SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
19/08/57
1
Learners’ Mental Model of Constructivist
Learning Environment embed Learning
Management System
ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร นักวิจัย
รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ นักวิจัยที่ปรึกษา
Faculty of Education
ที่มาและความสาคัญ
ของการวิจัย
งานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาใน
ปัจจุบันมุ่งให้ความสนใจเกี่ยวกับ
การศึกษาถึงผลของสื่อที่มีต่อปัจจัยทาง
จิตวิทยาที่มีผลต่อกระบวนการสร้างสิ่ง
แทนความรู้ (representation )
Clark (1983) concludes that ". . . media
do not influence learning under any
conditions“ Rather, ". . . media are
mere vehicles that deliver instruction
but do not influence student
achievement any more than the truck
that delivers our groceries causes
changes in our nutrition (learning)"
เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการ
ใช้เทคโนโลยีจากเพื่อขนส่ง
ความรู้ไปยังผู้เรียน
(technology used to deliver
instruction)
มาเป็ น
การออกแบบเพื่อให้ผู้เรียน
สร้างการเรียนรู้และความ
เข้าใจผ่านการมีปฏิสัมพันธ์
อย่างมีความหมายกับ
เทคโนโลยี
Mental model is model of
learner understanding
Faculty of Education
19/08/57
2
ที่มาและความสาคัญ
ของการวิจัย
Faculty of Education
ที่มาและความสาคัญ
ของการวิจัย
Faculty of Education
Learning Management System (LMS)
มีเครื่องมือที่สนับสนุนทั้งผู้สอน ผู้เรียน
และผู้ดูแลระบบ
แต่จากการวิเคราะห์รายวิชาที่ใช้
LSM จานวน 1918 รายวิชา
มีการออกแบบบทเรียนที่ใช้ใน
ลักษณะที่เป็ นการนาเสนอและ
บอกความรู้เท่านั้น
แต่การออกแบบที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างตื่นตัว
(Active learning) การเผชิญ
สถานการณ์ปัญหา และการคิด
เชื่อมโยงจากปัญหาที่มีความ
ซับซ้อนปรากฏให้เห็นน้อยมาก
การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นการค้นหาวิธีการ
ออกแบบบทเรียนบท LMS ที่ส่งเสริมการ
สร้างความรู้
Constructivist
Learning
Environment
technology-based in which learners are engaged
in meaningful interactions, emphasis is on
learners who interpret and construct meaning
based on their own experiences and interactions
เพื่อศึกษาเมนทอลโมเดลของผู้เรียน
19/08/57
3
วิธีดาเนินการวิจัย
กลุ่มเป้ าหมาย
การศึกษาครั้งนี้ทาการศึกษากับนักศึกษา
ปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 ที่
เรียนรายวิชา ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอน
สตรัคชันนิสซึม จานวน 41 คน
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็ น
การวิจัยก่อนการทดลองแบบกลุ่มเดียวที่มี
การศึกษาผลหลังเรียน (One Short Case
Study) โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับ
เมนทอลโมเดลของผู้เรียนที่เรียนด้วย
CLEsLMS
Faculty of Education
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
การวิจัยเอกสาร ศึกษาบริบท
ของLMS สังเคราะห์แนวคิดใน
การออกแบบ CLEsLMS
นามาพัฒนาและสร้าง
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
ระบบการจัดการเรียนการสอน
ตามองค์ประกอบ
ประเมินผลผลิต
ประเมินบริบทการใช้
ประเมินความคิดเห็น
ประเมินความสามารถทางพุทธิ
ปัญญา
Development process Evaluation processDesign process
Faculty of Education
19/08/57
4
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
Faculty of Education
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
Related Cases
องค์ประกอบ
Problem Context
Knowledge bank
Cognitive toolCollaboration Tools
Social/Contextual
Support
Faculty of Education
19/08/57
5
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
Faculty of Education
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
ภารกิจการเรียนรู้ (ที่ส่งเสริมเมนทอลโมเดล)
(1) ให้นักศึกษาอธิบายความสาคัญของ
ซอร์ฟแวร์หุ่นยนต์
(2) ให้นักศึกษาออกแบบหุ่นยนต์และเขียน
คาสั่งโดยใช้โปรแกรมซอร์ฟแวร์หุ่นยนต์ในการ
ทดสอบในด่านจาลอง อธิบายขั้นตอนในการ
แก้ปัญหา (นาเสนอในรูปแบบแผนผัง (Flow
chart))
(2.1) จากการแก้ปัญหานี้นักศึกษามี
กระบวนการในการหาคาตอบอย่าง(นาเสนอใน
รูปแบบแผนภาพ)
(2.2) นักศึกษาใช้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
ใดบ้างในการแก้ปัญหานี้
ประเมินสถานการณ์จาลอง
เพื่อออกแบบการแก้ปัญหา
ออกแบบ Hardware หุ่นยนต์
ตามสถานการณ์
ออกแบบ software หุ่นยนต์
ตามสถานการณ์
ทดสอบ
ปรับปรุงแก้ไข
Faculty of Education
19/08/57
6
วิธีดาเนินการวิจัย
Constructivist Learning Environment on Learning
Management System (CLEsLMS)
Faculty of Education
วิธีดาเนินการวิจัย
เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสัมภาษณ์เพื่อศึกษาเมนทอลโมเดลตามกรอบของ Mayer (1996) และ
Merrienboer (1997) ประกอบด้วย 2 ลักษณะคือ เมนทอลโมเดลที่เป็ น
ความรู้เชิงหลักการ และ เมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการ โดย
เมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงหลักการจะศึกษาลักษณะของโครงสร้าง
ทางปัญญาที่แทนความเข้าใจเนื้อบทเรียนว่ามีลักษณะเป็ นอย่างไร คือ
Simple – to – Complex, Detail – to – General, Concrete – to –
Abstract ส่วนเมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการจะศึกษาลักษณะ
ของการทาความเข้าใจที่แสดงถึงขั้นตอนเกี่ยวกับการที่จะบรรลุถึงเป้ าหมาย
โดยมีเงื่อนไข (Condition) ต่างๆว่าทาอย่างไรเพื่อการบรรลุถึงผลลัพธ์ใน
การแก้ปัญหา (Action)
Faculty of Education
19/08/57
7
วิธีดาเนินการวิจัย
Faculty of Education
วิธีดาเนินการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
Faculty of Education
19/08/57
8
ผลการวิจัย
จากผลการวิเคราะห์โปรโตคอลการสัมภาษณ์นักเรียน รวมทั้ง
การนาเสนอแบบจาลองความคิดของนักเรียนที่อธิบายความ
เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยสัมภาษณ์ พบว่า
ผู้เรียนสามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้แทนความเข้าใจในลักษณะ
ที่เป็ นโมเดล ซึงสามารถอธิบายความสัมพันธ์เชื่อมโยงในแต่
ละความคิดรวบยอดได้ และโมเดลนั้นสามารถอธิบายถึงความ
เปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อเงื่อนไขอื่นๆได้ นอกจากนี้เมื่อ
พิจารณาเมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงหลักการ พบว่า มี 2
ลักษณะคือ (1) Complex Schema และ (2) Abstract
Schema ลักษณะของ Complex Schema รวมทั้งเมนทอล
โมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการ พบว่า ผู้เรียนสามารถ
แสดงขั้นตอนและรายละเอียดของเงื่อนไขในการเข้าถึง
ผลลัพธ์
Faculty of Education
ผลการวิจัย
student A Student B
Faculty of Education
19/08/57
9
ผลการวิจัย
“เริ่มต้นการทางานวิเคราะห์สถานการณ์
การทางานของหุ่นยนต์ เมื่อวิเคราะห์เสร็จ
แล้ว ก็กาหนดรูปแบบการทางานของ
หุ่นยนต์เพื่อที่จะให้หุ่นยนต์นั้นทางานได้
ตรงตามภารกิจ แล้วจึงออกแบบฮาร์ดแวร์
หุ่นยนต์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่จะ
แก้ปัญหา โดยเลือกใช้เซ็นเซอร์ 2 ตัวคือ
เซนเซอร์อัลตร้าโซนิคและเซนเซอร์แสง
แล้วก็หลังจากนั้นก็ติดตั้งระบบซอร์ฟแวร์
ลงบนตัวหุ่นยนต์ โดยให้ออกแบบ
ซอร์ฟแวร์ให้ทาตามที่กาหนด หลังจากนั้น
ก็นาไปทดสอบในสนามจาลอง หากไม่
สามารถแก้ปัญหาได้ให้กลับไปวิเคราะห์
สถานการณ์ใหม่อีกครั้งหนึ่งและหาก
สถานการณ์นั้นสาเร็จก็จบภารกิจ”
student A
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างความคิด
รวบยอดทั้ง 3 เรื่อง
ความรู้การวิเคราะห์สถานการณ์
ตามโจทย์ที่ได้รับแล้วเขียน
ออกมาเป็ นระบบงาน
ความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์
ความรู้เกี่ยวกับระบบซอร์ฟแวร์
Faculty of Education
ผลการวิจัย
ฮาร์ดแวร์
ซอร์ฟแวร์
เชื่อมโยงระหว่าง
ความคิดรวบ
ยอดทั้ง 3 เรื่อง
การวิเคราะห์
สถานการณ์
โดยเปรียบเทียบเงื่อนไข
คาสั่งเทียบกับ
คุณลักษณะของ
ฮาร์ดแวร์เลือกใช้
ฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสม
เซนเซอร์อัลตร้าโซนิค
และเซนเซอร์แสง
ออกแบบซอฟต์แวร์อย่างไรที่จะ
สามารถสั่งการให้ฮาร์ดแวร์ทางาน
ได้ตามที่สถานการณ์ปัญหากาหนด
Faculty of Education
19/08/57
10
ผลการวิจัย
“1) ประเมินสถานการณ์ปัญหาที่โจทย์
กาหนดให้ ว่ามีการเดินทางจากจุดเริ่มต้น
หรือจุดสิ้นสุดอย่างไร และมีอุปสรรค
อะไรบ้างค่ะ 2) ออกแบบฮาร์ดแวร์ ให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา โดยดู
จากสถานการณ์จาลองค่ะ เช่น มีกาแพง มี
เส้นทึบ ค่ะ 3) ออกแบบซอฟแวร์ โดยดู
จากสถานการณ์ปัญหา และฮาร์ดแวร์ ที่ใช้
ว่าใช้การเขียนโปรแกรมอย่างไร มีขั้นตอน
อย่างไรบ้างค่ะ 4) เมื่อเขียนซอฟแวร์เสร็จ
แล้วนาไปทดลองในสถานการณ์จาลอง ถ้า
ไม่ผ่านก็กลับไปแก้ใหม่ค่ะ ตั้งแต่ต้น
ออกแบบฮาร์ดแวร์ ลงมาถ้าผ่านก็จบการ
ทางานค่ะ”
student A
การอธิบายถึงการวิเคราะห์
สถานการณ์ปัญหา
การออกแบบฮาร์ดแวร์
การออกแบบซอร์ฟแวร์
การนาไปทดสอบและปรับปรุง
Faculty of Education
ผลการวิจัย
student A
1.วิเคราะห์สถานการณ์และฮาร์ดแวร์หุ่นยนต์
2.เจอกาแพง
3.เจอเส ้นทึบ
Action
1.นามาออกแบบซอร์ฟแวร์ของหุ่นยนต์
2เขียนโปรแกรมโดยใช ้คาสั่ง Touch Sensor
เมื่อชนแล ้วจึงใช ้คาสั่งให ้เลี้ยวซ ้าย
3.เขียนโปรแกรมโดยใช ้คาสั่ง Light Sensor
เพื่อตรวจจับแสงจึงเลี้ยวซ ้าย
Condition
Faculty of Education
19/08/57
11
ผลการวิจัย
สาเหตุที่ผลการวิจัยเป็ นเช่นนี้อาจเนื่องมาจากใน CLEsLMS
สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ ้อน (Ill-Structure Problem) ที่
ต ้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องต่างๆที่มีความเกี่ยวข ้องไป
ใช ้ในการแก ้ปัญหา
คุณลักษณะของเครื่องมือใน CLEsLMS สนับสนุนกระบวนการ
แก ้ปัญหาโดยการใช ้เครื่องมือเพื่อค ้นหา แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยง
ความรู้ในลักษณะที่เป็นเครือข่ายความรู้
การออกแบบธนาคารความรู้ในลักษณะที่อาศัยการเชื่อมโยงเป็น
โหนดความรู้
Faculty of Education
Thank you!
Contact Address:
Dr.Issara Kanjug Educational technology program, Faculty of Education, Khon Kean Universiry
Tel:0815748880
Email: issara.kan@gmail.com,
www.kku.ac.th
Faculty of Education

Más contenido relacionado

Similar a Issara trf-present-2012

201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)Ptato Ok
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Ged Gis
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์DrJoe Weawsorn
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7oraya-s
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 

Similar a Issara trf-present-2012 (20)

Pu
PuPu
Pu
 
.3
 .3  .3
.3
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 
201701 presentation
201701 presentation201701 presentation
201701 presentation
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
 
Identifying isd addie 2 wiki
Identifying  isd addie 2 wikiIdentifying  isd addie 2 wiki
Identifying isd addie 2 wiki
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 

Más de Tar Bt

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentTar Bt
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacherTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_newTar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2Tar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchTar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04Tar Bt
 

Más de Tar Bt (20)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacher
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 

Issara trf-present-2012

  • 1. 19/08/57 1 Learners’ Mental Model of Constructivist Learning Environment embed Learning Management System ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร นักวิจัย รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ นักวิจัยที่ปรึกษา Faculty of Education ที่มาและความสาคัญ ของการวิจัย งานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาใน ปัจจุบันมุ่งให้ความสนใจเกี่ยวกับ การศึกษาถึงผลของสื่อที่มีต่อปัจจัยทาง จิตวิทยาที่มีผลต่อกระบวนการสร้างสิ่ง แทนความรู้ (representation ) Clark (1983) concludes that ". . . media do not influence learning under any conditions“ Rather, ". . . media are mere vehicles that deliver instruction but do not influence student achievement any more than the truck that delivers our groceries causes changes in our nutrition (learning)" เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการ ใช้เทคโนโลยีจากเพื่อขนส่ง ความรู้ไปยังผู้เรียน (technology used to deliver instruction) มาเป็ น การออกแบบเพื่อให้ผู้เรียน สร้างการเรียนรู้และความ เข้าใจผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ อย่างมีความหมายกับ เทคโนโลยี Mental model is model of learner understanding Faculty of Education
  • 2. 19/08/57 2 ที่มาและความสาคัญ ของการวิจัย Faculty of Education ที่มาและความสาคัญ ของการวิจัย Faculty of Education Learning Management System (LMS) มีเครื่องมือที่สนับสนุนทั้งผู้สอน ผู้เรียน และผู้ดูแลระบบ แต่จากการวิเคราะห์รายวิชาที่ใช้ LSM จานวน 1918 รายวิชา มีการออกแบบบทเรียนที่ใช้ใน ลักษณะที่เป็ นการนาเสนอและ บอกความรู้เท่านั้น แต่การออกแบบที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างตื่นตัว (Active learning) การเผชิญ สถานการณ์ปัญหา และการคิด เชื่อมโยงจากปัญหาที่มีความ ซับซ้อนปรากฏให้เห็นน้อยมาก การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นการค้นหาวิธีการ ออกแบบบทเรียนบท LMS ที่ส่งเสริมการ สร้างความรู้ Constructivist Learning Environment technology-based in which learners are engaged in meaningful interactions, emphasis is on learners who interpret and construct meaning based on their own experiences and interactions เพื่อศึกษาเมนทอลโมเดลของผู้เรียน
  • 3. 19/08/57 3 วิธีดาเนินการวิจัย กลุ่มเป้ าหมาย การศึกษาครั้งนี้ทาการศึกษากับนักศึกษา ปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 ที่ เรียนรายวิชา ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคชันนิสซึม จานวน 41 คน รูปแบบการวิจัย รูปแบบการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็ น การวิจัยก่อนการทดลองแบบกลุ่มเดียวที่มี การศึกษาผลหลังเรียน (One Short Case Study) โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับ เมนทอลโมเดลของผู้เรียนที่เรียนด้วย CLEsLMS Faculty of Education วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) การวิจัยเอกสาร ศึกษาบริบท ของLMS สังเคราะห์แนวคิดใน การออกแบบ CLEsLMS นามาพัฒนาและสร้าง สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน ระบบการจัดการเรียนการสอน ตามองค์ประกอบ ประเมินผลผลิต ประเมินบริบทการใช้ ประเมินความคิดเห็น ประเมินความสามารถทางพุทธิ ปัญญา Development process Evaluation processDesign process Faculty of Education
  • 4. 19/08/57 4 วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) Faculty of Education วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) Related Cases องค์ประกอบ Problem Context Knowledge bank Cognitive toolCollaboration Tools Social/Contextual Support Faculty of Education
  • 5. 19/08/57 5 วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) Faculty of Education วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) ภารกิจการเรียนรู้ (ที่ส่งเสริมเมนทอลโมเดล) (1) ให้นักศึกษาอธิบายความสาคัญของ ซอร์ฟแวร์หุ่นยนต์ (2) ให้นักศึกษาออกแบบหุ่นยนต์และเขียน คาสั่งโดยใช้โปรแกรมซอร์ฟแวร์หุ่นยนต์ในการ ทดสอบในด่านจาลอง อธิบายขั้นตอนในการ แก้ปัญหา (นาเสนอในรูปแบบแผนผัง (Flow chart)) (2.1) จากการแก้ปัญหานี้นักศึกษามี กระบวนการในการหาคาตอบอย่าง(นาเสนอใน รูปแบบแผนภาพ) (2.2) นักศึกษาใช้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ใดบ้างในการแก้ปัญหานี้ ประเมินสถานการณ์จาลอง เพื่อออกแบบการแก้ปัญหา ออกแบบ Hardware หุ่นยนต์ ตามสถานการณ์ ออกแบบ software หุ่นยนต์ ตามสถานการณ์ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข Faculty of Education
  • 6. 19/08/57 6 วิธีดาเนินการวิจัย Constructivist Learning Environment on Learning Management System (CLEsLMS) Faculty of Education วิธีดาเนินการวิจัย เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์เพื่อศึกษาเมนทอลโมเดลตามกรอบของ Mayer (1996) และ Merrienboer (1997) ประกอบด้วย 2 ลักษณะคือ เมนทอลโมเดลที่เป็ น ความรู้เชิงหลักการ และ เมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการ โดย เมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงหลักการจะศึกษาลักษณะของโครงสร้าง ทางปัญญาที่แทนความเข้าใจเนื้อบทเรียนว่ามีลักษณะเป็ นอย่างไร คือ Simple – to – Complex, Detail – to – General, Concrete – to – Abstract ส่วนเมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการจะศึกษาลักษณะ ของการทาความเข้าใจที่แสดงถึงขั้นตอนเกี่ยวกับการที่จะบรรลุถึงเป้ าหมาย โดยมีเงื่อนไข (Condition) ต่างๆว่าทาอย่างไรเพื่อการบรรลุถึงผลลัพธ์ใน การแก้ปัญหา (Action) Faculty of Education
  • 8. 19/08/57 8 ผลการวิจัย จากผลการวิเคราะห์โปรโตคอลการสัมภาษณ์นักเรียน รวมทั้ง การนาเสนอแบบจาลองความคิดของนักเรียนที่อธิบายความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยสัมภาษณ์ พบว่า ผู้เรียนสามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้แทนความเข้าใจในลักษณะ ที่เป็ นโมเดล ซึงสามารถอธิบายความสัมพันธ์เชื่อมโยงในแต่ ละความคิดรวบยอดได้ และโมเดลนั้นสามารถอธิบายถึงความ เปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อเงื่อนไขอื่นๆได้ นอกจากนี้เมื่อ พิจารณาเมนทอลโมเดลที่เป็ นความรู้เชิงหลักการ พบว่า มี 2 ลักษณะคือ (1) Complex Schema และ (2) Abstract Schema ลักษณะของ Complex Schema รวมทั้งเมนทอล โมเดลที่เป็ นความรู้เชิงกระบวนการ พบว่า ผู้เรียนสามารถ แสดงขั้นตอนและรายละเอียดของเงื่อนไขในการเข้าถึง ผลลัพธ์ Faculty of Education ผลการวิจัย student A Student B Faculty of Education
  • 9. 19/08/57 9 ผลการวิจัย “เริ่มต้นการทางานวิเคราะห์สถานการณ์ การทางานของหุ่นยนต์ เมื่อวิเคราะห์เสร็จ แล้ว ก็กาหนดรูปแบบการทางานของ หุ่นยนต์เพื่อที่จะให้หุ่นยนต์นั้นทางานได้ ตรงตามภารกิจ แล้วจึงออกแบบฮาร์ดแวร์ หุ่นยนต์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่จะ แก้ปัญหา โดยเลือกใช้เซ็นเซอร์ 2 ตัวคือ เซนเซอร์อัลตร้าโซนิคและเซนเซอร์แสง แล้วก็หลังจากนั้นก็ติดตั้งระบบซอร์ฟแวร์ ลงบนตัวหุ่นยนต์ โดยให้ออกแบบ ซอร์ฟแวร์ให้ทาตามที่กาหนด หลังจากนั้น ก็นาไปทดสอบในสนามจาลอง หากไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ให้กลับไปวิเคราะห์ สถานการณ์ใหม่อีกครั้งหนึ่งและหาก สถานการณ์นั้นสาเร็จก็จบภารกิจ” student A แสดงความเชื่อมโยงระหว่างความคิด รวบยอดทั้ง 3 เรื่อง ความรู้การวิเคราะห์สถานการณ์ ตามโจทย์ที่ได้รับแล้วเขียน ออกมาเป็ นระบบงาน ความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ ความรู้เกี่ยวกับระบบซอร์ฟแวร์ Faculty of Education ผลการวิจัย ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ เชื่อมโยงระหว่าง ความคิดรวบ ยอดทั้ง 3 เรื่อง การวิเคราะห์ สถานการณ์ โดยเปรียบเทียบเงื่อนไข คาสั่งเทียบกับ คุณลักษณะของ ฮาร์ดแวร์เลือกใช้ ฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสม เซนเซอร์อัลตร้าโซนิค และเซนเซอร์แสง ออกแบบซอฟต์แวร์อย่างไรที่จะ สามารถสั่งการให้ฮาร์ดแวร์ทางาน ได้ตามที่สถานการณ์ปัญหากาหนด Faculty of Education
  • 10. 19/08/57 10 ผลการวิจัย “1) ประเมินสถานการณ์ปัญหาที่โจทย์ กาหนดให้ ว่ามีการเดินทางจากจุดเริ่มต้น หรือจุดสิ้นสุดอย่างไร และมีอุปสรรค อะไรบ้างค่ะ 2) ออกแบบฮาร์ดแวร์ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา โดยดู จากสถานการณ์จาลองค่ะ เช่น มีกาแพง มี เส้นทึบ ค่ะ 3) ออกแบบซอฟแวร์ โดยดู จากสถานการณ์ปัญหา และฮาร์ดแวร์ ที่ใช้ ว่าใช้การเขียนโปรแกรมอย่างไร มีขั้นตอน อย่างไรบ้างค่ะ 4) เมื่อเขียนซอฟแวร์เสร็จ แล้วนาไปทดลองในสถานการณ์จาลอง ถ้า ไม่ผ่านก็กลับไปแก้ใหม่ค่ะ ตั้งแต่ต้น ออกแบบฮาร์ดแวร์ ลงมาถ้าผ่านก็จบการ ทางานค่ะ” student A การอธิบายถึงการวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา การออกแบบฮาร์ดแวร์ การออกแบบซอร์ฟแวร์ การนาไปทดสอบและปรับปรุง Faculty of Education ผลการวิจัย student A 1.วิเคราะห์สถานการณ์และฮาร์ดแวร์หุ่นยนต์ 2.เจอกาแพง 3.เจอเส ้นทึบ Action 1.นามาออกแบบซอร์ฟแวร์ของหุ่นยนต์ 2เขียนโปรแกรมโดยใช ้คาสั่ง Touch Sensor เมื่อชนแล ้วจึงใช ้คาสั่งให ้เลี้ยวซ ้าย 3.เขียนโปรแกรมโดยใช ้คาสั่ง Light Sensor เพื่อตรวจจับแสงจึงเลี้ยวซ ้าย Condition Faculty of Education
  • 11. 19/08/57 11 ผลการวิจัย สาเหตุที่ผลการวิจัยเป็ นเช่นนี้อาจเนื่องมาจากใน CLEsLMS สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ ้อน (Ill-Structure Problem) ที่ ต ้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องต่างๆที่มีความเกี่ยวข ้องไป ใช ้ในการแก ้ปัญหา คุณลักษณะของเครื่องมือใน CLEsLMS สนับสนุนกระบวนการ แก ้ปัญหาโดยการใช ้เครื่องมือเพื่อค ้นหา แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยง ความรู้ในลักษณะที่เป็นเครือข่ายความรู้ การออกแบบธนาคารความรู้ในลักษณะที่อาศัยการเชื่อมโยงเป็น โหนดความรู้ Faculty of Education Thank you! Contact Address: Dr.Issara Kanjug Educational technology program, Faculty of Education, Khon Kean Universiry Tel:0815748880 Email: issara.kan@gmail.com, www.kku.ac.th Faculty of Education