SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
ธรรมะที่จำเป็นต่อกำรพ้นทุกข์
(ใบไม้ในกำมือ)
จริต 6-รู้จักตน
อริยสัจ 4-รู้จักทุกข์
อริยมรรค 8-รู้จักทางดับทุกข์
นิวรณ์ 5-อุปสรรคขัดขวาง
มงคล 38-ปรับสิ่งแวดล้อม
โยนิโสมนสิการ-ปรับวิธีคิด
พละ 5-ปรับสมดุล
ปฎิจจสมุปบาท-สู่ความพ้นทุกข์
รู้จักตัวเองด้วย จริต 6…จริต6 ศาสตร์แห่งการอ่านใจคน
อริยสัจ 4
อริยสัจ (บาลี: ariyasacca) หรือจตุรำริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคา
สอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริง
ของพระอริยะ หรือความจริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
มีอยู่สี่ประการ คือ
1. ทุกข์
2. ทุกขสมุทัย
3. ทุกขนิโรธ
4. ทุกขนิโรธคำมินีปฏิปทำ
ทุกข์
คือ ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิม
ไม่ได้สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่
การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การ
ประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็น
ที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าว
โดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
คือ สำเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหำ 3 คือ
กำมตัณหำ-ควำมทะยำนอยำกในกำม ควำมอยำกได้ทำงกำมำรมณ์
ภวตัณหำ-ควำมทะยำนอยำกในภพ ควำมอยำกเป็นโน่นเป็นนี่ ควำมอยำกที่
ประกอบด้วยภวทิฏฐิ หรือ สัสสตทิฏฐิ
วิภวตัณหำ -ควำมทะยำนอยำกในควำมปรำศจำกภพ ควำมอยำกไม่เป็นโน่นเป็นนี่
ควำมอยำกที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
สมุทัย
คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์
กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง
นิโรธ
มรรค
แนวปฏิบัติที่นาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ได้แก่
อริยมรรค 8 ประการ
มรรค 8 ( อัฏฐังคิกมรรค )
(มรรค = อริยมรรค = มัชฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด = ทางดาเนินชีวิตอันประเสริฐ = ทางสายกลาง)
แนวทางดาเนินอันประเสริฐของชีวิตหรือกาย วาจา ใจ เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์
คาว่า มรรค แปลว่า ทาง ในที่นี้หมายถึง ทางเดินของใจ เป็นการเดินจากความทุกข์
ไปสู่ความเป็นอิสระหลุดพ้นจากทุกข์ซึ่งมนุษย์หลงยึดถือและประกอบขึ้นใส่ตนด้วย
อานาจของอวิชชา
มรรคมีองค์แปด คือ ต้องพร้อมเป็นอันเดียวกันทั้งแปดอย่างดุจเชือกฟั่นแปดเกลียว
อริยมรรค มีองค์ 8 คือ
1. สัมมาทิฏิฐิ คือ ความเข้าใจถูกต้อง
2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝ่ใจถูกต้อง
3. สัมมาวาจา คือ การพูดจาถูกต้อง
4. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทาถูกต้อง
5. สัมมาอาชีวะ คือ การดารงชีพถูกต้อง
6. สัมมาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกต้อง
7. สัมมาสติ คือ การระลึกประจาใจถูกต้อง
8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกต้อง
สัมมาทิฏฐิ (ปัญญา)
คือ ความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตรงความเป็นจริง ตรงตามสภาวะและเหตุปัจจัย
เช่น เห็นว่า ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว, เห็นว่า ศีลและอริยสัจ 4 ปฎิบัติได้จริง
เป็นจุดเริ่มต้น และปลายสุดของมรรค
สัมมำสังกัปปะ(ปัญญำ)
คือ ความดาริชอบ มี 3 ประการ ได้แก่
1. ความดาริที่จะไม่เคียดแค้น หยุดพยาบาท ด้วยเมตตาและมุทิตา
2. ความดาริที่จะไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ด้วยกรุณาและมุทิตา
3. ความดาริที่จะออกจากโลภะและกาม ด้วยอุเบกขา
สัมมำวำจำ (ศีล)
คือ การพูดจาถูกต้อง ไม่เป็นโทษต่อตนเอง และผู้อื่น ได้แก่
- ไม่กล่าวคาเท็จ,
- ไม่พูดยุยงส่อเสียด ให้แตกสามัคคีกัน,
- ไม่พูดเพ้อเจ้อ-ไม่พูดเรื่องที่ไม่เป็นความจริง,
- ไม่กล่าวคาหยาบคายด่าท่อ
สัมมำกัมมันตะ (ศีล)
คือ การกระทาถูกต้องทางกาย ไม่เป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น ทาจนเป็นปกติ เป็นนิสัย ได้แก่
- ไม่ฆ่าและไม่ทรมานสิ่งมีชีวิต
- ไม่ลักขโมย, ไม่ฉ้อโกง, ไม่เอาของผู้อื่นมาเป็นของตน โดยที่เจ้าของไม่อนุญาต
- ไม่ผิดลูก-เมีย-สามีของผู้อื่น ไม่มั่วเมาในกาม
ศีลจะบกพร่อง เมื่อครบองค์ประกอบ 5 ประการนี้ เช่น
สัตว์มีชีวิต, รู้ว่า สัตว์นั้นมีชีวิต, มีจิตคิดฆ่า, พยายามฆ่า และ สัตว์นั้นตายจากการกระทา
สัมมำอำชีวะ (ศีล)
คือ การดารงชีพถูกต้อง ไม่เป็นโทษต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่ประกอบอาชีพที่เป็นบาป
ได้แก่ ไม่ขายสัตว์ให้เขาเอาไปฆ่า, ไม่ขายมนุษย์, ไม่ขายอาวุธ, ไม่ขายยาพิษ,
ไม่ขายสุราและยาเสพติด
สัมมำวำยำมะ (สมำธิ)
คือ ความพากเพียรถูกต้อง เป็นส่วนของใจที่บากบั่นในอันที่จะ
ก้าวหน้า ไม่ถอยหลังจากทางดาเนินตามมรรค ถึงกับมีการอธิษฐาน
อย่างแรงกล้า – สัมมัปปธาน 4
1. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้อกุศลธรรมเกิดขึ้น
2. ปหานปธาน เพียรละอกุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไป
3. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลธรรมเกิดและเจริญยิ่งขึ้น
4. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม
สัมมำสติ (สมำธิ)
คือ การระลึกชอบ ระลึกรู้ในปัจจุบันขณะ รู้ตัวตลอดเวลา ไม่ประมาท
ระลึกแต่ในสิ่งที่เกื้อหนุนแก่ปัญญาที่จะแทงตลอด
- เมื่อเจริญสติถูกต้อง ศีล, สมาธิ และ ปัญญาจะเกิดขึ้นเอง
สัมมำสมำธิ (สมำธิ)
คือ การตั้งใจมั่นชอบ หรือ ภาวะที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นอาการของใจที่รวม
กาลังเป็นจุดเดียว กล้าแข็งพอที่จะทาให้เกิดปัญญา รู้แจ้งแทงตลอดอวิชชาได้ และ
ยังเป็นการพักผ่อนของใจ
- สมาธิเป็นผลของการมีสติ รู้ตัวทั่วพร้อม รู้ในปัจจุบันขณะ
ลักษณะของนิวรณ์ 5
1. กามฉันทะ เหมือนน้าที่ถูกสีย้อม
2. พยาบาท เหมือนน้าที่กาลังเดือด
3. ถีนมิทธะ เหมือนน้าที่มีจอกแหนปกคลุมอยู่
4. อุทธัจจะกุกกุจจะ เหมือนน้าที่เป็นคลื่น
5. วิจิกิจฉา เหมือนน้าที่มีเปือกตม
บุคคลย่อมไม่อาจมองเห็นใต้น้าได้สะดวกฉันใด
เมื่อจิตมีนิวรณ์ บุคคลย่อมไม่อาจเห็นจิตตามจริงได้สะดวกฉันนั้น
นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม
สาหรับละ
1.กามฉันทะ
(พอใจในกามคุณ)
เหมือนน้าที่ถูกสีย้อม
สุภนินิต
(สิ่งที่งาม,
อารมณ์ที่งาม)
อสุภนินิต
(สิ่งที่ไม่งาม,
อารมณ์ที่ไม่งาม)
1. การถืออสุภนิมิตเป็น
อารมณ์
2. การประกอบเนืองๆ ซึ่ง
อสุภภาวนา
3. การรักษาทวารใน
อินทรีย์ทั้งหลาย
4. ความรู้จักประมาณใน
โภชนะ
5. ความมีกัลยาณมิตร
6. พูดแต่เรื่องที่เป็น
สัปปายะ(เป็นที่สบาย)
นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม
สาหรับละ
2.พยาบาท
(คิดร้ายผู้อื่น)
เหมือนน้าที่กาลังเดือด
ปฏิฆนินิต
(ความขุ่นใจ)
เมตตา 1. การกาหนดนิมิตในเมตตา
เป็นอารมณ์
2. การประกอบเนืองๆ ซึ่ง
เมตตาภาวนา
3. การพิจารณาถึงความที่
สัตว์มีกรรมเป็นของๆตน
4. การทาให้มากซึ่งการ
พิจารณา
5. ความมีกัลยาณมิตร
6. การพูดแต่เรื่องที่เป็น
ที่สบาย
นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม
สาหรับละ
3. ถีนมิทธะ
(ความหดหู่ซึมเซา)
เหมือนน้าที่มีจอก
แหนปกคลุมอยู่
อรติ
(ความริษยา)
ตันที
(ความคร้านกาย)
วิชัมภิตา
(ความบิดกาย บิดขี้
เกียจ)
ภัตตสัมมทะ
(ความมึนในอาหาร
กระวนกระวายใน
อาหาร)
อารภธาตุ
(ความเพียรเริ่มแรก)
นิกกมธาตุ
(ความเพียรที่ออกไป
พ้นจากความเกียจ
คร้านแล้ว)
ปรักกมธาตุ
(ก้าวไปข้างหน้า
บากบั่น)
1. การกาหนดนิมิตใน
โภชนะส่วนเกิน
2. การผลัดเปลี่ยนอิริยาบท
3. การใส่ใจถึงอาโลก
สัญญา (นึกถึงความสว่าง)
4. การอยู่กลางแจ้ง
5. ความมีกัลยาณมิตร
6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น
ที่สบาย
นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม
สาหรับละ
4. อุทธัจจะกุกกุจจะ
(ความฟุ้งซ่านและราคาญ)
เหมือนน้าที่เป็นคลื่น
ความไม่สงบ
ในใจ
สมาธิ 1. ความสดับมาก
2. การสอบถาม
3. ความชานาญในวินัย
4. ความคบผู้เจริญ
5. ความมีกัลยาณมิตร
6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น
ที่สบาย
นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม
สาหรับละ
5. วิจิกิจฉา
(ความลังเลสงสัย)
เหมือนน้าที่มีเปือกตม
ความเคลือบ
แคลง
โยนิโสมนสิการ
(ให้มากๆ ในธรรม
ต่างๆ)
1. ความสดับมาก
2. การสอบถาม
3. ความชานาญในวินัย
4. ความมากด้วยความ
น้อมใจเชื่อ
5. ความมีกัลยาณมิตร
6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น
ที่สบาย
พรหมวิหาร 4
ถ้าเราปฏิบัติธรรม สุดท้ายเราจะได้อะไร
มีคนถามพระพุทธองค์ว่า ปฏิบัติธรรมแล้ว สุดท้ายเราจะได้อะไร
พระพุทธองค์ตอบว่า ไม่ได้อะไรเลย
ถามต่อไปว่า ถ้าเช่นนั้นท่านจะปฏิบัติไปเพื่ออะไร
พระพุทธองค์ทรงแย้มพระโอษฐ์ตรัสว่า ตถาคตสามารถบอกเธอถึงสิ่งที่หายไปนั้นก็คือ
ความโกรธได้หายไป ความหม่นหมองวิตกกังวลก็หายไป ความเศร้าท้อแท้ก็หายไป
ความกังวลไม่สบายใจได้หายไป ความเห็นแก่ตัว
โลภะ โทสะ โมหะ พิษร้ายทั้งสามก็หายไป
อวิชา คือความไม่รู้ที่ปิดกั้นปุถุชนทั้งหลายก็ได้สูญสิ้นไป
4 ประการที่พระพุทธเจ้าทาให้ไม่ได้
ลูกศิษย์ถามพระพุทธองค์ว่า
 เมื่อท่านเป็นผู้ที่มีความเมตตา แล้วทาไมถึงยังมีคนที่ลาบากอยู่?
พระพุทธองค์ตอบว่า
 เรามี 4 ประการ ที่ทาให้ไม่ได้
1.ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงวิบากกรรมได้ ใครสร้างกรรมเอาไว้ไม่มีใครรับแทนได้
คนนั้นต้องรับเอง
2. ปัญญาให้กันไม่ได้ ต้องฝึกฝนเอาเอง ถึงจะเกิดปัญญาได้
3. ความศรีวิลัยของธรรมะ ไม่สามารถสื่อทางภาษาได้ ความจริงแท้ในจักรวาล
ต้องใช้การปฏิบัติ หนทางเดียวเท่านั้น เพื่อพิสูจน์ความจริง
4. คนที่ไม่มีวาสนาที่ดีกับเรา จะฟังไม่เข้าถึงใจ เราจึงโปรดเขาไม่ได้
ฝนแม้จะตกทั่วฟ้า ก็ยังไม่เกิดประโยชน์กับหญ้าที่ไร้ราก
พระธรรมกว้างใหญ่ไพศาล ก็ยากที่จะโปรดคนไร้วาสนา
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด
ธรรมเทศนาครั้งที่ดีที่สุดครั้งหนึ่ง ในชีวิตของท่านพระธรรมวิสุทธิมงคล
(หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
เป็นการเทศน์ที่ยากนักจะได้รับฟังจากที่ใด ตลอดการเทศน์ท่านได้รวบรวมกระแสจิต
หลับตาดาดิ่ง ลงสู่ห้วงสมาธิ และถ่ายทอดธรรมจากใจออกสู่ทางวาจา
เปรียบได้ดั่งแผนที่เส้นทางปฏิบัติธรรมที่ชัดเจนที่สุด ตั้งแต่เบื้องต้นต้นถึงปลายทาง
แห่งพระนิพพาน เป็นของขวัญอันล้าค่าที่ครูบาอาจารย์ ได้มอบแก่
เหล่าศิษย์นักปฏิบัติทั้งหลาย
1. ผู้ปฏิบัติเพื่อมุ่งนิพพาน จะต้องถือศีลให้บริสุทธิ์ ข้อนี้สาคัญมาก
ต้องจัดการเรื่องนี้ให้ได้ก่อนเรื่องอื่นใด คือ ใช้ชีวิตอยู่ในกรอบของศีลธรรมความดีงาม
อะไรผิดศีล ห้ามทาโดยเด็ดขาด
2. ให้คิดถึงนิพพานทุกขณะ เหมือนนิพพานอยู่ตรงหน้า คือ ระลึกไว้เสมอว่า
เราจะไปนิพพานเท่านั้น จุดเดียวที่เดียว อย่างอื่นไม่เอา ให้พุ่งตรง ตัดตรงไปเลย
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
3. ทาสมาธิในชีวิตประจาวันให้ได้ คือ ถ้าใครบริกรรมพุทโธ ก็ให้ทาไป ใครดูลมหายใจ
ก็ให้ดูไป เรื่องนี้เน้นย้ามาก ให้คุมกรรมฐานไว้ระหว่างวัน ส่วนจะใช้กรรมฐานชนิดใด
ตรงนี้ใช้ได้หมด ขอให้อยู่ในหมวดกรรมฐาน 40 ไม่มีอะไรผิด จุดนี้ให้เน้นไปที่
การทาสมถะก่อน อย่าเพิ่งไปสนใจวิปัสสนาในช่วงแรกๆ ต้องฝึกให้จิต
มีความตั้งมั่นก่อน ให้จิตอยู่กับกรรมฐานของตน ตลอดเวลาทั้งวัน
ยกเว้นเวลาที่ต้องทางานเท่านั้น เน้นว่า นี่คือการปฏิบัติเบื้องต้น
ไม่ควรทาสุ่มสี่สุ่มห้า ไม่ควรทาผิดไปจากนี้
4. เมื่อทาสมาธิในชีวิตประจาวัน ไปจนจิตเข้าสู่สมาธิได้แล้ว ให้สังเกตดู
ช่วงนี้จิตจะปรุงกิเลสน้อยลง เพราะจิตมันอิ่มอารมณ์ มีอารมณ์เป็นหนึ่งมากขึ้น
ทาความสงบได้ง่ายขึ้น พูดง่ายๆ ว่า จิตของเรา เริ่มมีกาลังเกิดความตั้งมั่นได้ง่าย คือ
ในชีวิตประจาวัน ก็ทรงอารมณ์อยู่กับกรรมฐานได้ เมื่อทาสมาธิในรูปแบบ
ก็มีอารมณ์เป็นหนึ่งได้ อย่างนี้ถือว่า เริ่มใช้ได้แล้ว ตรงนี้ ให้เริ่มพัฒนาในขั้นตอนต่อไป
อย่าหยุดอยู่แค่การทาสมาธิ
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
5. พอจิตสงบ ตั้งมั่นแล้ว คราวนี้ท่านให้เริ่มเดินปัญญาต่อไปเลย เพียงแค่สมาธิอย่างเดียวนั้น
จิตจะไม่มีความกว้างขวาง จะต้องเดินปัญญาต่อ จึงจะเกิดความกว้างขวาง นี่คือ
สิ่งที่พระพุทธเจ้าแนะนาเอาไว้ต้องทาตามพระพุทธเจ้าท่านสอน
6. ให้เริ่มต้นพิจารณาร่างกาย โดยให้แยกเป็นส่วนๆ คือ เกศา โลมา นขา ทันตา ตโจ หรือ
ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง นี่เป็นตาหรับแท้ๆ ของพระพุทธเจ้า ให้เอามาดูเป็นส่วนๆ ดูสิ
เส้นผมของเราเป็นยังไง สะอาดหรือสกปรก เหมือนกันกับขนสัตว์ ชนิดอื่นหรือเปล่า
ถ้าไม่อาบน้ามันจะเป็นอย่างไร แล้วไล่พิจารณาเรียงไปเรื่อยๆ จนครบทั้ง ผม ขน เล็บ ฟัน
หนัง กรรมฐาน 5 นี้ เป็นพื้นฐานทางเดินด้านปัญญา ให้หัดดูไปเรื่อยๆ เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง
ก็ให้พิจารณาไป ให้เห็นว่า ที่ทาอยู่นี้คือ หินลับปัญญา
7. เมื่อทาจนชานาญ ต่อไป ก็ลองแยกให้เป็นธาตุ 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ พิจารณาให้เป็นอนิจจัง
(ไม่เที่ยง) ทุกข์ขัง (เป็นทุกข์) อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) ทาเช่นนี้ สติปัญญาจะมากขึ้นเป็นลาดับ
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
8. เมื่อพิจารณาสักพัก ก็ให้ย้อนกลับมาทาสมาธิ เอาความสงบ เอากาลังของจิตใหม่
ต่อเมื่อจิตอยู่ในความสงบ เริ่มมีกาลังฟื้นตัว ก็กลับมาเดินไปปัญญาอีกครั้ง ให้ทาเช่นนี้สลับไป
ห้ามทาอย่างหนึ่งอย่างใด เพียงอย่างเดียว ต้องมีทั้งการทาสมาธิ และเดินปัญญาสลับกันเรื่อยไป
9. เมื่อถึงจุดหนึ่ง คราวนี้ให้กาหนดเป็นอสุภะ อสุภะก็คือ กรรมฐานกองหนึ่ง
ที่ทาให้เห็นธรรมชาติของ ร่างกายคนเรา มีอยู่10 ระยะ คือ
-ซากศพที่เน่าพองขึ้นอืด
-ซากศพที่มีสีเขียวคล้า คละด้วยสีต่างๆ
-ซากศพที่มีน้าเหลือง น้าหนองไหลเยิ้ม (เน่าเฟะ)
-ซากศพที่ขาดออกเป็น ๒ ท่อน
-ซากศพที่ถูกสัตว์กัดกินแล้ว
-ซากศพที่กระจุยกระจาย
-ซากศพที่ถูกฟันบั่นเป็นท่อนๆ
-ซากศพที่มีโลหิตไหลอาบอยู่ (จมกองเลือด)
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
-ซากศพที่มีหนอนคลาคล่า เต็มไปหมด
-ซากศพที่เหลืออยู่แต่ ร่างกระดูก หรือ เหลือแต่ท่อนกระดูก
ในการกาหนดอสุภะนี้ ให้กาหนดภาพเหล่านี้ ขึ้นมาตรงหน้าเลย
ทาให้ภาพนิ่งอยู่ตรงหน้าอย่างนั้น หมั่นเอาภาพอสุภะมาตั้ง ไว้ตรงหน้าเสมอ
ตอนนี้ยังไม่ต้องทาอะไร แค่ให้จิตกาหนดภาพเหล่านี้ให้ได้ก็พอ แล้วดูไป ดูอย่างเดียว
เพ่งไปเลยอย่าให้คลาด เมื่อถึงจุดที่เพียงพอ จิตมันจะรู้ของมันเอง
10. เมื่อถึงจุดที่เพียงพอแก่ความต้องการของจิต คราวนี้ธรรมชาติจะหมุน ไปสู่ความจริง
ซึ่งในขั้นตอนนี้ จะเป็นธรรมที่ละเอียดมาก จิตมันจะมีปัญญา ในเรื่องกามราคะ
ถึงตอนนั้น จิตมันจะสิ้นข้อสงสัย ในเรื่องกามราคะไปเลย โดยไม่ต้องมีใครบอก
ในขั้นนี้ จะสาเร็จเป็นพระอนาคามีแล้ว
11. เมื่อทาซ้าๆ จนบรรลุอนาคามี จิตจะไม่กลับมาเกิดอีก เพราะกามราคะมัน
ขาดสะบั้นไปสิ้น จิตมันจะหมุนขึ้นสูงอย่างเดียว ไม่ลงต่า ไปอยู่ชั้นพรหมสุทธาวาส
เวลานั้นจิตจะรู้ความจริงไปตามลาดับ
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
12.ทบทวนและย้าอีกรอบว่า "เมื่อทาสมาธิ(สมถะ) ให้พักเรื่องปัญญา(วิปัสสนา)
และเมื่อเดินปัญญา(วิปัสสนา) ก็ให้พักเรื่องสมาธิ(สมถะ) ทั้งสองสิ่งนี้
จะต้องทาสลับกันไปตลอด ห้ามทิ้งอย่างหนึ่งอย่างใด และเมื่อทาสิ่งหนึ่ง
ก็ไม่ต้องคิดถึงอีกสิ่ง คือ ทาความสงบ ก็ทาไป พิจารณาความจริง ก็ทาไป ห้ามนามาปนกัน
ให้ทาสลับไปอย่างนี้เรื่อยๆ ตลอดการปฏิบัติ
13. เมื่อก้าวถึงภูมิอนาคามีแล้ว จะมีภูมิของอนาคามีที่เข้มขึ้นเรื่อยๆ
ซึ่งมีความเข้มข้นอยู่ 5 ระดับ ซึ่งส่วนใหญ่จะเลื่อนขึ้นไปเป็นขั้นๆ
พวกที่ก้าวข้ามขั้นไปเลยก็มี แต่ส่วนใหญ่ในช่วงกึ่งพุทธกาลเช่นนี้ จะหายาก
โดยมากแล้วจะไปทีละขั้น เพราะด่านกามราคะมันยากจริงๆ ไม่ใช่ของง่าย
14. ในขั้นนี้ปัญญา จะเดินอัตโนมัติ ตลอดเวลาแล้ว เห็นนิพพานอยู่ตรงหน้า
ช่วงนี้ปัญญาจะฆ่ากิเลส ตลอดเวลาทุกอิริยาบถ ทั้งยืน เดิน นั่ง ฆ่ากิเลสตลอดเวลา
ยกเว้นเวลานอนหลับ ตอนนั้นไม่มีคาว่า เผลอแล้ว เพราะปัญญาจะเกิดอย่างถี่ยิบ
การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ)
15. สติปัญญาเดินมาก ต้องย้อนสู่สมาธิ ห้ามเดินปัญญา แต่อย่างเดียวเด็ดขาด
ต้องทาสลับกันไปเช่นนี้
16. ต่อไปจะก้าวเข้าสู่มหาสติปัญญา ถึงตรงนี้จะหมดนิมิต ที่เกี่ยวกับจิต เหมือนฟ้าแลบตลอด
ไม่ต้องบังคับให้จิตทางาน กิเลสซ่อนอยู่ตรงไหน ปัญญาจะตามไปฆ่าเชื้อที่นั่น
ส่วนใหญ่ถึงตรงนี้ ทุกข์เวทนาจะน้อยมากๆ เหลือเพียงสุขเวทนาเท่านั้น
มันจะเห็นสุขเวทนาชัดเจนมาก จุดนี้เองที่มันจะเข้าไปใน ปราสาทราชวัง ไปเจอนายใหญ่
คือ อวิชชา ค้นพบอริยสัจ 4 มันจะเห็นกษัตริย์แห่งวัฏฏะ คือ ตัวอวิชชา
ถึงตรงนั้นทุกสรรพสิ่งจะว่างไปหมด ยกเว้นเพียงตัวเองที่ยังไม่ว่าง
17. เมื่อถึงจิตตะ คือ อวิชชา พอเปิดอันนี้ออก จิตมันก็จ้าขึ้น ตอนนี้ข้างนอกก็สว่าง
ภายในก็สว่าง ว่างทั้งหมด ตัวเราก็ว่าง เป็นวิมุต คือ ธรรมชาติที่แท้จริง จิตเป็นธรรมธาตุ
เป็นภาวะนิพพาน จิตไม่เคยตาย ถึงธรรมชาติแล้ว หายสงสัยล้านเปอร์เซ็นต์
18. แรกเริ่ม ธาตุขันธ์ เป็นเครื่องมือของกิเลส แต่ปฏิบัติไปถึงจุดหนึ่ง
ธาตุขันธ์จะเป็นเครื่องมือ ของธรรมทั้งหมด"
จัดทาโดย
นายพลศักดิ์ คาสัตย์ ม. 5/2
นายปิยพงษ์ ยาเมฆ ม.5/3
นางสาวมธุลิน ขุนแก้ว ม.5/2
นางสาววิรากร อุปธิ ม.5/2
ขออนุญาตปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ครอบคลุมธรรมะที่จาเป็น
โดย...สมบัติ นาคะเสถียร 16 มิ.ย. 2560 แก้ไขครั้งที่ 04

More Related Content

What's hot

หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 

What's hot (20)

หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 

Similar to ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐานniralai
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางสาวกปิศาจ Kudo
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขniralai
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 

Similar to ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616 (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 

ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616

  • 1. ธรรมะที่จำเป็นต่อกำรพ้นทุกข์ (ใบไม้ในกำมือ) จริต 6-รู้จักตน อริยสัจ 4-รู้จักทุกข์ อริยมรรค 8-รู้จักทางดับทุกข์ นิวรณ์ 5-อุปสรรคขัดขวาง มงคล 38-ปรับสิ่งแวดล้อม โยนิโสมนสิการ-ปรับวิธีคิด พละ 5-ปรับสมดุล ปฎิจจสมุปบาท-สู่ความพ้นทุกข์
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. รู้จักตัวเองด้วย จริต 6…จริต6 ศาสตร์แห่งการอ่านใจคน
  • 10. อริยสัจ (บาลี: ariyasacca) หรือจตุรำริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคา สอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริง ของพระอริยะ หรือความจริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ 1. ทุกข์ 2. ทุกขสมุทัย 3. ทุกขนิโรธ 4. ทุกขนิโรธคำมินีปฏิปทำ
  • 11. ทุกข์ คือ ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิม ไม่ได้สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การ ประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็น ที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าว โดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
  • 12. คือ สำเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหำ 3 คือ กำมตัณหำ-ควำมทะยำนอยำกในกำม ควำมอยำกได้ทำงกำมำรมณ์ ภวตัณหำ-ควำมทะยำนอยำกในภพ ควำมอยำกเป็นโน่นเป็นนี่ ควำมอยำกที่ ประกอบด้วยภวทิฏฐิ หรือ สัสสตทิฏฐิ วิภวตัณหำ -ควำมทะยำนอยำกในควำมปรำศจำกภพ ควำมอยำกไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ควำมอยำกที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ สมุทัย
  • 13.
  • 14. คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง นิโรธ
  • 16.
  • 17. มรรค 8 ( อัฏฐังคิกมรรค ) (มรรค = อริยมรรค = มัชฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด = ทางดาเนินชีวิตอันประเสริฐ = ทางสายกลาง) แนวทางดาเนินอันประเสริฐของชีวิตหรือกาย วาจา ใจ เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ คาว่า มรรค แปลว่า ทาง ในที่นี้หมายถึง ทางเดินของใจ เป็นการเดินจากความทุกข์ ไปสู่ความเป็นอิสระหลุดพ้นจากทุกข์ซึ่งมนุษย์หลงยึดถือและประกอบขึ้นใส่ตนด้วย อานาจของอวิชชา มรรคมีองค์แปด คือ ต้องพร้อมเป็นอันเดียวกันทั้งแปดอย่างดุจเชือกฟั่นแปดเกลียว
  • 18. อริยมรรค มีองค์ 8 คือ 1. สัมมาทิฏิฐิ คือ ความเข้าใจถูกต้อง 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝ่ใจถูกต้อง 3. สัมมาวาจา คือ การพูดจาถูกต้อง 4. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทาถูกต้อง 5. สัมมาอาชีวะ คือ การดารงชีพถูกต้อง 6. สัมมาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกต้อง 7. สัมมาสติ คือ การระลึกประจาใจถูกต้อง 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกต้อง
  • 19.
  • 20. สัมมาทิฏฐิ (ปัญญา) คือ ความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตรงความเป็นจริง ตรงตามสภาวะและเหตุปัจจัย เช่น เห็นว่า ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว, เห็นว่า ศีลและอริยสัจ 4 ปฎิบัติได้จริง เป็นจุดเริ่มต้น และปลายสุดของมรรค สัมมำสังกัปปะ(ปัญญำ) คือ ความดาริชอบ มี 3 ประการ ได้แก่ 1. ความดาริที่จะไม่เคียดแค้น หยุดพยาบาท ด้วยเมตตาและมุทิตา 2. ความดาริที่จะไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ด้วยกรุณาและมุทิตา 3. ความดาริที่จะออกจากโลภะและกาม ด้วยอุเบกขา
  • 21. สัมมำวำจำ (ศีล) คือ การพูดจาถูกต้อง ไม่เป็นโทษต่อตนเอง และผู้อื่น ได้แก่ - ไม่กล่าวคาเท็จ, - ไม่พูดยุยงส่อเสียด ให้แตกสามัคคีกัน, - ไม่พูดเพ้อเจ้อ-ไม่พูดเรื่องที่ไม่เป็นความจริง, - ไม่กล่าวคาหยาบคายด่าท่อ สัมมำกัมมันตะ (ศีล) คือ การกระทาถูกต้องทางกาย ไม่เป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น ทาจนเป็นปกติ เป็นนิสัย ได้แก่ - ไม่ฆ่าและไม่ทรมานสิ่งมีชีวิต - ไม่ลักขโมย, ไม่ฉ้อโกง, ไม่เอาของผู้อื่นมาเป็นของตน โดยที่เจ้าของไม่อนุญาต - ไม่ผิดลูก-เมีย-สามีของผู้อื่น ไม่มั่วเมาในกาม ศีลจะบกพร่อง เมื่อครบองค์ประกอบ 5 ประการนี้ เช่น สัตว์มีชีวิต, รู้ว่า สัตว์นั้นมีชีวิต, มีจิตคิดฆ่า, พยายามฆ่า และ สัตว์นั้นตายจากการกระทา
  • 22. สัมมำอำชีวะ (ศีล) คือ การดารงชีพถูกต้อง ไม่เป็นโทษต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่ประกอบอาชีพที่เป็นบาป ได้แก่ ไม่ขายสัตว์ให้เขาเอาไปฆ่า, ไม่ขายมนุษย์, ไม่ขายอาวุธ, ไม่ขายยาพิษ, ไม่ขายสุราและยาเสพติด สัมมำวำยำมะ (สมำธิ) คือ ความพากเพียรถูกต้อง เป็นส่วนของใจที่บากบั่นในอันที่จะ ก้าวหน้า ไม่ถอยหลังจากทางดาเนินตามมรรค ถึงกับมีการอธิษฐาน อย่างแรงกล้า – สัมมัปปธาน 4 1. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้อกุศลธรรมเกิดขึ้น 2. ปหานปธาน เพียรละอกุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไป 3. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลธรรมเกิดและเจริญยิ่งขึ้น 4. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม
  • 23. สัมมำสติ (สมำธิ) คือ การระลึกชอบ ระลึกรู้ในปัจจุบันขณะ รู้ตัวตลอดเวลา ไม่ประมาท ระลึกแต่ในสิ่งที่เกื้อหนุนแก่ปัญญาที่จะแทงตลอด - เมื่อเจริญสติถูกต้อง ศีล, สมาธิ และ ปัญญาจะเกิดขึ้นเอง สัมมำสมำธิ (สมำธิ) คือ การตั้งใจมั่นชอบ หรือ ภาวะที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นอาการของใจที่รวม กาลังเป็นจุดเดียว กล้าแข็งพอที่จะทาให้เกิดปัญญา รู้แจ้งแทงตลอดอวิชชาได้ และ ยังเป็นการพักผ่อนของใจ - สมาธิเป็นผลของการมีสติ รู้ตัวทั่วพร้อม รู้ในปัจจุบันขณะ
  • 24.
  • 25. ลักษณะของนิวรณ์ 5 1. กามฉันทะ เหมือนน้าที่ถูกสีย้อม 2. พยาบาท เหมือนน้าที่กาลังเดือด 3. ถีนมิทธะ เหมือนน้าที่มีจอกแหนปกคลุมอยู่ 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ เหมือนน้าที่เป็นคลื่น 5. วิจิกิจฉา เหมือนน้าที่มีเปือกตม บุคคลย่อมไม่อาจมองเห็นใต้น้าได้สะดวกฉันใด เมื่อจิตมีนิวรณ์ บุคคลย่อมไม่อาจเห็นจิตตามจริงได้สะดวกฉันนั้น
  • 26. นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม สาหรับละ 1.กามฉันทะ (พอใจในกามคุณ) เหมือนน้าที่ถูกสีย้อม สุภนินิต (สิ่งที่งาม, อารมณ์ที่งาม) อสุภนินิต (สิ่งที่ไม่งาม, อารมณ์ที่ไม่งาม) 1. การถืออสุภนิมิตเป็น อารมณ์ 2. การประกอบเนืองๆ ซึ่ง อสุภภาวนา 3. การรักษาทวารใน อินทรีย์ทั้งหลาย 4. ความรู้จักประมาณใน โภชนะ 5. ความมีกัลยาณมิตร 6. พูดแต่เรื่องที่เป็น สัปปายะ(เป็นที่สบาย)
  • 27. นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม สาหรับละ 2.พยาบาท (คิดร้ายผู้อื่น) เหมือนน้าที่กาลังเดือด ปฏิฆนินิต (ความขุ่นใจ) เมตตา 1. การกาหนดนิมิตในเมตตา เป็นอารมณ์ 2. การประกอบเนืองๆ ซึ่ง เมตตาภาวนา 3. การพิจารณาถึงความที่ สัตว์มีกรรมเป็นของๆตน 4. การทาให้มากซึ่งการ พิจารณา 5. ความมีกัลยาณมิตร 6. การพูดแต่เรื่องที่เป็น ที่สบาย
  • 28. นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม สาหรับละ 3. ถีนมิทธะ (ความหดหู่ซึมเซา) เหมือนน้าที่มีจอก แหนปกคลุมอยู่ อรติ (ความริษยา) ตันที (ความคร้านกาย) วิชัมภิตา (ความบิดกาย บิดขี้ เกียจ) ภัตตสัมมทะ (ความมึนในอาหาร กระวนกระวายใน อาหาร) อารภธาตุ (ความเพียรเริ่มแรก) นิกกมธาตุ (ความเพียรที่ออกไป พ้นจากความเกียจ คร้านแล้ว) ปรักกมธาตุ (ก้าวไปข้างหน้า บากบั่น) 1. การกาหนดนิมิตใน โภชนะส่วนเกิน 2. การผลัดเปลี่ยนอิริยาบท 3. การใส่ใจถึงอาโลก สัญญา (นึกถึงความสว่าง) 4. การอยู่กลางแจ้ง 5. ความมีกัลยาณมิตร 6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น ที่สบาย
  • 29. นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม สาหรับละ 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุ้งซ่านและราคาญ) เหมือนน้าที่เป็นคลื่น ความไม่สงบ ในใจ สมาธิ 1. ความสดับมาก 2. การสอบถาม 3. ความชานาญในวินัย 4. ความคบผู้เจริญ 5. ความมีกัลยาณมิตร 6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น ที่สบาย
  • 30. นิวรณ์ 5 เหตุเกิด เหตุละ ธรรม สาหรับละ 5. วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) เหมือนน้าที่มีเปือกตม ความเคลือบ แคลง โยนิโสมนสิการ (ให้มากๆ ในธรรม ต่างๆ) 1. ความสดับมาก 2. การสอบถาม 3. ความชานาญในวินัย 4. ความมากด้วยความ น้อมใจเชื่อ 5. ความมีกัลยาณมิตร 6. การเจรจา แต่เรื่องที่เป็น ที่สบาย
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48. ถ้าเราปฏิบัติธรรม สุดท้ายเราจะได้อะไร มีคนถามพระพุทธองค์ว่า ปฏิบัติธรรมแล้ว สุดท้ายเราจะได้อะไร พระพุทธองค์ตอบว่า ไม่ได้อะไรเลย ถามต่อไปว่า ถ้าเช่นนั้นท่านจะปฏิบัติไปเพื่ออะไร พระพุทธองค์ทรงแย้มพระโอษฐ์ตรัสว่า ตถาคตสามารถบอกเธอถึงสิ่งที่หายไปนั้นก็คือ ความโกรธได้หายไป ความหม่นหมองวิตกกังวลก็หายไป ความเศร้าท้อแท้ก็หายไป ความกังวลไม่สบายใจได้หายไป ความเห็นแก่ตัว โลภะ โทสะ โมหะ พิษร้ายทั้งสามก็หายไป อวิชา คือความไม่รู้ที่ปิดกั้นปุถุชนทั้งหลายก็ได้สูญสิ้นไป
  • 49. 4 ประการที่พระพุทธเจ้าทาให้ไม่ได้ ลูกศิษย์ถามพระพุทธองค์ว่า  เมื่อท่านเป็นผู้ที่มีความเมตตา แล้วทาไมถึงยังมีคนที่ลาบากอยู่? พระพุทธองค์ตอบว่า  เรามี 4 ประการ ที่ทาให้ไม่ได้ 1.ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงวิบากกรรมได้ ใครสร้างกรรมเอาไว้ไม่มีใครรับแทนได้ คนนั้นต้องรับเอง 2. ปัญญาให้กันไม่ได้ ต้องฝึกฝนเอาเอง ถึงจะเกิดปัญญาได้ 3. ความศรีวิลัยของธรรมะ ไม่สามารถสื่อทางภาษาได้ ความจริงแท้ในจักรวาล ต้องใช้การปฏิบัติ หนทางเดียวเท่านั้น เพื่อพิสูจน์ความจริง 4. คนที่ไม่มีวาสนาที่ดีกับเรา จะฟังไม่เข้าถึงใจ เราจึงโปรดเขาไม่ได้ ฝนแม้จะตกทั่วฟ้า ก็ยังไม่เกิดประโยชน์กับหญ้าที่ไร้ราก พระธรรมกว้างใหญ่ไพศาล ก็ยากที่จะโปรดคนไร้วาสนา
  • 50.
  • 51.
  • 52. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด ธรรมเทศนาครั้งที่ดีที่สุดครั้งหนึ่ง ในชีวิตของท่านพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี เป็นการเทศน์ที่ยากนักจะได้รับฟังจากที่ใด ตลอดการเทศน์ท่านได้รวบรวมกระแสจิต หลับตาดาดิ่ง ลงสู่ห้วงสมาธิ และถ่ายทอดธรรมจากใจออกสู่ทางวาจา เปรียบได้ดั่งแผนที่เส้นทางปฏิบัติธรรมที่ชัดเจนที่สุด ตั้งแต่เบื้องต้นต้นถึงปลายทาง แห่งพระนิพพาน เป็นของขวัญอันล้าค่าที่ครูบาอาจารย์ ได้มอบแก่ เหล่าศิษย์นักปฏิบัติทั้งหลาย 1. ผู้ปฏิบัติเพื่อมุ่งนิพพาน จะต้องถือศีลให้บริสุทธิ์ ข้อนี้สาคัญมาก ต้องจัดการเรื่องนี้ให้ได้ก่อนเรื่องอื่นใด คือ ใช้ชีวิตอยู่ในกรอบของศีลธรรมความดีงาม อะไรผิดศีล ห้ามทาโดยเด็ดขาด 2. ให้คิดถึงนิพพานทุกขณะ เหมือนนิพพานอยู่ตรงหน้า คือ ระลึกไว้เสมอว่า เราจะไปนิพพานเท่านั้น จุดเดียวที่เดียว อย่างอื่นไม่เอา ให้พุ่งตรง ตัดตรงไปเลย
  • 53. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) 3. ทาสมาธิในชีวิตประจาวันให้ได้ คือ ถ้าใครบริกรรมพุทโธ ก็ให้ทาไป ใครดูลมหายใจ ก็ให้ดูไป เรื่องนี้เน้นย้ามาก ให้คุมกรรมฐานไว้ระหว่างวัน ส่วนจะใช้กรรมฐานชนิดใด ตรงนี้ใช้ได้หมด ขอให้อยู่ในหมวดกรรมฐาน 40 ไม่มีอะไรผิด จุดนี้ให้เน้นไปที่ การทาสมถะก่อน อย่าเพิ่งไปสนใจวิปัสสนาในช่วงแรกๆ ต้องฝึกให้จิต มีความตั้งมั่นก่อน ให้จิตอยู่กับกรรมฐานของตน ตลอดเวลาทั้งวัน ยกเว้นเวลาที่ต้องทางานเท่านั้น เน้นว่า นี่คือการปฏิบัติเบื้องต้น ไม่ควรทาสุ่มสี่สุ่มห้า ไม่ควรทาผิดไปจากนี้ 4. เมื่อทาสมาธิในชีวิตประจาวัน ไปจนจิตเข้าสู่สมาธิได้แล้ว ให้สังเกตดู ช่วงนี้จิตจะปรุงกิเลสน้อยลง เพราะจิตมันอิ่มอารมณ์ มีอารมณ์เป็นหนึ่งมากขึ้น ทาความสงบได้ง่ายขึ้น พูดง่ายๆ ว่า จิตของเรา เริ่มมีกาลังเกิดความตั้งมั่นได้ง่าย คือ ในชีวิตประจาวัน ก็ทรงอารมณ์อยู่กับกรรมฐานได้ เมื่อทาสมาธิในรูปแบบ ก็มีอารมณ์เป็นหนึ่งได้ อย่างนี้ถือว่า เริ่มใช้ได้แล้ว ตรงนี้ ให้เริ่มพัฒนาในขั้นตอนต่อไป อย่าหยุดอยู่แค่การทาสมาธิ
  • 54. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) 5. พอจิตสงบ ตั้งมั่นแล้ว คราวนี้ท่านให้เริ่มเดินปัญญาต่อไปเลย เพียงแค่สมาธิอย่างเดียวนั้น จิตจะไม่มีความกว้างขวาง จะต้องเดินปัญญาต่อ จึงจะเกิดความกว้างขวาง นี่คือ สิ่งที่พระพุทธเจ้าแนะนาเอาไว้ต้องทาตามพระพุทธเจ้าท่านสอน 6. ให้เริ่มต้นพิจารณาร่างกาย โดยให้แยกเป็นส่วนๆ คือ เกศา โลมา นขา ทันตา ตโจ หรือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง นี่เป็นตาหรับแท้ๆ ของพระพุทธเจ้า ให้เอามาดูเป็นส่วนๆ ดูสิ เส้นผมของเราเป็นยังไง สะอาดหรือสกปรก เหมือนกันกับขนสัตว์ ชนิดอื่นหรือเปล่า ถ้าไม่อาบน้ามันจะเป็นอย่างไร แล้วไล่พิจารณาเรียงไปเรื่อยๆ จนครบทั้ง ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง กรรมฐาน 5 นี้ เป็นพื้นฐานทางเดินด้านปัญญา ให้หัดดูไปเรื่อยๆ เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง ก็ให้พิจารณาไป ให้เห็นว่า ที่ทาอยู่นี้คือ หินลับปัญญา 7. เมื่อทาจนชานาญ ต่อไป ก็ลองแยกให้เป็นธาตุ 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ พิจารณาให้เป็นอนิจจัง (ไม่เที่ยง) ทุกข์ขัง (เป็นทุกข์) อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) ทาเช่นนี้ สติปัญญาจะมากขึ้นเป็นลาดับ
  • 55. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) 8. เมื่อพิจารณาสักพัก ก็ให้ย้อนกลับมาทาสมาธิ เอาความสงบ เอากาลังของจิตใหม่ ต่อเมื่อจิตอยู่ในความสงบ เริ่มมีกาลังฟื้นตัว ก็กลับมาเดินไปปัญญาอีกครั้ง ให้ทาเช่นนี้สลับไป ห้ามทาอย่างหนึ่งอย่างใด เพียงอย่างเดียว ต้องมีทั้งการทาสมาธิ และเดินปัญญาสลับกันเรื่อยไป 9. เมื่อถึงจุดหนึ่ง คราวนี้ให้กาหนดเป็นอสุภะ อสุภะก็คือ กรรมฐานกองหนึ่ง ที่ทาให้เห็นธรรมชาติของ ร่างกายคนเรา มีอยู่10 ระยะ คือ -ซากศพที่เน่าพองขึ้นอืด -ซากศพที่มีสีเขียวคล้า คละด้วยสีต่างๆ -ซากศพที่มีน้าเหลือง น้าหนองไหลเยิ้ม (เน่าเฟะ) -ซากศพที่ขาดออกเป็น ๒ ท่อน -ซากศพที่ถูกสัตว์กัดกินแล้ว -ซากศพที่กระจุยกระจาย -ซากศพที่ถูกฟันบั่นเป็นท่อนๆ -ซากศพที่มีโลหิตไหลอาบอยู่ (จมกองเลือด)
  • 56. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) -ซากศพที่มีหนอนคลาคล่า เต็มไปหมด -ซากศพที่เหลืออยู่แต่ ร่างกระดูก หรือ เหลือแต่ท่อนกระดูก ในการกาหนดอสุภะนี้ ให้กาหนดภาพเหล่านี้ ขึ้นมาตรงหน้าเลย ทาให้ภาพนิ่งอยู่ตรงหน้าอย่างนั้น หมั่นเอาภาพอสุภะมาตั้ง ไว้ตรงหน้าเสมอ ตอนนี้ยังไม่ต้องทาอะไร แค่ให้จิตกาหนดภาพเหล่านี้ให้ได้ก็พอ แล้วดูไป ดูอย่างเดียว เพ่งไปเลยอย่าให้คลาด เมื่อถึงจุดที่เพียงพอ จิตมันจะรู้ของมันเอง 10. เมื่อถึงจุดที่เพียงพอแก่ความต้องการของจิต คราวนี้ธรรมชาติจะหมุน ไปสู่ความจริง ซึ่งในขั้นตอนนี้ จะเป็นธรรมที่ละเอียดมาก จิตมันจะมีปัญญา ในเรื่องกามราคะ ถึงตอนนั้น จิตมันจะสิ้นข้อสงสัย ในเรื่องกามราคะไปเลย โดยไม่ต้องมีใครบอก ในขั้นนี้ จะสาเร็จเป็นพระอนาคามีแล้ว 11. เมื่อทาซ้าๆ จนบรรลุอนาคามี จิตจะไม่กลับมาเกิดอีก เพราะกามราคะมัน ขาดสะบั้นไปสิ้น จิตมันจะหมุนขึ้นสูงอย่างเดียว ไม่ลงต่า ไปอยู่ชั้นพรหมสุทธาวาส เวลานั้นจิตจะรู้ความจริงไปตามลาดับ
  • 57. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) 12.ทบทวนและย้าอีกรอบว่า "เมื่อทาสมาธิ(สมถะ) ให้พักเรื่องปัญญา(วิปัสสนา) และเมื่อเดินปัญญา(วิปัสสนา) ก็ให้พักเรื่องสมาธิ(สมถะ) ทั้งสองสิ่งนี้ จะต้องทาสลับกันไปตลอด ห้ามทิ้งอย่างหนึ่งอย่างใด และเมื่อทาสิ่งหนึ่ง ก็ไม่ต้องคิดถึงอีกสิ่ง คือ ทาความสงบ ก็ทาไป พิจารณาความจริง ก็ทาไป ห้ามนามาปนกัน ให้ทาสลับไปอย่างนี้เรื่อยๆ ตลอดการปฏิบัติ 13. เมื่อก้าวถึงภูมิอนาคามีแล้ว จะมีภูมิของอนาคามีที่เข้มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมีความเข้มข้นอยู่ 5 ระดับ ซึ่งส่วนใหญ่จะเลื่อนขึ้นไปเป็นขั้นๆ พวกที่ก้าวข้ามขั้นไปเลยก็มี แต่ส่วนใหญ่ในช่วงกึ่งพุทธกาลเช่นนี้ จะหายาก โดยมากแล้วจะไปทีละขั้น เพราะด่านกามราคะมันยากจริงๆ ไม่ใช่ของง่าย 14. ในขั้นนี้ปัญญา จะเดินอัตโนมัติ ตลอดเวลาแล้ว เห็นนิพพานอยู่ตรงหน้า ช่วงนี้ปัญญาจะฆ่ากิเลส ตลอดเวลาทุกอิริยาบถ ทั้งยืน เดิน นั่ง ฆ่ากิเลสตลอดเวลา ยกเว้นเวลานอนหลับ ตอนนั้นไม่มีคาว่า เผลอแล้ว เพราะปัญญาจะเกิดอย่างถี่ยิบ
  • 58. การปฏิบัติเพื่อเอามรรคเอาผล สาหรับผู้ไม่ต้องการเกิด (ต่อ) 15. สติปัญญาเดินมาก ต้องย้อนสู่สมาธิ ห้ามเดินปัญญา แต่อย่างเดียวเด็ดขาด ต้องทาสลับกันไปเช่นนี้ 16. ต่อไปจะก้าวเข้าสู่มหาสติปัญญา ถึงตรงนี้จะหมดนิมิต ที่เกี่ยวกับจิต เหมือนฟ้าแลบตลอด ไม่ต้องบังคับให้จิตทางาน กิเลสซ่อนอยู่ตรงไหน ปัญญาจะตามไปฆ่าเชื้อที่นั่น ส่วนใหญ่ถึงตรงนี้ ทุกข์เวทนาจะน้อยมากๆ เหลือเพียงสุขเวทนาเท่านั้น มันจะเห็นสุขเวทนาชัดเจนมาก จุดนี้เองที่มันจะเข้าไปใน ปราสาทราชวัง ไปเจอนายใหญ่ คือ อวิชชา ค้นพบอริยสัจ 4 มันจะเห็นกษัตริย์แห่งวัฏฏะ คือ ตัวอวิชชา ถึงตรงนั้นทุกสรรพสิ่งจะว่างไปหมด ยกเว้นเพียงตัวเองที่ยังไม่ว่าง 17. เมื่อถึงจิตตะ คือ อวิชชา พอเปิดอันนี้ออก จิตมันก็จ้าขึ้น ตอนนี้ข้างนอกก็สว่าง ภายในก็สว่าง ว่างทั้งหมด ตัวเราก็ว่าง เป็นวิมุต คือ ธรรมชาติที่แท้จริง จิตเป็นธรรมธาตุ เป็นภาวะนิพพาน จิตไม่เคยตาย ถึงธรรมชาติแล้ว หายสงสัยล้านเปอร์เซ็นต์ 18. แรกเริ่ม ธาตุขันธ์ เป็นเครื่องมือของกิเลส แต่ปฏิบัติไปถึงจุดหนึ่ง ธาตุขันธ์จะเป็นเครื่องมือ ของธรรมทั้งหมด"
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. จัดทาโดย นายพลศักดิ์ คาสัตย์ ม. 5/2 นายปิยพงษ์ ยาเมฆ ม.5/3 นางสาวมธุลิน ขุนแก้ว ม.5/2 นางสาววิรากร อุปธิ ม.5/2 ขออนุญาตปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ครอบคลุมธรรมะที่จาเป็น โดย...สมบัติ นาคะเสถียร 16 มิ.ย. 2560 แก้ไขครั้งที่ 04