SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
สะเต็มศึกษากับ
ชีวิตประจาวัน
ครูสิรัชชา มีดวง
โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ลาพูน
เนื้อหา Content
 ทาไมต้องสะเต็มศึกษา
 สะเต็มศึกษา คืออะไร
 การประยุกต์ใช้ความรู ้ 4 สาขาวิชา ในการแก้ปัญหา
 Internet of things
 ระบบสมองกล
ทาไมต้องสะเต็มศึกษา
 ประเทศไทยขาดกาลังคนด้านสะเต็ม (STEM workforce) ที่สอดคล้อง
กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
 นักเรียนเห็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นเรื่องไกลตัว
 ขาดแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
สะเต็มศึกษา คืออะไร
 สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชา
ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนา
ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่
ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต และการทางาน
 คาสาคัญ
 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
 การบูรณาการ
 เชื่อมโยงระหว่าง 4 วิชา กับชีวิตจริงและการทางาน
การออกแบบเชิงวิศวกรรม
การออกแบบเชิงวิศวกรรม vs
กระบวนการทางเทคโนโลยี
• การกาหนดปัญหา
• การรวบรวมข้อมูล
• การเลือกวิธีออกแบบ และ
ปฏิบัติการ
• การทดสอบ
• การปรับปรุงแก้ไข
• การประเมินผล
ที่มา: สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้
MuLtidisciplinary บูรณาการพหุวิทยาการ:
กระติบข้าว
เรียนเนื้อหาและฝึ กทักษะของแต่ละวิชาของสะเต็มแยกกันผ่านหัวข้อหลัก (theme) โดยการอ้างอิงถึงหัวข้อหลักทา
Interdisciplinary บูรณาการสหวิทยาการ :
กระติบข้าว
 วิทยาศาสตร ์- เรียนเรื่องการถ่ายโอนความร้อน
 คณิตศาสตร ์- เรียนเรื่องการหาพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 วิทยาศาสตร ์- นักเรียนทาการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บความร้อนของ
กระติบข้าว (ทดลองและเก็บข้อมูล)
 คณิตศาสตร ์- นาข้อมูลจากการทดลองไปสร้างกราฟและตีความผลการทดลอง
 เทคโนโลยี - ทดลองออกแบบและสร้างลายสานที่เก็บความร้อนได้นาน
 วิศวกรรม - ออกแบบรูปทรงของกระติบที่เก็บความร้อนได้นาน
เรียนเนื้อหาและฝึ กทักษะที่มีความสอดคล้องกันของวิชาที่เกี่ยวข้องร่วมกันผ่าน
การประยุกต์ใช้ความรู ้ 4 สาขาวิชา ในการ
แก้ปัญหา
ปัญหา
ปัจจุบันในร้านอาหารอีสานหรือเหนือ มักมีการใช้
กระติบข้าวเป็ นภาชนะใส่ข้าวเหนียว และมักมีการบรรจุ
ข้าวในถุงพลาสติกก่อนบรรจุลงในกระติบข้าวเพื่อ
ป้ องกันข้าวเหนียวติดค้างที่กระติบมีผลให้ทาความ
สะอาดยาก รัฐบาลต้องการลดปริมาณถุงพลาสติกที่
ต้องใช้ในการบรรจุข้าวเหนียว และต้องการออกแบบ
กระติบข้าวหรือหาวิธีการพัฒนากระติบข้าวที่มี
คุณสมบัติลดการติดของข้าวเหนียวเพื่อลดการใช้
ถุงพลาสติกดังกล่าว
Internet of things
 แนวนิด Internet of Things นั้นถูกคิดขึ้นโดย Kevin Ashton
ในปี 1999 มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of
Technology หรือ MIT
 ต่อมาในยุคหลังปี 2000 โลกมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจานวนมาก
และมีการใช้คาว่า Smart ซึ่งในที่นี้คือ smart device, smart
grid, smart home, smart network,
smart intelligent transportation ต่างๆเหล่านี้ล้วนมีโครงสร้าง
พื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้
 Kevin นิยามมันไว้ตอนนั้นว่าเป็น “internet-like” หรือพูดง่ายๆก็คือ
อุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสื่อสารพูดคุยกันเองได้ ซึ่งศัพท์คาว่า “Things”
ก็แทนอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัยตัว Sensor
สรุป Internet of things
 Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถ
สื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่าง ๆ มี
วิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทางานร่วมกันได้
ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนาไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น
เซ็นเซอร์ภายในบ้านตรวจจับการเคลื่อนไหวของผู้อยู่อาศัย และส่งสัญญาณไปสั่งเปิด/ปิดสวิตซ์ไฟตาม
ห้องต่าง ๆ ที่มีคนหรือไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์วัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย/ผู้สูงอายุและส่งข้อมูลไปยัง
บุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งข้อความเรียกหน่วยกู้ชีพหรือรถฉุกเฉิน เป็นต้น
ระบบสมองกล
ระบบสมองกลเป็นระบบที่ประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทางานของระบบควบคุมอัตโนมัติ ส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์นั้น เรา
สามารถมองเห็นได้ เช่น แผงวงจรควบคุม เซ็นเซอร์ มอเตอร์ ส่วนที่เป็นซอฟต์แวร์นั้น
ได้แก่ ชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อให้ระบบสมองกลทางานตามที่ต้องการ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศAnuchitKongsui
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

La actualidad más candente (20)

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

Destacado

หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่Beerza Kub
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่ายสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การรีดผ้า(Ironing)
การรีดผ้า(Ironing)การรีดผ้า(Ironing)
การรีดผ้า(Ironing)Beerza Kub
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 

Destacado (20)

หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
 
unit1_2
unit1_2unit1_2
unit1_2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษาประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
 
การรีดผ้า(Ironing)
การรีดผ้า(Ironing)การรีดผ้า(Ironing)
การรีดผ้า(Ironing)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
stem
stemstem
stem
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 

Similar a สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน

2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำcharintip0204
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นhoneylamon
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรchuttiyarach
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar a สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน (20)

2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่  3 จุดเน้นที่  3
จุดเน้นที่ 3
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

Más de Siratcha Wongkom

โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13Siratcha Wongkom
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 

Más de Siratcha Wongkom (12)

โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
Scratch final
Scratch finalScratch final
Scratch final
 
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13
Siratcha Wongkom No.00 Class 1/13
 
3.2 social_network
3.2 social_network3.2 social_network
3.2 social_network
 
Internet and web
Internet and webInternet and web
Internet and web
 
2.1 1 google drive
2.1 1 google drive2.1 1 google drive
2.1 1 google drive
 
2.1 1 google drive
2.1 1 google drive2.1 1 google drive
2.1 1 google drive
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1
 
Siratcha
SiratchaSiratcha
Siratcha
 
Siratcha
SiratchaSiratcha
Siratcha
 

สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน

  • 2. เนื้อหา Content  ทาไมต้องสะเต็มศึกษา  สะเต็มศึกษา คืออะไร  การประยุกต์ใช้ความรู ้ 4 สาขาวิชา ในการแก้ปัญหา  Internet of things  ระบบสมองกล
  • 3. ทาไมต้องสะเต็มศึกษา  ประเทศไทยขาดกาลังคนด้านสะเต็ม (STEM workforce) ที่สอดคล้อง กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม  นักเรียนเห็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นเรื่องไกลตัว  ขาดแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
  • 4. สะเต็มศึกษา คืออะไร  สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนา ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต และการทางาน  คาสาคัญ  กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม  การบูรณาการ  เชื่อมโยงระหว่าง 4 วิชา กับชีวิตจริงและการทางาน
  • 6. การออกแบบเชิงวิศวกรรม vs กระบวนการทางเทคโนโลยี • การกาหนดปัญหา • การรวบรวมข้อมูล • การเลือกวิธีออกแบบ และ ปฏิบัติการ • การทดสอบ • การปรับปรุงแก้ไข • การประเมินผล ที่มา: สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้
  • 8. Interdisciplinary บูรณาการสหวิทยาการ : กระติบข้าว  วิทยาศาสตร ์- เรียนเรื่องการถ่ายโอนความร้อน  คณิตศาสตร ์- เรียนเรื่องการหาพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  วิทยาศาสตร ์- นักเรียนทาการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บความร้อนของ กระติบข้าว (ทดลองและเก็บข้อมูล)  คณิตศาสตร ์- นาข้อมูลจากการทดลองไปสร้างกราฟและตีความผลการทดลอง  เทคโนโลยี - ทดลองออกแบบและสร้างลายสานที่เก็บความร้อนได้นาน  วิศวกรรม - ออกแบบรูปทรงของกระติบที่เก็บความร้อนได้นาน เรียนเนื้อหาและฝึ กทักษะที่มีความสอดคล้องกันของวิชาที่เกี่ยวข้องร่วมกันผ่าน
  • 9. การประยุกต์ใช้ความรู ้ 4 สาขาวิชา ในการ แก้ปัญหา ปัญหา ปัจจุบันในร้านอาหารอีสานหรือเหนือ มักมีการใช้ กระติบข้าวเป็ นภาชนะใส่ข้าวเหนียว และมักมีการบรรจุ ข้าวในถุงพลาสติกก่อนบรรจุลงในกระติบข้าวเพื่อ ป้ องกันข้าวเหนียวติดค้างที่กระติบมีผลให้ทาความ สะอาดยาก รัฐบาลต้องการลดปริมาณถุงพลาสติกที่ ต้องใช้ในการบรรจุข้าวเหนียว และต้องการออกแบบ กระติบข้าวหรือหาวิธีการพัฒนากระติบข้าวที่มี คุณสมบัติลดการติดของข้าวเหนียวเพื่อลดการใช้ ถุงพลาสติกดังกล่าว
  • 10. Internet of things  แนวนิด Internet of Things นั้นถูกคิดขึ้นโดย Kevin Ashton ในปี 1999 มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT  ต่อมาในยุคหลังปี 2000 โลกมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจานวนมาก และมีการใช้คาว่า Smart ซึ่งในที่นี้คือ smart device, smart grid, smart home, smart network, smart intelligent transportation ต่างๆเหล่านี้ล้วนมีโครงสร้าง พื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้  Kevin นิยามมันไว้ตอนนั้นว่าเป็น “internet-like” หรือพูดง่ายๆก็คือ อุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสื่อสารพูดคุยกันเองได้ ซึ่งศัพท์คาว่า “Things” ก็แทนอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัยตัว Sensor
  • 11.
  • 12. สรุป Internet of things  Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถ สื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่าง ๆ มี วิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทางานร่วมกันได้ ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนาไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น เซ็นเซอร์ภายในบ้านตรวจจับการเคลื่อนไหวของผู้อยู่อาศัย และส่งสัญญาณไปสั่งเปิด/ปิดสวิตซ์ไฟตาม ห้องต่าง ๆ ที่มีคนหรือไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์วัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย/ผู้สูงอายุและส่งข้อมูลไปยัง บุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งข้อความเรียกหน่วยกู้ชีพหรือรถฉุกเฉิน เป็นต้น
  • 13. ระบบสมองกล ระบบสมองกลเป็นระบบที่ประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทางานของระบบควบคุมอัตโนมัติ ส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์นั้น เรา สามารถมองเห็นได้ เช่น แผงวงจรควบคุม เซ็นเซอร์ มอเตอร์ ส่วนที่เป็นซอฟต์แวร์นั้น ได้แก่ ชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อให้ระบบสมองกลทางานตามที่ต้องการ