SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 2
Descargar para leer sin conexión
ใบงานที่ 3.1
                                           ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์

จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้

1.ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง
ตอบ อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอา
ซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ใน
ตัวถังเดียวกัน

2.ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ
ตอบ 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
2.หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory)
เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มีไฟเลี้ยง อีกส่วนหนึ่ง
คือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะ
ทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป แต่สาหรับ
ไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งที่เป็นหน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็น
อีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
3.ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ต
เอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่างพอร์ตอินพุต
เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพื่อแสดงผลเช่น การติดสว่างของ
หลอดไฟ เป็นต้น                                                                                4.ช่องทางเดินของสัญญาณ
หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ
จานวนมากอยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสควบคุม
(Control Bus)                                                                  5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็น
ส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึ้นอยู่กับการกาหนดจังหวะ
หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้นส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการ
ประมวลผลสูงตามไปด้วย

3.บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ. อิมเทล
มีชื่อเรียกว่า MPU 404 (MCS-4)
4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางาน
เช่นใด
ตอบ ประมวลผลในรูปแบบสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อกาหนดการทางานในแบบต่างๆส่วนอัตราการ
ประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต
ตอบ
6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษาซี

8. ATMEGA-16 คือ
ตอบ ATmega16 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สมรรถนะสูงที่ใช้สถาปัตยกรรม AVR แบบ 8 บิตของบริษัท Atmel ซึ่งเป็น
สถาปัตยกรรมแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ที่ถูกออกแบบมาให้โปรแกรมมีขนาดเล็ก ใช้เนื้อที่ใน
หน่วยความจาน้อยและกินไฟต่าไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้ทาหน้าที่เป็น

9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง
หน่วยความจาภายใน 16 kByte
หน่วยความจา RAM 1 kByte
ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่คริสตอล 16 MHz
พอร์ดอินพูดเอาต์พูด 32 ตาแหน่ง
วงจรพัลส์วิดธ์มาดูเลเตอร์ 4 ช่อง
ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว
การสื่อสารอนุกรม spi/i2c/usart
วงจรแปรงสัญญาณอะ
นาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง
สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5Korakot Kaevwichian
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลnoooom
 
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์tawinee
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์gotchagon
 

La actualidad más candente (13)

ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องศ์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Destacado

DEMOGRAFIA POTOSINA
DEMOGRAFIA POTOSINADEMOGRAFIA POTOSINA
DEMOGRAFIA POTOSINAPEPESCLUB
 
Héroes civiles, militares y personajes ilustres
Héroes civiles, militares y personajes ilustresHéroes civiles, militares y personajes ilustres
Héroes civiles, militares y personajes ilustresRonald Yafac Casas
 
Executive BIO - Stephen James Finnie
Executive BIO - Stephen James Finnie Executive BIO - Stephen James Finnie
Executive BIO - Stephen James Finnie finnies
 
-Silogismos 1-
 -Silogismos 1- -Silogismos 1-
-Silogismos 1-Tutor Dos
 
Informative Interview - PA
Informative Interview - PAInformative Interview - PA
Informative Interview - PANick Petrus
 
Discrimination against southern people
Discrimination against southern peopleDiscrimination against southern people
Discrimination against southern people726609
 
A biblioteca escolar autoavaliação
A biblioteca escolar autoavaliaçãoA biblioteca escolar autoavaliação
A biblioteca escolar autoavaliaçãoBFeria
 
E commerce jako lewar zmian dużych firm
E commerce jako lewar zmian dużych firmE commerce jako lewar zmian dużych firm
E commerce jako lewar zmian dużych firmKrzysztof Murzyn
 

Destacado (14)

DEMOGRAFIA POTOSINA
DEMOGRAFIA POTOSINADEMOGRAFIA POTOSINA
DEMOGRAFIA POTOSINA
 
Héroes civiles, militares y personajes ilustres
Héroes civiles, militares y personajes ilustresHéroes civiles, militares y personajes ilustres
Héroes civiles, militares y personajes ilustres
 
Executive BIO - Stephen James Finnie
Executive BIO - Stephen James Finnie Executive BIO - Stephen James Finnie
Executive BIO - Stephen James Finnie
 
-Silogismos 1-
 -Silogismos 1- -Silogismos 1-
-Silogismos 1-
 
Informative Interview - PA
Informative Interview - PAInformative Interview - PA
Informative Interview - PA
 
Financial flexibility
Financial flexibilityFinancial flexibility
Financial flexibility
 
Discrimination against southern people
Discrimination against southern peopleDiscrimination against southern people
Discrimination against southern people
 
A biblioteca escolar autoavaliação
A biblioteca escolar autoavaliaçãoA biblioteca escolar autoavaliação
A biblioteca escolar autoavaliação
 
Perguntas
PerguntasPerguntas
Perguntas
 
Gabinete
GabineteGabinete
Gabinete
 
Business Confidence Survey | July 2015 | FICCI
Business Confidence Survey | July 2015 | FICCIBusiness Confidence Survey | July 2015 | FICCI
Business Confidence Survey | July 2015 | FICCI
 
Enlace Ciudadano Nro. 249 - Presentación recursos destinados al DMQ.
Enlace Ciudadano Nro. 249 - Presentación recursos destinados al DMQ.Enlace Ciudadano Nro. 249 - Presentación recursos destinados al DMQ.
Enlace Ciudadano Nro. 249 - Presentación recursos destinados al DMQ.
 
E commerce jako lewar zmian dużych firm
E commerce jako lewar zmian dużych firmE commerce jako lewar zmian dużych firm
E commerce jako lewar zmian dużych firm
 
diesel engine power plant
diesel engine power plantdiesel engine power plant
diesel engine power plant
 

Similar a ใบงาน 3.1 ศิริพร

ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Nuntawan Singhakun
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16Nuntawan Singhakun
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22Ya-Saranya Phanomai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 

Similar a ใบงาน 3.1 ศิริพร (20)

ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Basic of Microcontroller
Basic of MicrocontrollerBasic of Microcontroller
Basic of Microcontroller
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 

Más de Siriporn Narak

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 

Más de Siriporn Narak (7)

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 

ใบงาน 3.1 ศิริพร

  • 1. ใบงานที่ 3.1 ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์ จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1.ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง ตอบ อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอา ซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ใน ตัวถังเดียวกัน 2.ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ ตอบ 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) 2.หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory) เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มีไฟเลี้ยง อีกส่วนหนึ่ง คือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะ ทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป แต่สาหรับ ไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งที่เป็นหน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็น อีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง 3.ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ต เอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่างพอร์ตอินพุต เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพื่อแสดงผลเช่น การติดสว่างของ หลอดไฟ เป็นต้น 4.ช่องทางเดินของสัญญาณ หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ จานวนมากอยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสควบคุม (Control Bus) 5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็น ส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึ้นอยู่กับการกาหนดจังหวะ หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้นส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการ ประมวลผลสูงตามไปด้วย 3.บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ. อิมเทล มีชื่อเรียกว่า MPU 404 (MCS-4) 4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางาน เช่นใด ตอบ ประมวลผลในรูปแบบสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อกาหนดการทางานในแบบต่างๆส่วนอัตราการ ประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้
  • 2. 5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต ตอบ 6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษาซี 8. ATMEGA-16 คือ ตอบ ATmega16 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สมรรถนะสูงที่ใช้สถาปัตยกรรม AVR แบบ 8 บิตของบริษัท Atmel ซึ่งเป็น สถาปัตยกรรมแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ที่ถูกออกแบบมาให้โปรแกรมมีขนาดเล็ก ใช้เนื้อที่ใน หน่วยความจาน้อยและกินไฟต่าไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้ทาหน้าที่เป็น 9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง หน่วยความจาภายใน 16 kByte หน่วยความจา RAM 1 kByte ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่คริสตอล 16 MHz พอร์ดอินพูดเอาต์พูด 32 ตาแหน่ง วงจรพัลส์วิดธ์มาดูเลเตอร์ 4 ช่อง ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว การสื่อสารอนุกรม spi/i2c/usart วงจรแปรงสัญญาณอะ นาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง