SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ผู้บรรยาย: อาจารย์วาสนา ศรีรักษ์
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ในงานประชาสัมพันธ์และการกระจายเสียง
เมื่อพูดถึง ภาษาไทย กับคนปัจจุบัน..
 ยุคนี้เป็นยุคดิจิทัล การพูดถึง “ภาษาไทย” จะไม่เป็นเรื่องที่ “เชยฉ่า” จนตามเขาไม่ทัน
ละหรือ (‘ ‘ ,)
 เขาจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กันอยู่แล้ว ภาษาไทยที่แสนเชยและ
สุดจะ Local มาเกี่ยวอะไรด้วย (^^”)
 โอ๊ย! นี่ป้าจะมาบังคับให้ฉันนั่งออกเสียง /ร/ /ล/ และคาควบกล้าให้ชัดใช่ไหมจ๊ะ?
 อย่าบอกนะ ว่าจะให้ฉันมาหัดท่องโคลง ฉันท์ กาพย์กลอน ร่าย โอ๊ย.. ท่านสุนทรภู่ตาย
ไปจะครบ ๒๐๐ ปีแล้วนะจ๊ะ (-*-)
 อย่านะ อย่าเชียว อย่าบอกว่า ต่อไปจะให้ฟังแต่เพลงลูกทุ่ง เพลงไทยเดิม แล้วก็สุนทรา
ภรณ์ที่ออกเสียงภาษาไทยชัดเด๊ะเป๊ะเวอร์เท่านั้นอ้ะ (-..-)
โอย.. เป็นลมดีกว่า
คาถาม..... ที่ครูภาษาไทยมักจะต้องตอบ
 ๑. ในการพูดเพื่อประชาสัมพันธ์ต้อง
ใช้ภาษาระดับทางการเท่านั้นหรือคะ
 ๒. หนูจาเป็นจะต้องออกเสียง
ร ล คาควบกล้าชัดเป๊ะขนาดนั้นเลย
เหรอคะ คนฟังไม่เบื่อแย่เหรอคะ
 ๓. ป๋ มอยากใช้ภาษาวัยรุ่นออกอากาศ
บ้างอ้ะคร้าฟ มันแนวดี ป๋ มใช้ได้ไหม
ฮ้าฟ
 ๔. เสียงดิฉันแหบแถมยังไม่เพราะ
ดิฉันเป็นนักประชาสัมพันธ์ได้ไหม
คะ แต่ดิฉันออกเสียง ร ล ชัดเป๊ะเลย
นะคะ
 ๕. หนูติดสาเนียงภาษาเมือง เพื่อนหนู
ติดสาเนียงทองแดง อีกคนติดสาเนียง
อีสาน หนูจะทายังไงดีคะ
 ๖. คาว่า มัน กับคาว่า กิน เป็นคาไม่
สุภาพต้องใช้คาว่า “เค้า” กับ “ทาน”
ชิมิคะ
แล้วปัจจุบันเราควรจะใช้ภาษาไทย
อย่างไรกันแน่?
ข้อตกลงเบื้องต้น
สิ่งที่ต้องทาความเข้าใจร่วมกัน
ภาษาไทยเป็น
“เครื่องมือ” ในการ
สื่อสาร
ภาษาไทยเป็น
ส่วนหนึ่งใน
“องค์ประกอบ
ของการสื่อสาร”
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผู้รับ
สาร
การตอบสนองสาร
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผู้รับสาร
การตอบสนองสาร
(ปฏิกิริยาที่มีต่อสาร)
-เครื่องมือ
-ภาษา
นัก
ประชาสัมพันธ์
กลุ่มผู้รับ
ข่าวสาร
“สื่อ” ในแผนผังของการสื่อสาร
เครื่องมือในการสื่อสาร ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
 อุปกรณ์กระจายเสียง
 เครื่องขยายเสียง
 อุปกรณ์การสื่อสาร
 อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 ไมโครโฟน
 หูฟัง
 ฯลฯ
ภาษา ประกอบด้วย
 วจนภาษา คือ ภาษาที่เป็นถ้อยคา
 อวจนภาษา คือ ภาษาท่าทาง หรือ ภาษาที่สื่อ
ความหมายโดยไม่ใช้ถ้อยคา ได้แก่ ท่าทาง
กิริยา น้าเสียง หรืออื่นๆ
ความหมายในภาษา ประกอบด้วย
๑. ความหมายตรง
๒. ความหมายโดยนัย หรือความหมายนัย
ประหวัด
ข้อสังเกตการใช้ภาษาในฐานะเป็นสื่อในองค์ประกอบของการสื่อสาร
ภาษาที่เป็นถ้อยคา (วจนภาษา) ภาษาท่าทาง (อวจนภาษา)
การออกเสียง
• ชัดเจน
• ถูกต้อง
การใช้ถ้อยคา
• ความหมายตรง
• ความหมายโดยนัย
การใช้ประโยค
• โครงสร้างประโยค
• ความต่อเนื่องของประโยค
• การเชื่อมโยงเนื้อความในแต่ละประโยค
ท่าทาง
• กิริยา
• มารยาท
น้าเสียง
• วิธีการออกเสียง
• การใช้เสียง
น้าเสียง
• การใช้เสียงแสดงความหมายตรง
• การใช้เสียงแสดงความหมายโดยนัย
 การออกเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ ให้ชัดเจน
 เสียงพยัญชนะ ได้แก่ เสียงพยัญชนะต้นเดียว เสียงพยัญชนะควบกล้า เสียง
พยัญชนะท้าย หรือตัวสะกด
 เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระแท้ เสียงสระผสม และเสียงสระไม่แท้
 เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา
ข่าวสารที่นาเสนอ
ผู้ฟังนักประชาสัมพันธ์
สิ่งที่นักประชาสัมพันธ์ต้องตระหนัก..
ระดับภาษา
ภาษาระดับทางการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ
ภาษาพูด
• ข่าวสารทั่วไป
• ข่าวด่วน
• งานที่ต้องการผล
ตอบรับตามเวลา
รูปแบบการประชาสัมพันธ์
• โอกาสปรกติ
• โอกาสพิเศษ
โอกาส
• วัย, เพศ
• สถานภาพ
• สถานการณ์
กลุ่มผู้ฟัง (เป้าหมาย)
ทักษะการใช้ภาษาไทย
อ่าน เขียน
ฟัง พูด
ข้อควรคิดเมื่อใช้ทักษะการพูด
ไม่มีใครรู้ว่าคุณเป็นอย่างไร ..
จนกว่าคุณจะเอ่ยปากพูดออกมา
ตัวอย่าง
๑. ถ้าพูดสุภาพเรียบร้อย ใช้ภาษาระดับทางการ มีคาลงท้าย (ค่ะ, ครับ)
หมายความว่า ผู้พูดจัดว่าผู้ฟังเป็นผู้มีเกียรติ เป็นผู้ควรเคารพ เป็นผู้มี
การศึกษา เป็นผู้รู้ เป็นผู้มียศตาแหน่ง ฯลฯ
๒. ถ้าพูดภาษาถิ่น (ระดับภาษาพูด ถึงระดับภาษากึ่งทางการ - สังเกตจากคา
สรรพนาม) หมายความว่าผู้พูดกาลังพูดหรือสื่อสารกับผู้ที่ใช้ภาษาถิ่นนั้นๆ
เป็นหลัก และ/หรือ มุ่งจะสื่อสารกับผู้ที่สนใจการใช้ภาษาถิ่นนั้นๆ เป็นผล
พลอยได้
๓. อื่นๆ
เป็นต้น
คาตอบ
เลือกใช้“ระดับภาษา” และ “วิธีการพูดเพื่อการสื่อสาร”
ที่เหมาะสม
รู้“กาลเทศะ” และ “มีมารยาท”
ตัวอย่างข้อบกพร่องในการใช้ภาษาไทยที่มักพบ
- ที่นี่ฝนเพิ่งกาลังตก
- ตามหมายกาหนดการคณบดีจะกล่าวเปิดงานในเวลา
๙.๓๐ น.
- อาจารย์วาสนาเก่งในการเล่าเรื่องเก่าๆ มาก
- สตรีสมัยนี้ทางานเก่งไม่แพ้ผู้ชาย
- แม่ทัพแอนโทนี่ได้ฆ่าตัวตาย พระนางคลีโอพัตราจึงได้
ปลิดชีพตายตามไป ขณะพระชนม์ชีพได้เพียง ๓๙ ปีเท่านั้น
-ฯลฯ
ข้อควรระวัง
ตัวอย่างของระดับภาษาที่อาจทาให้เกิดปัญหาในการใช้
ภาษา
 ในมุมมองของครูภาษาไทย การใช้ภาษาลักษณะนี้ เป็นการพยายามให้สุภาพ
เกินกว่าเหตุ ...
 สวัสดีค่ะท่านผู้ฟัง วันนี้ คุณผู้ฟังทานข้าวกลางวันหรือยังคะ
 สุนัขที่เป็นที่นิยมเลี้ยงในปัจจุบัน คือ พันธุ์ชิวาว่า เพราะโดย
ธรรมชาติ เค้าจะเป็นสุนัขตัวเล็กๆ น่ารัก อุ้มไปไหนมาไหนได้
 เวลาจะทาแกงเขียวหวาน ต้องเอาหัวกะทิเคี่ยวในกระทะให้
เดือดและแตกมันก่อน แล้วค่อยใส่เนื้ อหมู เพราะเนื้ อหมูเค้าจะ
ได้มีกลิ่นหอมของกะทิแทรกเข้าไปในเนื้ อ..
 ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้พูด (นัก
ประชาสัมพันธ์) กับผู้ฟัง (ซึ่งผู้พูดอาจไม่
ทราบว่าเป็นผู้ใดบ้าง)
 วัดจาก “ระดับของการใช้ภาษา” “ความ
ถูกต้องของรูปประโยค, คา และสานวน”
“วิธีพูด” “เนื้อหาที่พูด” “การอ้างอิง” ฯลฯ
 การออกเสียงของผู้พูด
 วัดจาก “ความชัดเจน
ในการออกเสียง” ทั้งเสียงพยัญชนะ เสียง
สระ และเสียงวรรณยุกต์
การออกเสียงภาษาไทยที่อาจก่อให้เกิดปัญหา
 การออกเสียง ร ล และคาควบกล้า ร ล ว
 การออกเสียงพยัญชนะที่มีเสียงกึ่งเสียดแทรก ได้แก่ จ ฉ ช ฌ ท ถ ธ
 การออกเสียงพยัญชนะที่มีเสียงเสียดแทรก ได้แก่ ซ ศ ส ษ ฟ ฝ
 การออกเสียงสระผสม ได้แก่ สระเอือะ - เอือ สระเอียะ - เอีย
สระอัวะ – อัว
 การออกเสียงชื่อเฉพาะ ได้แก่ ชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อองค์กร ชื่อ
กิจกรรม ฯลฯ (ต้องตรวจสอบ)
แบบฝึกการออกเสียง ร ล และคาควบกล้า
 รักหนอรักไม่จริงถูกทอดทิ้งใจหาย
 รักหนอรักกลับกลายสิ้นสลายกลายขม
รักหนอรักต้องตรมสุดระทมขมขื่น
 รักหนอรักไม่รอ เฝ้างอนง้อรอฝืน
รักหนอรักไม่คืน ชื่นเป็นช้ากาสรวล
 เราหนอเราเฝ้าครวญ เมื่อรักรวนลับล่วง
 เธอหนอเธอขยี้รักและภักดีของฉัน
 หวังกลายมลายเหมือนฝันฝันลวง
ใจหนอใจภักดีฉันพลีให้เธอทั้งดวง
 โดนรักลวงทั้งทรวงแหลกแล้วเอย
 ลืมหนอลืมเท่าไร เจ็บเพียงไหนใจเอ๋ย
 ลืมมิลืมได้เลย โปรดอย่าเย้ยผู้แพ้
 ใจหนอใจอ่อนแอไม่ผันแปรรักเธอ
เรารักโรงเรียนเรา
เราเร่งเร้าการเล่าเรียน
รับรู้ว่าครูเพียร
เร่งการเรียนให้แก่เรา
ควายไล่ขวิดข้างขวา
คว้าขวานมาไล่ขว้างควายไป
ควายขวางวิ่งวนขวักไขว่
กวัดแกว่งขวานไล่
ล้มคว่าขวางควาย
เงื่อนไข : ให้ออกเสียงทุกคาที่ปรากฏให้ชัดเจน
ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย
เป็นประชารัฐ ไผทของไทยทุกส่วน
อยู่ดารงคงไว้ได้ทั้งมวล
ด้วยไทยล้วนหมายรักสามัคคี
ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่
สละเลือดทุกหยาดเป็นชาติพลี
เถลิงประเทศชาติไทยทวีมีชัย ชโย
เต่าตัวลายเดินย้ายโคลงเคลง กระต่ายฮัมเพลงเดินสวนทางมา
ให้นึกขาขันเจ้าเต่าท้องนา เชื่องช้าดังกับปลิง
มันจึงเปรยแกมเย้ยท้าทาย แข่งความไวกันไหมเจ้าปลิง
เจ้านั้นชักช้าน่าเบื่อเสียจริง ต่อให้วิ่งไปก่อน
เพราะทะนงในตนเกินไป จึงหลงเอนกายพิงไม้พักผ่อน
สายลมโชยหวิวไหวไชชอน กระต่ายเจ้าจึงนอนหลับปุ๋ยเย็นใจ
กระต่ายทะนงลุ่มหลงลืมตน ตื่นมาจนอาทิตย์ลาไป
รีบลุกผลุนผลันดั้นด้นพฤกษ์ไพร แต่ช้าไปแล้วสิ
แบบฝึกออกเสียงสระผสม สระเอีย สระเอือ และสระอัว
 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีสีประจามหาวิทยาลัย คือ “เขียว ขาว เหลือง”
 หากจะเดินทางไปสานักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จากสุดถนนบางเขน
ให้เลี้ยวรถทางด้านขวา ไปจนถึงวัดวิเวการาม ก็เลี้ยวขวาอีกครั้ง
ตลอดเส้นทางจะเห็นทุ่งนาสีเขียว แต่ไม่ต้องกลัวว่าจะหลงทาง
เพราะคุณสามารถขอความช่วยเหลือจากชาวบ้านที่อยู่บริเวณใกล้เคียงสองข้าง
ทางได้เลยค่ะ
 เราจะเดินทางไปด้วยกันโดยรถประจาทาง
คาบอกตาแหน่ง
ศาสตราจารย์ ออกเสียงว่า /สาด – ตรา – จาน/
เทียบกับคาว่า ศาสตราวุธ ออกเสียงว่า /สาด – ตรา –
วุด/
ไม่เทียบกับคาว่า ศาสดา ออกเสียงว่า /สาด – สะ – ดา/
จึงไม่ออกเสียงว่า /สาด – สะ – ตรา – จาน/
เพราะอาจทาให้ออกเสียงผิดเป็น /สาด – สะ – ดา – จาน/
มหาวิทยาลัย
ออกเสียงว่า
/มะ – หา – วิด – ทะ – ยา – ไล/
ไม่ใช่
/มะ – หา – ไล/
หรือ /มะ – หา – ทะ – ไล/ หรือ /หมา – ไล/
ใช้เสียงวรรณยุกต์ผิด
พี่น้องชาวตากค่ะ
ดีใจจังเลยคะ
ที่ได้มาพบกันในวันนี้นะค่ะ
คิดว่าท่านผู้ฟังคงจะยังจาดีเจเสียง
ใสๆ คนนี้ได้อยู่นะค่ะ
 แก้ไขเป็น
พี่น้องชาวตากคะ
ดีใจจังเลยค่ะ
ที่ได้มาพบกันในวันนี้
คิดว่าท่านผู้ฟังคงจะยังจาดีเจเสียง
ใสๆ คนนี้ได้อยู่นะคะ
แก้ไขเบื้องต้น
 แล้วว่าอนิจจาความ
รัก
 พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้าไหล
 ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียว
ไป
 ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
 สตรีใดในพิภพจบแดน
 ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
 ด้วยใฝ่รักให้เกิน
พักตรา
จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์
 โอ้ว่าน่าเสียดายตัว
นัก เ
พราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้าจิต
 จะออกชื่อลือชั่วไปทั่ว
ทิศ เมื่อ
พลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร
อิเหนา ตอนจินตะหราครวญ
 แล้วว่าอนิจจาความรัก
 ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป
 สตรีในพิภพจบแดน
 ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา
 โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก
 จะออกชื่อลือชั่วไปทั่วทิศ
 เพิ่งประจักษ์ดังสายน้าไหล
 ที่ไหนจะไหลคืนมา
 ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
 จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์
 เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้าจิต
 พลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร
การอ่านบทกวี
โปรดมี “สติ” ในการใช้ภาษา
โปรด “แก้ปัญหา”
การใช้ภาษา
ด้วยการ “ตรวจสอบ”
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

More Related Content

What's hot

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
Rodchana Pattha
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
Methaporn Meeyai
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 

What's hot (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 

Similar to ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
luckkhana
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
pong_4548
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
absinthe39
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
Gawewat Dechaapinun
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 

Similar to ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (20)

กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
99
9999
99
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 

More from Similun_maya

บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชนบทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
Similun_maya
 

More from Similun_maya (8)

สงกรานต์-พิธีรดน้ำดำหัวแบบภาคกลาง
สงกรานต์-พิธีรดน้ำดำหัวแบบภาคกลางสงกรานต์-พิธีรดน้ำดำหัวแบบภาคกลาง
สงกรานต์-พิธีรดน้ำดำหัวแบบภาคกลาง
 
พูดอย่างไรให้สง่างาม
พูดอย่างไรให้สง่างามพูดอย่างไรให้สง่างาม
พูดอย่างไรให้สง่างาม
 
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชนบทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
 
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยาแนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
 
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
 

ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร