤตในอดีต ตัวเลขการจ้างงานเริ่มชะลอลง ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกมีโอกาสถดถอย (Recession) มากขึ้น บางประเทศหลัก เช่น สหราชอาณาจักรและยุโรปเริ่มเผชิญ Recession ตั้งแต่ปลายปีนี้ สหรัฐฯ คาดว่าจะเข้าสู่ Recession ในช่วงครึ่งหลังของปีหน้า

ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลกยังมีอยู่ต่อเนื่อง
ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครนไม่จบลงเร็วอย่างที่หลายฝ่ายคาดไว้ ส่งผลให้ปัญหาอุปทานคอขวดยืดเยื้อ ความตึงเครียดระหว่างจีน สหรัฐฯ และไต้หวัน แม้ยังไม่ปะทุรุนแรง แต่จะมีนัยสำคัญต่อห่วงโซ่อุปทานเซมิคอนดักเตอร์โลกในระยะข้างหน้า ซึ่งไต้หวันเป็นผู้ผลิตหลักของโลก นอกจากนี้ การแบ่งขั้วระหว่างสหรัฐฯ และจีน (Decoupling) จะเร่งตัวขึ้น โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่ต้องการรักษาระเบียบโลก (International order) รูปแบบเดิมเอาไว้ ส่งผลให้กลุ่มประเทศทั้งสองขั้วจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น ตลาดการเงินโลกในปี 2565 ผันผวนสูงมาก เป็นผลจากความไม่แน่นอนของนโยบายและเศรษฐกิจโลก ภาวะการเงินโลกตึงตัวตามทิศทางนโยบายการเงินในโลก ราคาสินทรัพย์เสี่ยงลดลงมากตั้งแต่ต้นปีในภาวะเช่นนี้

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
นักท่องเที่ยวต่างชาติปี 2022 ฟื้นตัวดีกว่าคาดหลังไทยเปิดประเทศผ่อนคลายนโยบายควบคุม COVID-19 ตั้งแต่เดือน ก.ค. และมีโอกาสถึง 10.9 ล้านคนในปีนี้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับเป็นปกติมากขึ้นทำให้การบริโภคภาคเอกชนเติบโตดีจากอุปสงค์ที่สะสมมา (Pent-up demand) รวมถึงมีปัจจัยสนับหนุนจากการฟื้นตัวของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะรายได้ภาคท่องเที่ยวและภาคบริการ รายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นมากจากราคาสินค้าเกษตร การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยกิจกรรมการผลิตบางอุตสาหกรรมกลับมาสูงกว่าก่อน COVID-19 แล้ว เช่น ยานยนต์ และเครื่องจักร ด้านการลงทุนก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวดี โดยเฉพาะที่อยู่อาศัย

Anuncio
Anuncio

Más Contenido Relacionado

Similares a เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน (6)

Más de SCBEICSCB (18)

Anuncio

Más reciente (12)

เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน

  1. 1. Issue : December 2022 SCB EIC Monthly : Year-end issue เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเป็นสาคัญ ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และมีความไม่แน่นอนสูงขึ้น
  2. 2. เศรษฐกิจโลก 2 SCB EIC Monthly : December 2022 เศรษฐกิจโลกเติบโตชะลอลงในปีนี้ จากการแพร่ระบาดของ COVID-19 สายพันธุ์ Omicron ช่วงต้นปี ส่งผลให้นโยบายควบคุม COVID-19 เข้มงวดอีกครั้ง อีกทั้ง ยังเผชิญกับสถานการณ์ ขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ซ้าเติมปัญหาอุปทานคอขวดและเงินเฟ้อสูง ธนาคารกลางในโลกจึงเร่งดาเนินนโยบายการเงินตึงตัวแรง เพื่อดูแลเงินเฟ้อสูง ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัว มากกว่าที่คาดไว้ เศรษฐกิจประเทศหลักจะเริ่มเข้าสู่ภาวะถดถอยตั้งแต่ปลายปีนี้ เช่น สหราชอาณาจักร สหภาพยุโรป Year in Review 2022 เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญ ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัวและมีความไม่แน่นอนสูงขึ้น • นักท่องเที่ยวต่างชาติฟื้นกลับมาดีกว่าคาดและมีโอกาสถึง 10.9 ล้านคน • การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องตาม Pent-up demand และการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด โดยมีปัจจัยหนุนจากการฟื้นตัวตลาดแรงงาน โดยเฉพาะรายได้ภาค ท่องเที่ยวและภาคบริการ รายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะด้านราคาสินค้าเกษตรหลัก อย่างไรก็ดี การบริโภคครัวเรือนบางกลุ่มได้รับแรงกดดันจากเงินเฟ้อสูงและหนี้สูง • การลงทุนภาคเอกชนฟื้นตัว กิจกรรมการผลิตบางอุตสาหกรรมสูงกว่าก่อน COVID-19 แล้ว เช่น ยานยนต์ และเครื่องจักร การลงทุนก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวดีโดยเฉพาะที่อยู่อาศัย • การส่งออกไปตลาดสหรัฐฯ ASEAN5 และ CLMV ขยายตัวดีตั้งแต่ต้นปี แต่ภาพการส่งออกโดยรวมเริ่มมีสัญญาณหดตัวในไตรมาส 4 ตามทิศทางเศรษฐกิจโลก • เงินเฟ้อผ่านจุดสูงสุดในไตรมาส 3 จากราคาหมวดพลังงานที่เริ่มชะลอลง แต่เงินเฟ้อขยายวงกว้างไปยังสินค้าหลายประเภทมากขึ้น มีการส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิตไปยังราคาสู่ผู้บริโภค มากขึ้น เงินเฟ้อพื้นฐานจึงยังอยู่ในระดับสูง อัตราดอกเบี้ยนโยบายไทยปรับขึ้นช้ากว่าต่างประเทศ ธปท. ทยอยขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง 3 ครั้งในช่วงครึ่งหลังของปีจาก 0.5% เป็น 1.25% ณ สิ้นปีนี้ ตามกับแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นช้า กว่าและเงินเฟ้อสูงจากปัจจัยอุปทานเป็นหลัก อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวไทยสูงขึ้นตามทิศนโยบายการเงินและสภาพคล่องระบบการเงินโลกตึงตัวขึ้น เงินบาทอ่อนค่าเร็ว นับจากต้นปี โดยเฉพาะช่วงครึ่งปีหลัง สาเหตุหลักจากดอลลาร์สหรัฐแข็ง เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นอยู่ในกรอบ 34.5-35 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปี 2022 ตามเงินดอลลาร์สหรัฐ ที่อ่อนค่าลงบ้างหลัง Fed ส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยช้าลง ทิศทางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย การกลับมาเกินดุลบัญชีเดินสะพัด และเงินทุนไหลเข้าตลาดการเงินไทย
  3. 3. เศรษฐกิจโลก 3 SCB EIC Monthly : December 2022 Outlook in 2023 เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มจะชะลอตัวลงมากในปี 2023 ภายใต้ความไม่แน่นอนที่ปรับสูงขึ้น จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่ลดลงช้า นโยบายการเงิน ตึงตัวมากทั่วโลกพร้อมกัน และผลกระทบจากวิกฤตพลังงาน ส่งผลให้บางประเทศหลักจะเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย เช่น สหรัฐฯ SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการการขยายตัวเศรษฐกิจไทยปี 2022 เป็น 3.2% โดยการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนเป็นแรงขับเคลื่อนหลัก และในปี 2023 SCB EIC ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจเป็น 3.4% จากการส่งออกสินค้าและการลงทุนที่จะชะลอลง ท่ามกลางเศรษฐกิจ โลกชะลอตัวในระยะข้างหน้า เศรษฐกิจไทยจะฟื้นตัวบนความไม่แน่นอนที่สูงขึ้น ไม่ทั่วถึง และเปราะบาง รายได้ครัวเรือนบางกลุ่มโตไม่ทัน รายจ่ายและธุรกิจยังฟื้นตัวได้ไม่เท่ากัน ภายใต้ทิศทางนโยบายการเงินไทยที่จะตึงตัวขึ้น นโยบายการคลังไทยหลัง COVID-19 ยังมีพื้นที่การคลัง พอรองรับความไม่แน่นอนที่อาจสูงขึ้นได้ และเน้นความยั่งยืนทางการคลังมากขึ้น ภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการฟื้นตัวได้ดีจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เร่งตัวขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการผ่อนคลายมาตรการการเดินทาง ระหว่างประเทศทั่วโลก โดย SCB EIC ประเมินว่า เพิ่มเป็น 28.3 ล้านคนในปี 2023 จากความต้องการเดินทางท่องเที่ยวที่ยังอยู่ในระดับสูง และจีนยังมีแนวโน้มทยอยผ่อนคลายมาตรการการเดินทางต่อเนื่อง อีกทั้ง การท่องเที่ยวในประเทศที่เติบโตได้ดีกลับไปใกล้ระดับก่อนเกิด COVID-19 ซึ่งจะส่งผลให้รายได้จากภาคการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่อง อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2022 จะเร่งตัว 6.1% และจะทยอยปรับลดลงช้า ๆ อยู่ที่ 3.2% ในปี 2023 สูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ โดยเฉพาะ ในช่วงครึ่งแรกของปี จากราคาพลังงานในประเทศและอาหารที่ยังอยู่ในระดับสูง รวมถึงการส่งผ่านต้นทุนของผู้ผลิตไปยังราคาสินค้าผู้บริโภค ที่จะมีมากขึ้น อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะยังอยู่ในระดับสูงจาก 2.5% ในปี 2022 เพิ่มเป็น 2.7% ในปี 2023 ปัจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจไทย ได้แก่ (1) เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกดดันการส่งออกและลงทุน (2) การระบาดของ COVID-19 ในจีนที่ยังไม่แน่นอน (3) เงินเฟ้อสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟื้นตัวไม่ทั่วถึงของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุ่มที่เปราะบาง (4) ความไม่แน่นอนทางการเมือง กระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่อง 3 ครั้งสู่ระดับ 2% ณ สิ้นปี 2023 ประกอบกับมาตรการการเงินบางส่วน ของ ธปท. เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ในช่วง COVID-19 จะทยอยสิ้นสุดในปี 2023 จะส่งผลให้ภาวะการเงินไทยตึงตัวมากขึ้นอีก ค่าเงินบาทมี แนวโน้มแข็งค่าต่อเนื่องจากปีนี้ อยู่ในกรอบ 33-34 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปี 2023 เศรษฐกิจโลก SCB EIC Monthly : December 2022
  4. 4. เศรษฐกิจโลก 4 SCB EIC Monthly : December 2022 EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2022 เป็น 3.2% โดยการท่องเที่ยวและบริโภคเป็นแรงหนุนสาคัญ และปรับ ลดมุมมองปี 2023 อยู่ที่ 3.4% ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัว สาหรับเงินเฟ้อทั่วไปยังสูงเกินกรอบเป้าหมายในปี หน้าตามราคาพลังงาน อาหาร และเงินเฟ้อพื้นฐานที่ยังสูง คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน่วย 2021 2022F 2023F ณ ก.ย. 2022 ณ พ.ย. 2022 ณ ก.ย. 2022 ณ พ.ย. 2022 GDP %YOY 1.5 3.0 3.2 3.7 3.4 การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.3 4.4 5.8 3.2 3.0 การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.2 -1.0 -0.2 -0.7 -1.0 การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.3 2.9 4.1 2.7 2.5 การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.8 2.1 -1.0 2.5 2.9 มูลค่าส่งออกสินค้า (USD BOP basis) %YOY 19.2 6.3 8.2 2.5 1.2 มูลค่านาเข้าสินค้า (USD BOP basis) %YOY 23.9 13.2 18.1 4.6 3.2 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ล้านคน 0.4 10.3 10.9* 28.3 28.3 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %YOY 1.2 6.1 6.1 3.2 3.2 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.5 2.7 2.7 ราคาน้ามันดิบ Brent USD/Brl. 70.4 102.4 100.5 89.9 84.7 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นปี) % 0.50 1.25 1.25 2.0 2.0 เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (สิ้นปี) THB/USD 33.2 35-36 34.5-35* 33.5-34.5 33-34* ในปี 2022 เศรษฐกิจไทยได้รับแรงสนับสนุนจากการท่องเที่ยว และภาคบริการ ประกอบกับการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวได้ดี ปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในปี 2023 • การท่องเที่ยวและภาคบริการเป็นแรงขับเคลื่อนหลัก • การบริโภคภาคเอกชนฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์ จากการท่องเที่ยวและตลาดแรงงานที่ฟื้นตัว ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทาให้เศรษฐกิจไทยในปี 2023 ไม่สดใสมากนัก • เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กดดันการส่งออกและการลงทุน • การระบาดของ COVID-19 ในจีนที่ยังไม่แน่นอน กระทบต่อนักท่องเที่ยวจีนและการส่งออก • เงินเฟ้อสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟื้นตัวไม่ทั่วถึง ของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุ่มที่เปราะบาง • ความไม่แน่นอนทางการเมืองกระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน + + - หมายเหตุ: * ณ ธ.ค. 22 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CEIC
  5. 5. เศรษฐกิจโลก
  6. 6. เศรษฐกิจโลก 6 SCB EIC Monthly : December 2022 เศรษฐกิจโลกปี 2022 เผชิญความไม่แน่นอนต่อเนื่อง สายพันธุ์ Omicron ระบาดในไตรมาส 1 ทาให้หลาย ประเทศกลับมาล็อกดาวน์ ปัญหาอุปทานคอขวดจึงคลี่คลายช้าลง ยอดผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตจาก COVID-19 หน่วย : ล้านคน หน่วย : ล้านคน ยอดสั่งซื้อสินค้าใหม่ ยอดงานค้าง และระยะเวลาส่งมอบสินค้า หน่วย : ดัชนี, >50 ขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า ปรับฤดูกาล ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ www.ourworldindata, University of Oxford และ CEIC 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 0 100 200 300 400 500 2020 2021 2022 New case New death Omicron Spread Oxford Stringency Index หน่วย : ดัชนี 0 20 40 60 80 100 2020 2021 2022 US Germany France China UK Japan Omicron Spread 30 40 50 60 70 30 40 50 60 70 2019 2020 2021 2022 Backlogs of work New Orders Suppliers' delivery times (RHS: Reverse) การแพร่ระบาดของ Omicron ใน Q1 ส่งผลให้นโยบายควบคุม COVID-19 กลับมาเข้มงวดอีกครั้ง กระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ปัญหาอุปทานคอขวดคลี่คลายช้ากว่าที่คาดไว้ เช่น ระยะเวลาขนส่งสินค้านานขึ้น ยอดงานค้างเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ อุปสงค์การจับจ่ายของผู้บริโภคชะลอลง จากความกังวลการติดเชื้อ สะท้อนจากยอดคาสั่งซื้อใหม่ที่ลดลง Omicron Spread ระยะเวลาขนส่งนานขึ้น ยอดงานค้างมากขึ้น ยอดคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้น
  7. 7. เศรษฐกิจโลก 7 SCB EIC Monthly : December 2022 ดัชนีความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical Risk Index) โลกสูงขึ้นในปี 2022 หน่วย : ดัชนี ผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ www.matteoiacoviello.com และ JPMorgan ความขัดแย้งภูมิรัฐศาสตร์โลกสูงขึ้นในปี 2022 ซ้าเติมปัญหาห่วงโซ่อุปทานขาดตอน กระทบการค้าการลงทุนโลก 0 100 200 300 400 500 600 2005 2010 2015 2020 London Bombings (2005) Paris Attacks (2015) US-Iran Tensions (2019) Russian invasion of Ukraine (24 Feb 2022) 0 100 200 300 400 500 Pelosi visited Taiwan (2 Aug 2022) 1. การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศลดลง ประเทศพึ่งพาตนเองมากขึ้น กีดกันการค้าและการลงทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ 2. ธุรกิจตั้งฐานการผลิตในภูมิภาคใกล้เคียงหรือในประเทศ ลดความเสี่ยงห่วงโซ่อุปทานโลกขาดช่วง 3. ธุรกิจผลิตสินค้าคงคลังมากขึ้น เปลี่ยนจาก Just In Time เป็น Just In Case รองรับห่วงโซ่อุปทานขาดตอนหรืออุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นเกินคาด 4. การเคลื่อนย้ายแรงงานและเทคโนโลยีระหว่างประเทศลดลง ชาติมหาอานาจใช้มาตรการจากัดการเข้าถึงเทคโนโลยีและแรงงานทักษะสูง ดัชนีระยะเวลาขนส่งสินค้าขั้นกลางนานขึ้นหลังเกิดสงคราม RUS-UKR และทยอยปรับดีขึ้น 35 40 45 50 55 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 หน่วย : ดัชนี ระยะเวลาขนส่งสั้นลง ระยะเวลาขนส่งนานขึ้น ผลกระทบสงครามรัสเซีย-ยูเครน
  8. 8. เศรษฐกิจโลก 8 SCB EIC Monthly : December 2022 เงินเฟ้อทั่วโลกเร่งตัวสูงจากปัญหาอุปทานคอขวดและอุปสงค์ฟื้นตัว ทาให้ทิศทางนโยบายการเงินตึงตัวเร็ว ควบคุมเงินเฟ้อ ซึ่งจะทาให้อุปสงค์โลกชะลอลงอีกในระยะข้างหน้า อัตราเงินเฟ้อของเศรษฐกิจสาคัญ สะท้อนแรงกดดันเงินเฟ้อขยายวงกว้าง ยอดค้นหาคาเกี่ยวกับเศรษฐกิจจถดถอยเพิ่มขึ้นมาก ใกล้เคียง Recessions ในอดีต หน่วย : ดัชนี, ความนิยมสูงสุด = 100, ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ CEIC 2019 2021 Jan-22 Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Headline CPI (Unit:%YOY) US 1.8 4.7 7.5 7.9 8.6 8.2 8.5 9.0 8.5 8.2 8.2 7.8 7.1 EU27 1.4 2.9 5.5 6.2 7.8 8.1 8.8 9.5 9.8 10.2 11.0 11.5 UK 1.8 2.6 5.5 6.2 7.1 9.0 9.1 9.3 10.1 9.9 10.1 11.0 Japan 0.5 -0.2 0.5 0.9 1.2 2.5 2.5 2.3 2.6 3.0 2.9 3.8 Core CPI (Unit: %YOY) US 2.2 3.6 6.0 6.4 6.4 6.1 6.0 5.9 5.9 6.3 6.7 6.3 6.0 EU27 1.4 1.8 2.9 3.4 3.9 4.6 5.2 5.6 6.1 6.6 7.2 7.6 UK 1.8 2.3 4.3 5.2 5.7 6.1 6.1 6.0 6.6 6.7 7.1 7.2 Japan 0.6 -0.6 -1.1 -1.0 -0.8 0.8 0.8 1.0 1.2 1.6 1.9 2.6 Food CPI (Unit: %YOY) US 1.8 3.8 6.7 7.6 8.5 9.0 9.7 10.0 10.5 10.9 10.8 10.6 10.3 EU27 2.1 1.6 4.8 5.5 6.7 8.6 10.0 11.5 12.8 14.0 15.4 17.3 UK 1.4 0.3 4.3 5.1 5.9 6.7 8.6 9.7 12.6 13.0 14.6 16.2 Japan 0.4 0.0 2.1 2.8 3.4 3.9 4.1 3.7 4.4 4.6 4.2 6.3 อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกเร่งตัวแรงในรอบหลายทศวรรษ ผลจากอุปทานคอขวดคลี่คลายช้าส่งผลให้ราคาสินค้า โภคภัณฑ์เร่งตัวรวดเร็ว และอุปสงค์กลับมาฟื้นตัวธนาคารกลางทั่วโลกจึงเร่งขึ้นดอกเบี้ย ในระยะต่อไป เงินเฟ้อจะยังมีแนวโน้มอยู่สูงกว่าเป้าหมายธนาคารกลางอีก 1-2 ปี -0.5 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 2012 2014 2016 2018 2020 2022 US EU UK Japan UK= 3.4% US= 2.2% EU= 1.6% JP= 0.4% เส้นประ คือ ค่าเฉลี่ยปี 2015-2019 ขนาดการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางทั่วโลกในปี 2022 (ข้อมูล ณ 14 ธ.ค. 2022)
  9. 9. เศรษฐกิจโลก 9 SCB EIC Monthly : December 2022 กิจกรรมเศรษฐกิจชะลอลงเป็นวงกว้าง ภาคการผลิตแย่ลงชัดเจนหลังสงครามรัสเซีย-ยูเครน ความเชื่อมั่น ลดลงใกล้วิกฤตในอดีต การจ้างงานเริ่มชะลอลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ OCED ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Composite Purchasing Manufacturing Index) แย่ลง หน่วย : ดัชนี, >50 = ขยายตัว, ปรับฤดูกาล ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคปรับลดลงใกล้ระดับที่เคยเกิดวิกฤตในอดีต หน่วย : ดัชนี, Normalized (Normal = 100), ปรับฤดูกาล, ข้อมูล ณ 13 ธ.ค. 2022 30 40 50 60 70 2020 2021 2022 World Euro Zone US UK < 50 = คาดว่ากิจกรรมการผลิตจะลดลง 25 75 125 2006 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022 UK US JP EU CN Sub-prime crisis COVID-19 crisis Current recession fears ตาแหน่งงานว่าง (Job vacancy) ชะลอลงจากอุปสงค์การจ้างงานที่เริ่มโน้มลง หน่วย : ดัชนี, 2019 = 100, ปรับฤดูกาล, ข้อมูล ณ 13 ธ.ค. 2022 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (Business Confidence Index: BCI) ลดลงต่อเนื่อง หน่วย : ดัชนี, ปรับฤดูกาล 35 60 85 110 135 160 2020 2021 2022 US Japan Germany France UK S. Korea 90 95 100 105 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022 US EA 19 UK Japan China
  10. 10. เศรษฐกิจโลก 10 SCB EIC Monthly : December 2022 เศรษฐกิจโลกมีโอกาสเกิด Recession มากขึ้นจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้นตลอดปี บางประเทศเศรษฐกิจหลัก จะเข้าสู่ Recession ปลายปีนี้ และหากมีความเสี่ยงไม่คาดคิดเพิ่มเติม อาจทาให้เศรษฐกิจโลกอาจเข้าสู่ Recession ได้ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, Moody’s และ www.worlduncertaintyindex.com โอกาสเกิดเศรษฐกิจถดถอยใน 12 เดือนข้างหน้า หน่วย : %, ข้อมูล ณ 14 ธ.ค. 2022 คาดการณ์อัตราการเติบโตเศรษฐกิจโลก (World GDP growth) หน่วย : %YOY US, 60 EU, 80 UK, 90 China, 17.5 0 25 50 75 100 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 US EU UK China 1991, 1.5 2001, 2.0 2009, - 1.3 2020, -3.3 2023, 1.8 adverse, 2023, 0.5 -4.0 -1.5 1.0 3.5 6.0 1988 1995 2002 2009 2016 2023 actual baseline adverse Past Recessions: GDP growth (avg) < 1.5% ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเกิดเศรษฐกิจถดถอยในระยะข้างหน้า ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทาให้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะถดถอยในปี 2023 ประเทศ ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเกิดเศรษฐกิจถดถอย โลก เศรษฐกิจโลกจะชะลอลงเร็ว แต่ยังไม่เกิดเศรษฐกิจถดถอยในปี 2023 ยูโรโซน Q4/2022 ถึงอย่างน้อยปลายปี 2023 สหราชอาณาจักร Q4/2022 ถึงปี 2024 สหรัฐ Q3/2023 ถึงกลางปี 2024 Manufacturing recession Stock market correction Escalation in trade war Decline in real estate Escalation in Ukraine war Fed policy errors Food crisis Inflation hits Liquidity crisis Social unrest Labor market overheats Rising Geopolitics risks high low Economic severity high Probability
  11. 11. เศรษฐกิจโลก 11 SCB EIC Monthly : December 2022 ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับยูเครนไม่ได้จบลงเร็ว ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกเติบโตต่ากว่าที่คาดไว้ ราคาสินค้า โภคภัณฑ์สูงขึ้นมาก โดยเฉพาะน้ามัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF ความสาคัญของรัสเซียต่อเศรษฐกิจโลก หน่วย : % ของโลก 1.8 1.9 1.9 1.3 10 17 11 40 11 9 4 11 8 10 0 10 20 30 40 50 GDP Share Population Export Import Total Fuels Gas Oil EA gas comsumption Preciouse Metal Industrial Minerals Non-fer. Metals Wheat Fertillizers Industrial wood of Euro area ขนาดเศรษฐกิจ แหล่งผลิตพลังงาน แหล่งผลิตโภคภัณฑ์ และแร่โลหะสาคัญ ช่องทางการส่งผ่านผลกระทบของสงคราม ระหว่างรัสเซียและยูเครนต่อเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลกชะลอ ความเสี่ยงถดถอยสูงขึ้น หลังนโยบายการเงินตึงตัวแรง เพื่อควบคุมเงินเฟ้อสูง ปัญหาอุปทานคอขวดยืดเยื้อ โดยเฉพาะเซมิคอนดักเตอร์และ ยานยนต์ (รัสเซียเป็นฐานการ ผลิตโลหะสาคัญของโลก) ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น โดยเฉพาะราคาพลังงานและ สินค้าเกษตร (รัสเซียเป็นฐาน การผลิตสาคัญของโลก) ภาวะการเงินตึงตัวขึ้น เงินทุนไหลออกไปถือสินทรัพย์ ปลอดภัย (Safe-haven) และตลาดการเงินผันผวนสูงขึ้น
  12. 12. เศรษฐกิจโลก 12 SCB EIC Monthly : December 2022 ความตึงเครียดระหว่างจีน สหรัฐฯ และไต้หวันยังไม่ปะทุรุนแรง (Status quo) แต่จะมีนัยสาคัญต่อห่วงโซ่อุปทาน เซมิคอนดักเตอร์โลกในระยะข้างหน้า ซึ่งปัจจุบันกระจุกตัวสูงในไต้หวัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF, WTO, Bloomberg, TrendForce, J.P Morgan และสานักข่าวต่างประเทศ ความเป็นมา นัยทางการเมือง นโยบายสหรัฐฯ ยังไม่สอดคล้องกัน ระหว่างไบเดนกับพรรค • ทาเนียบขาวยังยืนยัน One-China policy • มีแรงกดดันให้ไบเดนเพิ่มความเข้มงวดกับจีนสูงขึ้น จากเพโลซีและสมาชิก Congress • ความนิยมไบเดนอาจลดลงอีกหากไม่เข้มงวดกับจีน • ยังคงใช้ Strategic ambiguity ต่อ เพื่อสนับสนุน ไต้หวัน แต่หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าโดยตรงกับจีน • จีนต้องแสดงจุดยืนต่อสหรัฐฯ ด้วยการซ้อมรบเพื่อ ไม่ให้สหรัฐฯ เปลี่ยน Status quo และเป็นการเพิ่ม ความเชื่อมั่นภายในประเทศต่อรัฐบาลจีน • จีนไม่อยากให้สถานการณ์รุนแรงขึ้น เพราะเศรษฐกิจ ในประเทศยังอ่อนแอ และมีความอ่อนไหวทาง การเมืองจากเหตุประท้วงมาตรการ Zero COVID จีนต้องการรักษา Status quo ในช่วงที่มีความอ่อนไหวทางการเมือง พรรค DPP ซึ่งสนับสนุนการแยกตัว ของไต้หวันชนะการเลือกตั้งเมื่อ ม.ค. 2016 และ ม.ค. 2020 พันธมิตรฝั่งตะวันตกเข้ามามี อิทธิพลในพื้นที่และช่วยเหลือ ไต้หวันมากขึ้น การเยือนไต้หวันของ Pelosi เป็นการแสดงท่าทีว่าสหรัฐฯ อาจสนับสนุนไต้หวันชัดเจนขึ้น เพื่อกุมความได้เปรียบเชิง ยุทธศาสตร์ในพื้นที่มากขึ้น แรกเริ่มจีนไม่ต้องการจะ Reunification ในระยะสั้นนี้ แต่ตอบโต้เพื่อส่งสัญญาณไม่ให้ เสียดุลอานาจและความได้เปรียบ เชิงยุทธศาสตร์ในพื้นที่ กาลังการผลิตของผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์หลักในตลาดโลก หน่วย : % ของกาลังการผลิตโลก 44% 37% 24% 13% 19% 19% 13% 12% 17% 18% 13% 15% 13% 15% 21% 22% 22% 22% 0.0% 20.0% 40.0% 60.0% 80.0% 100.0% 2020 11% 1990 2% 9% 2010 2000 กาลังการ ผลิตของกลุ่ม ผู้ผลิตเอเชีย คิดเป็น 71% ของกาลังการ ผลิตโลก ไต้หวัน จีน เกาหลีใต้ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ยุโรป อื่น ๆ สัดส่วนรายได้ผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์หลักในตลาดโลก หน่วย : % ของรายได้รวมในไตรมาส 1/22 53.6% 16.3% 6.9% 5.9% 11.7% 5.6% 100% = 31,957 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไต้หวันเป็นผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์สาคัญที่สุดในโลก บริษัท TSMC ผลิตเซมิคอนดักเตอร์ 53.6% ของรายได้ทั้งหมด มีฐานการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ ขนาด 16-nm และ 28-nm ที่หนานจิง ประเทศจีน
  13. 13. เศรษฐกิจโลก 13 SCB EIC Monthly : December 2022 การแบ่งขั้วระหว่างสหรัฐฯ และจีน (Decoupling) จะเร่งตัวขึ้น โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่ต้องการรักษา International order เดิมไว้ ส่งผลให้ทั้งสองขั้วจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Capital Economics, US National Security Strategy 2022 และสานักข่าวต่างประเทศ ความเชื่อมโยงทางการค้าระหว่างพันธมิตรสหรัฐฯ และพันธมิตรจีน National security strategy ของสหรัฐฯ อนาคตจะเป็นอย่างไร สหรัฐฯ ต้องการรักษาระเบียบระหว่างประเทศ (International order) เดิมไว้ โดยคงความเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในโลก และกีดกันประเทศ คู่แข่งที่จะลดความสาคัญของสหรัฐฯ ลง นโยบายสาคัญ : • สนับสนุนการสร้างความแข็งแกร่งของห่วงโซ่อุปทานในประเทศ ภาครัฐเป็นผู้นา การลงทุนในอุตสาหกรรมสาคัญและใช้มาตรการกีดกันการค้า เช่น ห้ามส่งออก และจากัดการลงทุนเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศและรักษาความได้เปรียบ • สร้างเครือข่ายพันธมิตรค่านิยมคล้ายสหรัฐฯ เพื่อร่วมมือด้านทหาร เทคโนโลยี แลกเปลี่ยนข้อมูล และเศรษฐกิจ รวมถึงแสดงตัวอย่างความสาเร็จของประชาธิปไตย ตัวอย่าง : Semiconductor export curbs สหรัฐฯ ห้ามผู้ผลิตในประเทศส่งออกชิปขั้นสูงไปจีน และห้ามบุคลากรสัญชาติสหรัฐฯ ช่วยเหลือจีนในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ จีนและสหรัฐฯ จะกลับสู่ Status quo เพื่อเลี่ยงการเผชิญหน้า แต่ความร่วมมือ ระหว่างประเทศจะลดลง Decoupling ระหว่างสหรัฐฯ และจีนจะเร่งตัวขึ้น ลดการพึ่งพาสินค้าสาคัญต่อความ มั่นคงของประเทศจากอีกกลุ่ม เน้นการผลิตในประเทศมากขึ้น เช่น CHIPS Act ของ สหรัฐฯ จะเพิ่มการลงทุนผลิตชิปในสหรัฐฯ กลุ่มตะวันตกพึ่งพา กันเองสูงกว่ากลุ่ม พันธมิตรจีน หากมีการ Decoupling มากขึ้น กลุ่มพันธมิตรจีนจะได้รับผลกระทบมากกว่า
  14. 14. เศรษฐกิจไทย
  15. 15. เศรษฐกิจไทย 15 SCB EIC Monthly : December 2022 เศรษฐกิจไทย 3 ไตรมาสแรก ปี 2022 ได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การส่งออกสินค้าชะลอลงต่อเนื่อง แรงกระตุ้นภาครัฐเริ่มแผ่วลงหลังการเบิกจ่าย วงเงินตาม พรก.เงินกู้ COVID-19 หมดลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ %YOY % of GDP 2020 2021 2021Q3 2021Q4 2022Q1 2022Q2 2022Q3 YTD RGDP 100.0% -6.2% 1.5% -0.2% 1.8% 2.3% 2.5% 4.5% 3.1% Private Consumption 54.1% -1.0% 0.3% -3.2% 0.4% 3.5% 7.1% 9.0% 6.5% Public Consumption 16.0% 1.4% 3.2% 1.5% 8.1% 7.2% 2.8% -0.6% 2.9% Private Investment 17.8% -8.2% 3.3% 2.6% -0.8% 2.9% 2.3% 11.0% 5.3% Public Investment 6.8% 5.1% 3.8% -6.2% 1.7% -4.7% -9.0% -7.3% -7.0% Export Goods 61.7% -5.8% 14.9% 12.0% 16.6% 10.2% 4.6% 2.7% 5.8% Export Services 5.3% -61.3% -23.1% 14.7% 28.8% 32.5% 54.5% 87.0% 57.9% Import Goods 57.9% -10.6% 18.3% 28.0% 14.0% 4.2% 7.1% 8.0% 6.5% Import Services 10.5% -27.8% 16.0% 37.1% 28.1% 13.7% 18.9% 8.9% 13.7% Agriculture 6.3% -3.5% 1.0% 2.2% -0.6% 4.7% 4.4% -2.3% 2.7% Industrial 32.5% -5.9% 3.4% -1.7% 2.6% 0.6% -1.8% 4.7% 1.1% Mining 1.9% -8.9% -7.1% -11.4% -13.4% -18.5% -22.4% -14.8% -18.7% Manufacturing 27.4% -5.6% 4.9% -0.9% 3.8% 2.0% -0.5% 6.3% 2.5% Services 62.3% -6.7% 0.7% 0.3% 1.7% 2.9% 4.5% 5.3% 4.2% Construction 2.9% 1.3% 2.7% -4.2% -0.8% -5.5% -4.5% -2.8% -4.3% Wholesale & Retail 15.9% -3.2% 1.7% 2.7% 3.0% 2.8% 3.1% 3.5% 3.1% Transport & Storage 5.3% -22.9% -2.9% -1.4% 3.2% 4.2% 5.2% 9.9% 6.4% Hotel & Restaurant 3.6% -37.5% -14.4% -19.0% -4.9% 33.5% 44.9% 53.6% 43.7% Info & Communication 6.2% 1.1% 5.6% 6.8% 5.3% 5.7% 6.3% 4.9% 5.6%
  16. 16. เศรษฐกิจไทย 16 SCB EIC Monthly : December 2022 เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยไตรมาส 4 ฟื้นตัวต่อเนื่อง กิจกรรมด้านอุปทานยังขยายตัวได้ดี นาโดยภาคท่องเที่ยว ขณะที่กิจกรรมด้านอุปสงค์ยังขยายตัวได้แม้ชะลอลงมาก โดยเฉพาะการส่งออกที่เริ่มหดตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สานักงานสถิติแห่งชาติ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และสานักงานประกันสังคม เศรษฐกิจไทย Unit 2021 Q1/22 Q2/22 Q3/22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 YTD ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) %YOY 1.5 2.3 2.5 4.5 3.1 ภาคอุปสงค์ ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน %YOY -0.8 4.1 10.3 14.6 12.1 10.2 14.9 17.3 11.7 6.6 9.3 ยอดขายรถในประเทศ %YOY -6.8 22.7 11.5 36.2 15.7 10.0 22.1 61.7 30.4 0.2 20.3 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน %YOY 9.9 4.2 3.3 7.0 3.7 5.7 4.8 11.1 5.1 2.1 4.5 ส่งออกหักทอง (ศุลกากร) %YOY 22.8 10.0 11.0 6.3 12.5 11.5 4.7 7.4 6.7 -5.3 7.6 ความเชื่อมั่นผู้บริโภค Index (100 = previous month) 44.7 43.4 40.8 43.6 40.2 41.6 42.4 43.7 44.6 46.1 47.9 43.4 ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ Index (50 = previous month) 45.3 48.6 49.3 49.5 49.3 50.5 49.4 49.6 49.6 47.8 49.4 49.0 ภาคอุปทาน รายได้ภาคเกษตร %YOY 2.2 10.6 19.0 18.2 21.3 18.5 17.6 17.3 19.9 25.5 16.5 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม %YOY 5.8 1.6 -0.8 8.1 -2.0 -0.2 6.4 14.9 3.3 -3.7 2.2 อัตราการใช้กาลังการผลิต sa % 63.0 63.2 63.6 63.6 62.6 64.1 63.6 63.9 63.3 60.6 63.1 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ thousands 427.9 498 1582 3608 521 767 1124.2 1175 1309 1475 7163 จานวนทริปในประเทศ %YOY -41.7 74.4 399.9 1167.8 1053.2 1115.6 1818.6 1770.5 665.5 285.0 263.5 อัตราการเข้าพักโรงแรม % 14.0 36.2 42.1 47.8 41.8 42.6 47.0 48.0 48.4 54.6 43.3 ตลาดแรงงาน อัตราว่างงาน % 1.9 1.5 1.4 1.2 1.4 อัตราว่างงานของแรงงานอายุน้อย % 8.2 6.6 7.1 6.5 6.7 อัตราว่างงานของแรงงานในประกันสังคม % 2.8 2.3 2.1 2.0 2.2 2.2 2.0 2.1 2.0 1.8 2.1 ชั่วโมงการทางานภาคเอกชน hours/week 44.3 43.7 45.9 46.7 45.5 ภาคอุปสงค์ในเดือน ต.ค. และ พ.ย. ชะลอตัวแต่ยังอยู่ในทิศทาง การฟื้นตัว ทั้งการบริโภคและการ ลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การ ส่งออกหดตัวตามเศรษฐกิจโลก ภาคอุปทานขยายตัวได้ดี โดยเฉพาะภาคท่องเที่ยว ขณะที่ ภาคเกษตรยังอยู่ในเกณฑ์ดีและ ความเสี่ยงอุทกภัยคลี่คลายใน ไตรมาส 4 ภาคอุตสาหกรรมหดตัว สอดคล้องกับการส่งออก ตลาดแรงงานฟื้นตัวดีขึ้น ต่อเนื่อง แต่ยังไม่กลับไป เท่าช่วงก่อน COVID-19
  17. 17. เศรษฐกิจไทย 17 SCB EIC Monthly : December 2022 นักท่องเที่ยวต่างชาติฟื้นตัวดีกว่าคาดและมีโอกาสแตะ 10.9 ล้านคนในปี 2022 สร้างรายได้ให้ภาคการท่องเที่ยว ราว 4 แสนล้านบาท โดยกลุ่มนักท่องเที่ยวหลักมาจากอาเซียนและยุโรป หมายเหตุ : * รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติประเมินจากรายได้ผู้เยี่ยมเยือนต่างชาติ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทยปี 2022 หน่วย : ล้านคน 0.8 2.8 0.4 0.0 1.6 1.2 2.4 2.0 1.3 1.3 3.2 พ.ค. เม.ย. พ.ย. (e) ต.ค. ธ.ค. (e) 0.1 1.2 ม.ค. 0.3 8.9 มิ.ย. ก.พ. 0.5 มี.ค. 0.8 2.1 1.1 ก.ค. 2.0 4.4 ส.ค. 5.7 ก.ย. 7.2 1.5 1.7 10.9 นักท่องเที่ยวต่างชาติสะสม นักท่องเที่ยวต่างชาติ 11 พ.ย. จีนลดเวลา การกักตัวเหลือ 8 วัน 31 ต.ค. สายการบิน สัญชาติรัสเซียเริ่ม กลับมาให้บริการ 1 ก.ค. ยกเลิก Thailand pass 1 ก.ค. ยกเลิก Test & Go 1 ก.พ. กลับมาใช้ ระบบ Test & Go 1 เม.ย. ยกเลิก ตรวจ RT-PCR ก่อนเข้าไทย 1 เม.ย. ประเทศเอเชีย เริ่มทยอยเปิดประเทศ Omicron wave 24 ก.พ. ความตึง เครียดระหว่าง รัสเซีย-ยูเครน สัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาไทย หน่วย : % 58% 36% 47% 46% 21% 16% 20% 16% 12% 13% 11% ไตรมาสที่ 2 6% 8% 9% 8% ไตรมาสที่ 1 10% 10% ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 (e) ยุโรป อาเซียน เอเชียตะวันออก อเมริกา เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง อื่น ๆ รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ* หน่วย : แสนล้านบาท 0 0 3 2 1 2 3 1 4 ไตรมาสที่ 2 0.3 ไตรมาสที่ 1 0.9 0.6 2.0 1.1 ไตรมาสที่ 3 4.0 1.9 ไตรมาสที่ 4 (e) รายได้นักท่องเที่ยวต่างชาติสะสม รายได้นักท่องเที่ยวต่างชาติ
  18. 18. เศรษฐกิจไทย 18 SCB EIC Monthly : December 2022 การส่งออกไทยขยายตัวใกล้เคียงประเทศเพื่อนบ้าน แม้เริ่มฟื้นตัวช้ากว่า โดยการส่งออกไปตลาดสหรัฐฯ ASEAN5 และ CLMV ขยายตัวได้ดีตั้งแต่ต้นปี การส่งออกเริ่มมีสัญญาณหดตัวในไตรมาส 4 ตามทิศทางเศรษฐกิจโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ และ CEIC แหล่งที่มาของการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก (10 เดือนแรกของปี 2022) หน่วย : การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ย Q3 ปี 2022 เทียบค่าเฉลี่ยปี 2016-2019 การส่งออกของไทยเทียบประเทศเพื่อนบ้าน หน่วย : %YOY, custom basis, 3MMA 9.1 -40 -20 0 20 40 60 80 100 120 01/2020 03/2020 05/2020 07/2020 09/2020 11/2020 01/2021 03/2021 05/2021 07/2021 09/2021 11/2021 01/2022 03/2022 05/2022 07/2022 09/2022 11/2022 Hong Kong India Japan Malaysia Singapore South Korea Taiwan Thailand Vietnam ทอง อั ญ มณี ฯ หั ก ทอง น ้ า มั น ส าเร็ จ รู ป น ้ า ตาลทราย อากาศยานฯ ผลไม้ ตลั บ ลู ก ปื น รถยนต์ ฯ อื ่ น ๆ ส่ ง ออกรวม U.S.A. ASEAN5 CLMV Others India ME EU28 Australia Japan Hong Kong China Total 9.1
  19. 19. เศรษฐกิจไทย 19 SCB EIC Monthly : December 2022 ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลสูงต่อเนื่องจากปีก่อน แต่มีแนวโน้มปรับดีขึ้นตามการฟื้นตัวของรายได้ท่องเที่ยวตั้งแต่ ไทยเริ่มเปิดประเทศเดือน ก.ค. รวมถึงค่าระวางเรือที่ลดลงมาก ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทย หน่วย : ล้านบาท เครื่องชี้ค่าระวางเรือขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ หน่วย : ดัชนี (1 ม.ค. 1998 = 1,000) หน่วย : ดัชนี (weighted avg. of 12 regional routes, USD/FEU) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย Freightos, JP Morgan, Shanghai Shipping Exchange และ CEIC -700,000 -600,000 -500,000 -400,000 -300,000 -200,000 -100,000 0 100,000 200,000 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Trade Balance Services, Primary Income, and Secondary Income Current Account (Month) Current Account (YTD) ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมาเกินดุล 2 เดือนติดต่อกันหลังจากขาดดุล ติดต่อกัน 5 เดือน และคาดว่าจะเกินดุลต่อเนื่องตั้งแต่ Q4 แต่ในภาพรวมคาดขาดดุลสะสมสูงกว่าปี 2021 500 2500 4500 6500 8500 10500 12500 400 900 1400 1900 2400 2900 3400 3900 Jan-19 Mar-19 May-19 Jul-19 Sep-19 Nov-19 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 China Containerized Freight Index (CCFI) Freights Baltic Index (FBX) (RHS) ค่าขนส่งสินค้าทางเรือมีแนวโน้มปรับลดลง (1) ความต้องการขนส่งชะลอลง (2) Supply bottleneck การขนส่งคลี่คลาย (3) ค่าน้ามันเชื้อเพลิงปรับลดลง ข้อมูลล่าสุด16/12/2022
  20. 20. เศรษฐกิจไทย 20 SCB EIC Monthly : December 2022 การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องในปีนี้ บางอุตสาหกรรมฟื้นตัวสูงกว่าช่วงก่อน COVID-19 เช่น ยานยนต์ และเครื่องจักร ประกอบกับมีเม็ดเงินลงทุน FDI กลับเข้าไทยหลังผ่านวิกฤต COVID-19 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, ASEAN FDI database และ CEIC อัตราการใช้กาลังการผลิต (CapU) และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ยังฟื้นไม่เต็มที่ หน่วย : การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ย 3 เดือนล่าสุด เทียบค่าเฉลี่ยปี 2016-2019 มูลค่าการลงทุน FDI ในอาเซียนกลับมาหลังเปิดประเทศจาก COVID-19 หน่วย : %Nominal GDP, เฉลี่ยรายไตรมาส 30 60 90 Motor Vehicles Machinery Basic Pharma CapU Leather Electronic OTMM Motorcycles Food Electrical Paper Rubber & Plastic Other Manu Beverages Fabricated Metal Petroleum Basic Metal Wearing Apparel Furniture Chemicals Tobacco Textiles 2016-2019 avg. Latest 3M avg. 50 75 100 125 Basic Pharma Motor Vehicles Machinery Leather Petroleum Electronic Paper Electrical OTMM Other Manu MPI Food Motorcycles Rubber & Plastic Beverages Chemicals Furniture Fabricated Metal Basic Metal Tobacco Wearing Apparel CapU MPI -5 0 5 10 15 20 25 30 Singapore Cambodia Laos Malaysia Vietnam Philippines Thailand Indonesia Brunei Myanmar 2018 2019 2020 2021 2022H1 • ปี 2020 FDI ของประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียนลดลงจาก COVID-19 ไทยเป็นประเทศเดียวในอาเซียนที่ Net FDI เป็นลบจากการถอนทุน ของ Tesco และ Chevrolet • ปี 2021 FDI ไทยเพิ่มขึ้นมาก แต่ยังต่ากว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียน • ช่วงครึ่งแรกของปี 2022 FDI ไทยปรับลดลงมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ยานยนต์ ขณะที่ FDI อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ขยายตัวได้ดี
  21. 21. เศรษฐกิจไทย 21 SCB EIC Monthly : December 2022 ตลาดที่อยู่อาศัยกลับมาเติบโตดีใน กทม. ปริมณฑล และต่างจังหวัด ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและกาลังซื้อ แต่ภาวะเงินเฟ้อ หนี้ครัวเรือน และต้นทุนก่อสร้าง ที่อยู่ในระดับสูงเป็นปัจจัยกดดันการฟื้นตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ REIC, AREA และธนาคารแห่งประเทศไทย หน่วยโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยทั่วประเทศ หน่วย : พันหน่วย 2% 15% 20% 26% 47% 7% 2022E 21% 2% 26% 15% 344 2020 8% 51% 3% 16% 2021 52% 8% 15% 392 2019 47% 2% 394 7% 374 -8% +15% ต่างจังหวัด BMR-ทาวน์เฮาส์ BMR-บ้านเดี่ยว BMR-บ้านแฝด BMR-คอนโด ดัชนีราคาที่อยู่อาศัยใน กทม.-ปริมณฑล หน่วย : %YOY 13 26 10 7 32 8 2019 29 2020 5 23 2021 7 12 48 2022E 94 26 8 66 23 118 73 60 -17% +55% บ้านแฝด บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮาส์ คอนโด หน่วยที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่ใน กทม.-ปริมณฑล หน่วย : พันหน่วย -10 15 -5 0 5 10 07/19 01/19 01/18 07/18 01/20 07/20 01/21 07/21 01/22 07/22 10/22 บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮาส์ คอนโด หน่วยที่อยู่อาศัยเหลือขายสะสมใน กทม.-ปริมณฑล หน่วย : พันหน่วย 0 20 40 60 80 100 2022E 2019 2021 2018 2020 88 70 49 คอนโด ทาวน์เฮาส์ บ้านเดี่ยวบ้านแฝด ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2022 กลับมาฟื้นตัว ทั้งกทม. ปริมณฑล และต่างจังหวัด กทม.-ปริมณฑล : • การโอนที่อยู่อาศัยแนวราบเติบโตได้ดีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบ้านเดี่ยว และบ้านแฝด • หน่วยที่อยู่อาศัยเปิดใหม่ และหน่วยที่อยู่อาศัยขายได้ทุกประเภทเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะคอนโดราคาต่ากว่า 3 ล้านบาท โดยกาลังซื้อที่เริ่มฟื้นตัวทาให้ ที่อยู่อาศัยราคาต่า รวมถึงที่อยู่อาศัยมือสองได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นมาก • หน่วยเหลือขายสะสมที่อยู่อาศัยแนวราบลดลงต่อเนื่องในอัตราน้อยลง กว่าปีก่อน • ดัชนีราคาที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในอัตราค่อยเป็นค่อยไป ส่วนหนึ่งจาก ต้นทุนก่อสร้างเพิ่ม โดยราคาที่อยู่อาศัยแนวราบขยายตัวดีกว่าคอนโด ต่างจังหวัด : การโอนที่อยู่อาศัยแนวราบขยายตัวดีจากการฟื้นตัวของกาลังซื้อกลุ่ม Real demand ส่วนคอนโดฟื้นตัวดีจากฐานต่า แต่ยังต้องติดตามสถานการณ์ในจังหวัดท่องเที่ยว ปัจจัยบวก - เศรษฐกิจและกาลังซื้อฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป - มาตรการลดค่าธรรมเนียมการโอนและจดจานองและมาตรการผ่อนคลาย LTV - การผ่อนคลายการเดินทางเข้าประเทศของชาวต่างชาติในช่วงกลางปี 2022 - การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายต่าง ๆ ปัจจัยลบ - เงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนสูง - ต้นทุนการก่อสร้างสูงขึ้น ทั้งที่ดินและวัสดุก่อสร้าง 3.4 3.6 -1.7
  22. 22. เศรษฐกิจไทย 22 SCB EIC Monthly : December 2022 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย Oxford University, Global Change Data Lab และ CEIC ระดับความเข้มงวดในการควบคุมโรค (Oxford stringency index) หน่วย : 100 = เข้มงวดสูงสุด ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน หน่วย : ดัชนี (2019Q4 = 100), ปรับฤดูกาล การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องตาม Pent-up demand และการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค หน่วย : ดัชนี > 100, แสดงว่าผู้บริโภคมีความเห็นว่าภาวการณ์จะดีขึ้นหรืออยู่ในระดับดี 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 1/1/2020 3/1/2020 5/1/2020 7/1/2020 9/1/2020 11/1/2020 1/1/2021 3/1/2021 5/1/2021 7/1/2021 9/1/2021 11/1/2021 1/1/2022 3/1/2022 5/1/2022 7/1/2022 9/1/2022 11/1/2022 76.9 75.9 5.6 29.6 เดลตา โอมิครอน ผ่อน คลาย มาตรการ ยกเลิก พ.ร.ก. ฉุกเฉิน 0 50 100 150 60 80 100 120 10/2019 03/2020 08/2020 01/2021 06/2021 11/2021 04/2022 09/2022 PCI Non-Durables Semi-Durables Durables Services Index Non-Residents Exp (แกนขวา) 47.9 20 40 60 80 100 01/2016 01/2017 01/2018 01/2019 01/2020 01/2021 01/2022 CCI CCI: Present CCI: Future
  23. 23. เศรษฐกิจไทย 23 SCB EIC Monthly : December 2022 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากรายได้ภาคเกษตรที่ขยายตัวสูง สอดคล้องกับผลผลิตและราคาสินค้าเกษตรสาคัญหลายชนิด ที่ขยายตัวดี เช่น ข้าว ยางพารา สุกร ไก่ ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง และอ้อย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร อัตราการเติบโตของดัชนีรายได้ ราคา และผลผลิตเกษตร หน่วย : %YOY คาดการณ์อัตราการเติบโตเศรษฐกิจโลก (World GDP growth) หน่วย : %YOY -20 -10 0 10 20 30 40 50 Apr-22 Jun-21 Feb-21 Jan-21 Mar-21 Apr-21 Mar-22 May-21 Jul-21 Aug-21 Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 May-22 Feb-22 Sep-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Oct-22 ราคา รายได้ ผลผลิต ดัชนี 10M22 (%YOY) ราคา 11.9 ผลผลิต 4.1 รายได้ 16.5 สินค้าเกษตร น้าหนัก ผลผลิต ราคา ข้าวเปลือก 24.28% 17.7% 5.0% ยางพารา 15.05% 1.6% 5.0% สุกร 10.67% -3.6% 36.0% ทุเรียนหมอนทอง 9.08% -3.5% -6.0% ไก่รุ่นพันธุ์เนื้อ 7.06% 1.0% 28.0% ปาล์มน้ามัน 5.32% 5.5% 29.0% มันสาปะหลัง 3.94% -2.9% 23.0% อ้อย 3.43% 32.7% 16.0% ไข่ไก่คละ 3.17% -1.6% 14.0% โคเนื้อ 3.09% 68.0% 3.0% กุ้งขาวแวนนาไม 2.89% -1.6% 12.0% ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2.70% -0.4% 19.0% มะม่วง 2.21% 2.3% 32.0% ลาไย 1.92% -1.9% -20.0% สับปะรดโรงงาน 1.27% -0.5% 3.0% มังคุด 1.00% -7.9% -32.0% สินค้าเกษตร น้าหนัก ผลผลิต ราคา มะพร้าว 0.52% 6.0% -13.0% ส้มเขียวหวาน 0.39% 10.1% 1.0% เงาะโรงเรียน 0.39% -6.4% 35.0% หอมแดง 0.30% -5.8% 18.0% กระเทียม 0.23% -17.1% 11.0% ลองกอง 0.18% -45.2% 19.0% ถั่วเขียว 0.16% -2.5% -8.0% มันฝรั่ง 0.13% -6.1% -4.0% เมล็ดกาแฟ 0.11% -19.0% 2.0% กล้วยหอม 0.11% 0.7% -1.0% ถั่วลิสง 0.11% -0.9% -5.0% กล้วยไม้ 0.11% 15.6% 170.0% ลิ้นจี่ 0.08% 31.4% -18.0% ถั่วเหลือง 0.03% 2.7% 7.0% หอมหัวใหญ่ 0.02% -11.3% 53.0% พริกไทย 0.01% -28.2% 7.0% ปัจจัยหนุนการเพิ่มขึ้นของ ผลผลิตและราคาสินค้า เกษตรในปี 2022 - ปริมาณน้าฝนเพียงพอ - เศรษฐกิจโลกทยอยฟื้นตัว - ราคาน้ามันสูงขึ้น - สงครามรัสเซีย- ยูเครน - นโยบายควบคุมการ ส่งออกน้ามันปาล์มดิบของ อินโดนีเซียและข้าวของ อินเดีย
  24. 24. เศรษฐกิจไทย 24 SCB EIC Monthly : December 2022 ภาพรวมตลาดแรงงานไทยทยอยฟื้นตัว แม้ยังไม่ถึงระดับก่อน COVID-19 ช่วยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนได้ ครัวเรือนไทยยังคงมีหนี้สูงจะเป็นปัจจัยกดดันการบริโภคภาคเอกชนในระยะข้างหน้า หมายเหตุ : **สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ของไทยเป็นข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ ขณะที่สัดส่วนของประเทศอื่นเป็นข้อมูลจาก Bank of International Settlement (BIS) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย, สานักงานสถิติแห่งชาติ, สานักงานประกันสังคม และ BIS จานวนผู้มีงานทา (ตามระดับการทางานรายอุตสาหกรรม เปรียบเทียบปี 2021 และ 2019) หน่วย : พันคน สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP หน่วย : % -1,000 -500 0 500 1,000 1,500 2,000 0 ชั่วโมง 1 ถึงไม่เกิน 35 ชม. 35 ถึงไม่เกิน 50 ชม. ตั้งแต่ 50 ชม. ขึ้นไป จ้างงานรวม เกษตร การผลิต ก่อสร้าง โรงแรมและร้านอาหาร ค้าส่ง-ค้าปลีก บริการอื่น ๆ (เพิ่ม 0.1 ล้าน) (เพิ่ม 0.4 ล้าน) (เพิ่ม1.5 ล้าน) (ลด 0.5 ล้าน) (เพิ่ม 1.4 ล้าน) การจ้างงานรวมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจากการทางาน เต็มเวลา คนทางานต่าระดับเพิ่มขึ้น ในภาคเกษตร จานวนคนทางาน ล่วงเวลาลดลงใน เกือบทุกสาขาธุรกิจ โดยเฉพาะในภาค เกษตรและการผลิต จานวนคนทางาน Full-time ปรับเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในภาคค้าส่ง-ค้าปลีก บริการ อื่น ๆ และการผลิต 5 15 13 16 17 19 19 29 34 35 30 31 37 56 68 80 4 13 14 16 17 20 21 30 30 35 35 34 36 62 69 88 0 25 50 75 100 Argentina Turkey Saudi Arabia Mexico Indonesia Hungary Russia Colombia Poland South Africa Brazil Czechia India China Malaysia Thailand* สิ้นปี 2019 (ก่อน COVID-19) สิ้น 2022Q2 (ล่าสุด) ไทยมีสัดส่วนหนี้ครัวเรือนสูงสุดในกลุ่มประเทศกาลัง พัฒนา หากรวมประเทศพัฒนาแล้ว ไทยจัดอยู่ใน อันดับ 10 จาก 43 ประเทศที่มีการรายงานข้อมูลกับ BIS
  25. 25. เศรษฐกิจไทย 25 SCB EIC Monthly : December 2022 ภาครัฐช่วยตรึงราคาพลังงานในประเทศไว้ เพื่อไม่ให้ราคาสูงมากตามราคาพลังงานในตลาดโลก ทาให้ผลกระทบ ต่อเงินเฟ้อไทยถูกจากัดไว้บางส่วน หมายเหตุ : ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ สัปดาห์ที่สองของเดือน ธ.ค. 2022 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ EPPO, ERC, CEIC และสานักข่าวต่าง ๆ ราคาน้ามันดีเซลและน้ามันเบนซินหน้าสถานีบริการ หน่วย : บาทต่อลิตร ราคาก๊าซหุงต้มถัง 15 กิโลกรัม (LPG) หน่วย : บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม อัตราค่าไฟฟ้าผันเเปร (Ft) หน่วย : สตางค์ต่อหน่วย 10 20 30 40 50 2018 2019 2020 2021 2022 Gasohol 95 E10 H-Diesel 300 320 340 360 380 400 420 2018 2019 2020 2021 2022 -50 0 50 100 2018 2019 2020 2021 2022 ภาครัฐกาหนดเพดานราคาน้ามันดีเซล เพื่อลดผลกระทบราคาน้ามันแพงต่อ เศรษฐกิจ เนื่องจากน้ามันดีเซลถูกใช้ใน รถขนาดใหญ่ที่ใช้ขนส่งสินค้าเป็นหลัก ภาครัฐกาหนดมาตรการช่วยเหลือค่า Ft ให้ผู้ใช้ไฟฟ้ากลุ่มเปราะบาง ภาครัฐตรึงราคาก๊าซหุงต้มถัง 15 กก. มาโดย ตลอด เพื่อไม่ให้ความผันผวนของราคา ในตลาดโลกกระทบค่าครองชีพ • ในปี 2022 ราคาน้ามันในตลาดโลกดีดตัวสูง เพดานราคาน้ามัน ดีเซลที่กาหนดไว้ 30 บาทต่อลิตร (ตั้งแต่ปี 2009) ทาให้บัญชี กองทุนน้ามันติดลบอย่างมาก รัฐบาลจึงปรับเพดานเป็น 35 บาทต่อลิตรเพื่อบรรเทาภาระกองทุนน้ามัน • ในปัจจุบันกองทุนน้ามันติดลบราว 130,000 ล้านบาท (สูงสุดเป็น ประวัติการณ์) และเนื่องจากราคาน้ามันในตลาดโลกสูงและ ค่าเงินบาทอ่อนมากในปีนี้ • แม้ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) ในตลาดโลกผันผวนมาก แต่ภาครัฐได้ตรึงราคาก๊าซหุงต้มถัง 15 กก. ที่ใช้ในภาค ครัวเรือนมาโดยตลอด เพื่อลดผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือน ส่งผลให้กองทุนน้ามันต้องแบกภาระต้นทุนสูง • ในปี 2022 ราคา LPG ปรับขึ้นสูงมากและกองทุนน้ามันมี ข้อจากัดในการหนุนราคาของก๊าซหุงต้ม ภาครัฐจึงปรับขึ้น การตรึงราคาก๊าซหุงต้มอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ 408 บาท ต่อถัง 15 กก. • อัตราค่าไฟฟ้าปลีกเฉลี่ยของทุกกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าปรับเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องตลอดปี 2022 ผ่านการปรับค่า Ft เพื่อสะท้อน ต้นทุนเชื้อเพลิงที่แท้จริง ณ สิ้นปี 2022 ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.7 บาทต่อหน่วย (kWh) โดยที่ผ่านมา ERC ทยอยปรับ FT ขึ้นอย่างค่อยเป็น ค่อยไปเพื่อชะลอผลกระทบต่อผู้ใช้ไฟ รวมถึงมีการใช้งบ กลางเพื่ออุดหนุนกลุ่มเปราะบางบางส่วน
  26. 26. เศรษฐกิจไทย 26 SCB EIC Monthly : December 2022 เงินเฟ้อในปี 2022 เร่งตัวสูงจากราคาพลังงาน รวมถึงราคาอาหารสดและอาหารสาเร็จรูปที่ปรับขึ้นจากการทยอย ส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิต อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อทั่วไปผ่านจุดสูงสุดแล้วในไตรมาส 3 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ และ CEIC อัตราเงินเฟ้อรายกลุ่มสินค้าสาคัญ สินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงของราคาสูงและต่าสุด 5 อันดับแรกของปี 2022 หน่วย : %YTD %YOY Share 2021 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 YTD รวมทุกรายการ 100% 1.2% 7.7% 7.6% 7.9% 6.4% 6.0% 5.5% 6.1% หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 40.4% -0.1% 6.4% 8.0% 9.4% 9.8% 9.6% 8.4% 6.7% อาหารสด 20.6% -1.0% 5.9% 7.8% 10.3% 11.0% 10.5% 8.1% 6.6% เนื้อสัตว์ 3.5% 2.3% 24.3% 25.0% 26.0% 27.1% 26.4% 23.5% 21.2% อาหารบริโภค-ในบ้าน 8.7% 0.4% 7.3% 8.7% 8.9% 9.3% 9.5% 9.7% 7.3% อาหารบริโภค-นอกบ้าน 6.7% 0.5% 6.5% 8.4% 8.5% 8.8% 8.8% 9.2% 6.8% หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า 2.2% -0.3% 0.1% 0.1% 0.1% 0.2% 0.2% 0.3% 0.0% หมวดเคหสถาน 23.2% -1.7% 6.8% 8.4% 8.6% 3.5% 3.6% 3.5% 4.9% ไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง 5.5% -7.3% 33.0% 43.5% 43.9% 13.2% 13.2% 13.2% 21.6% หมวดการตรวจรักษา บริการส่วนบุคคล 5.7% 0.2% 0.9% 0.9% 1.5% 1.5% 1.6% 1.9% 1.1% หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร 22.7% 7.7% 14.8% 10.2% 8.5% 6.4% 4.8% 4.9% 9.4% หมวดการบันเทิงการอ่านศึกษาการศาสนา 4.5% -0.4% 0.1% 0.3% 1.1% 1.2% 1.3% 1.4% 0.1% หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ 1.4% 0.3% 2.2% 2.3% 2.4% 2.5% 1.9% 1.4% 2.1% ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 67.1% 0.2% 2.5% 3.0% 3.1% 3.1% 3.2% 3.2% 2.4% 14% 21% 24% 25% 32% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% ไข่ไก่ น้ามันและไขมัน เนื้อสัตว์ เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ ไฟฟ้า เงินเฟ้อสูงสุด 5 รายการ -3% -2% -1% -1% -1% -4% -3% -2% -1% 0% ข้าว อุปกรณ์สันทนาการ ความบันเทิง ค่าเล่าเรียนระดับมหาวิทยาลัย ค่าเล่าเรียนระดับอนุปริญญา เงินเฟ้อต่าสุด 5 รายการ เงินเฟ้อไทยเดือน ต.ค. 2022 อยู่ที่ 6%YOY จัดอยู่ในอันดับ 105 จาก 132 ประเทศที่ประกาศตัวเลขเงินเฟ้อ
  27. 27. เศรษฐกิจไทย 27 SCB EIC Monthly : December 2022 ภาพรวมของธุรกิจในปี 2022 เติบโตในลักษณะ Uneven โดยกลุ่มธุรกิจที่ฟื้นตัวเร็ว คือกลุ่มที่ตอบโจทย์การฟื้นตัว ของการบริโภค และสอดรับเมกะเทรนด์โลก ขณะที่กลุ่มที่ฟื้นช้าคือกลุ่มที่ถูกกระทบจากราคาโภคภัณฑ์สูง และเศรษฐกิจโลกชะลอตัว รวมทั้งกลุ่มที่ถูก Disrupt จากเมกะเทรนด์ต่าง ๆ กลุ่มธุรกิจที่เติบโตดีต่อเนื่องและฟื้นตัวค่อนข้างเร็ว ✓กลุ่มที่ตอบโจทย์การฟื้นตัวของการบริโภค โดยเฉพาะสินค้า จาเป็น เช่น อาหารและเครื่องดื่ม และกลุ่มที่ได้อานิสงส์จาก Pent-up demand เช่น การท่องเที่ยวในประเทศ ✓กลุ่มที่เติบโตสอดรับเมกะเทรนด์ของโลก (อาทิ Digital, Health, Eco-friendly และ Sustainability) กลุ่มธุรกิจที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป ✓กลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับภาคท่องเที่ยวจากการเปิด ประเทศแต่ยังมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลก ที่ชะลอตัว ✓กลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับการบริโภคสินค้าไม่จาเป็น และสินค้าคงทน ✓กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากการลงทุนภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการเมกะโปรเจกต์ กลุ่มธุรกิจที่ฟื้นตัวช้าและยังมีความเสี่ยง/ปัจจัยลบค่อนข้างมาก ✓กลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับราคาพลังงาน ซึ่งทิศทางราคายังมีแนวโน้ม ผันผวนและทรงตัวอยู่ในระดับสูง ✓กลุ่มที่พึ่งพาการส่งออกสูง (High export dependency) และได้รับ ผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ✓กลุ่มที่ยังมีความเสี่ยงจากปัญหา Supply chain disruption ✓กลุ่มที่ถูก Disrupt จากเมกะเทรนด์ต่าง ๆ และต้องใช้ระยะเวลาในการ ปรับตัว Grocery retail F&B, Restaurant Public construction Domestic travel E-commerce & related businesses Healthcare & healthcare products Agri & fruits Electronic components Residential real estate Building material (Cement, paint, tile) Foreign travel & medical tourism Non-grocery retail Oil Petrochemical Transport & Logistics Commercial real estate Industrial estate Power Steel Computer, HDD Automotive ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
  28. 28. ตลาดการเงิน
  29. 29. ตลาดการเงิน 29 SCB EIC Monthly : December 2022 -10 20 50 80 110 140 170 0 20 40 60 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Stock market volatility: VIX index Bond market volatility: MOVE index (แกนขวา) 0 1 2 3 5 7 9 11 13 15 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 FX Volatility US Treasury market liquidity index (แกนขวา) ตลาดการเงินโลกในปี 2022 ผันผวนสูงมาก เป็นผลจากความไม่แน่นอนของนโยบายและเศรษฐกิจโลก ภาวะการเงิน โลกตึงตัวตามทิศทางนโยบายการเงินในโลก ราคาสินทรัพย์เสี่ยงลดลงมากตั้งแต่ต้นปี ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg ความผันผวนในตลาดการเงิน หน่วย : ดัชนี สภาพคล่องในตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ลดลง อัตราแลกเปลี่ยนผันผวนมาก หน่วย : ดัชนี High volatility VIX>20 = Risk off High volatility, less liquidity ภาวะการเงินโลกในปี 2022 ตึงตัวขึ้น หน่วย : ดัชนี ราคาสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกปรับตัวลดลงมากในปีนี้ หน่วย : %Change YTD (ข้อมูล ณ 13 ธ.ค. 2022) -6 -4 -2 0 2 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 US EU UK Global Financial condition tightened -63 -29 -22 -17 -17 -16 -11 -7 -2 -70 -50 -30 -10 Bitcoin NASDAQ MSCI EM MSCI World S&P500 Hang seng EU Dow Jones SET Index
  30. 30. ตลาดการเงิน 30 SCB EIC Monthly : December 2022 อัตราดอกเบี้ยนโยบายไทยปรับขึ้นช้ากว่าต่างประเทศ ทยอยขึ้น 3 ครั้งในครึ่งหลังของปี จาก 0.5% เป็น 1.25% ณ สิ้นปี อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวสูงขึ้นทั่วโลก ตามทิศนโยบายการเงินและสภาพคล่องระบบการเงินโลกตึงตัวขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg อัตราดอกเบี้ยนโยบาย หน่วย : % ขนาดงบดุลของธนาคารกลางประเทศเศรษฐกิจหลัก หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การเปลี่ยนแปลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ในปี 2022 หน่วย : BPS (YTD Change) 1.25 0 1 2 3 4 5 6 7 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 South Korea Thailand Vietnam India Indonesia US Philippines UK 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Fed ECB BoJ 265 209 75 0 50 100 150 200 250 300
  31. 31. ตลาดการเงิน 31 SCB EIC Monthly : December 2022 เงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นมากตั้งแต่ต้นปี สาเหตุหลักจาก Fed เร่งขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง กดดันให้ค่าเงินสกุลต่าง ๆ ทั่วโลกอ่อนค่าเร็ว แต่เริ่มปรับอ่อนค่าในไตรมาส 4 หลัง Fed ส่งสัญญาณชะลอการขึ้นดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบต่อดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % (ข้อมูล ณ 13 ธ.ค. 2022) Dollar index อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และ Fed funds rate หน่วย : ดัชนี หน่วย : % -9.0% -4.5% -7.3% -16.4% -8.6% -5.9% -9.9% -9.0% -3.6% -9.9% -8.7% 9.7% 9.6% 8.9% 7.6% 5.1% 5.1% 4.7% 3.4% 1.9% 0.8% -1.4% -2.6% -6.4% -20% -15% -10% -5% 0% 5% 10% 15% Korea Thailand Europe Japan Philippines Malaysia Taiwan China Vietnam India Indonesia DXY YTD From Q4 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg 104.8 4.37 0 1 2 3 4 5 85 95 105 115 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 DXY Index 2-year UST (แกนขวา) Fed funds rate (แกนขวา) สาเหตุที่เงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นอย่างมากในปีนี้ • นโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ตึงตัวเร็วและแรง ส่วนต่างดอกเบี้ยของ สหรัฐฯ เทียบต่างประเทศกว้างขึ้น (Interest rate differential) • ค่าเงินหลายสกุลในตะกร้าเงินดอลลาร์สหรัฐ (เช่น เยน ยูโร ปอนด์) อ่อนค่าลง จากปัจจัยเฉพาะแต่ละประเทศ • ความกังวลเศรษฐกิจโลกจะถดถอย นักลงทุนเข้าถือสินทรัพย์ปลอดภัย (Safe haven)
  32. 32. ตลาดการเงิน 32 SCB EIC Monthly : December 2022 เงินบาทอ่อนค่าในปี 2022 โดยเฉพาะช่วงครึ่งปีหลัง สาเหตุหลักจากดอลลาร์สหรัฐแข็ง ในภาพรวมเงินบาทอ่อนค่า สอดคล้องกับสกุลภูมิภาค เงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดการเงินไทย หน่วย : พันล้านบาท (ข้อมูล ณ 13 ธ.ค. 2022) ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) และดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง (REER) หน่วย : ดัชนี ดุลบัญชีเดินสะพัดและค่าเงินบาท หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ -130 -80 -30 20 70 120 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Equity market Bond market Bn THB YTD MTD Equity +175 -9.1 Bond +49 +40 29 31 33 35 37 -5,000 -3,000 -1,000 1,000 3,000 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 ดุลบัญชีเดินสะพัด ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (แกนขวา) เงินบาทอ่อนตามการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 10M22 = -16.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 29 34 39 100 110 120 130 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 NEER REER USDTHB (แกนขวา) เงินบาทอ่อนค่าสอดคล้องสกุลภูมิภาค หน่วย : บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ USDTHB NEER REER %YTD -4.5% 0.3% -0.5% • ค่าเงินบาทในปี 2022 อ่อนค่าลงตั้งแต่ต้นปี จากปัจจัยดังนี้ 1. แรงกดดันเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่า ตามการดาเนินนโยบายการเงินตึงตัวของ Fed 2. เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกจาก EMs และไทย จากความไม่แน่นอนในนโยบายและเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนปรับลดลง 3. การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของไทย • เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น อยู่ในกรอบ 34.5-35 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปี 2022 และ 33-34 ณ สิ้นปี 2023 ตามการอ่อนค่าของดอลลาร์สหรัฐ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย การเกินดุลบัญชีเดินสะพัด และเงินทุนไหลเข้าตลาดการเงินไทย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg
  33. 33. เศรษฐกิจโลก 34 SCB EIC Monthly : December 2022

×