SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
โรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน (Zoonosis)
อ.ฐาปกรณ์ ก้อนทองคํา
รายวิชา การจัดการโรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อ17 มกราคม 63
Zoo - Animal
Nosos - ill
ZOONOSES หมายถึง
โรคติดต่อระหว่างคนและสัตว์ที่
มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
ทั้งสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า การ
ติดต่ออาจติดต่อจากสัตว์มายัง
คน หรือจากคนไปยังสัตว์ก็ได้
Zoonotic diseases (Zoonoses)
2
ผลกระทบของ Zoonotic diseases
การแพร่เชื้อ
ระหว่างสัตว์
การแพร่เชื้อ
ระหว่างสัตว์-คน
การแพร่เชื้อ
ระหว่างคน
ส่งผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจในสัตว์
ที่เป็น reservoir
ป่วย-ตาย
3
โรคติดตอกันไดอยางไร?
• Direct contact: ติดผ่านสารคัดหลั่ง เลือด ปัสสาวะ อุจจาระ
• Indirect contact: ติดต่อจากพื้นที่อาศัยของสัตว์ โดยได้รับเชื้อ
ผ่านสิ่งของ อุปกรณ์ นํ้า ดิน ที่มีเชื้อ เช่น นํ้าปนเปื้อน อุจจาระสัตว์
พืช ดิน เป็นต้น
• Vector-borne: ติดต่อผ่านแมลง เช่น ยุง เห็บ หมัด ไร
• Foodborne: ติดต่อโดยการทานอาหารที่ติดเชื้อ เช่น ดื่มนํ้า-นม ไข่
ดิบ เนื้อดิบ ผักดิบ เป็นต้น
4
ประชากรกลุมเสี่ยง
ทุกคนล้วนเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรค zoonotic diseases แต่กลุ่มที่เสี่ยง
มากกว่ากลุ่มอื่น ๆ คือ
• เด็ก
• ผู้สูงอายุ
• ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันตํ่า
5
ชนิดของเชื้อที่ทําให้เกิดโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
• Anthrax, Brucellosis, Leptospirosis, Plague, Melliodiosis, Clostridial food
poisoning, Vibrio parahaemolyticus, Salmonellosis, Shigellosis, E.coli
infection, Staphylococcus food poisoning, Tuberculosis เป็นต้น
เชื้อแบคทีเรีย
• Swine flu, Avian Influenza, Rabies, Japanese encephalitis, Ebola
disease, Yellow fever เป็นต้นเชื้อไวรัส
• Aspergillosis, Cryptococcosis, Histoplasmosis, Candidiasisเชื้อรา
• Trichinosis, Filariasis, Angiostrongyliasis, Gnathostomiasis,
Opisthorchiasis, Fasciolopsiasis, Schistosomiasis, Paragonimiasis,
Cysticercosis, Toxoplasmosis, Anisakiasis, Capillariasis เป็นต้น
ปรสิต
6
List of diseases
• Anthrax
• Avian and other zoonotic
influenza
• Botulism
• Brucellosis
• Campylobacter
• Chagas disease
• Chikungunya
• Dengue
• E. coli
• Echinococcosis
• Encephalitis
• Foodborne trematode
infections
https://www.who.int/zoonoses/diseases/en/
Haemorrhagic fevers
Haemorrhagic fevers, Viral
•Crimean-Congo haemorrhagic fever
(CCHF)
•Dengue/dengue haemorrhagic fever
•Ebola virus disease
•Lassa fever
•Marburg virus disease
•Rift Valley fever
•Japanese encephalitis
•Leishmaniasis
•Leptospiroris
•MERS-CoV
•Plague
•Rabies
•Salmonella (non typhoidal)
•SARS
•Spongiform encephalopathies
•Steptococcus suis
•Taeniasis/cysticercosis
•Variant Creutzfeldt-Jakob
disease
•Zika virus
•Zoonotic Tuberculosis
7
Zoonoses ในระบบเฝาระวัง (รง.506)
Rabies
Anthrax
Leptospirosis Trichinosis
Brucellosis
Avian
Influenza
8
โรคพิษสุนัขบา
(Rabies)
เชื้อ: Rabies virus
แหล่งโรค: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ทุกชนิด
ช่องทางการติดเชื้อ: สัตว์กัดหรือ
ข่วน เลียบาดแผล ติดเชื้อผ่าน
นํ้าลาย
ระยะฟักตัว: 2-3 เดือน (ไม่
แน่นอน อาจพบ 1 สัปดาห์ – 1 ปี
เคยพบมากสุด 7 ปี)
ความรุนแรง: เสียชีวิต 100%
9
คํานิยาม: การวินิจฉัยโรค
พิษสุนัขบา
ผู้ที่มีอาการผิดปกติทางระบบประสาท
แบบเฉียบพลัน (ภาวะสมองอักเสบ) ทั้ง
อาการแบบคลุ้มคลั่ง กระวนกระวาย หรือ
แบบอัมพาต แขนขาอ่อนแรง จนกระทั่ง
หมดสติและเสียชีวิตในที่สุด ซึ่งมักเกิด
จากการทํางานของหัวใจหรือระบบ
ทางเดินหายใจล้มเหลว โดยใช้ระยะเวลา
7-10 วันนับตั้งแต่แสดงอาการ
10
การเกิดโรค
11
โรคพิษสุนัขบา (Rabies)
ปี 60 11 ราย
ปี 61 17 ราย
ปี 62 3 ราย
ที่มา: กรมควบคุมโรค, ผลการวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ, 2558
12
อาการและอาการแสดงในคน
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1. ระยะเริ่มต้น ผู้ป่วยจะมีอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น ไข้ เจ็บคอ ปวด
ศีรษะ เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน กระวน
กระวายนอนไม่หลับ ระยะนี้มีเวลาประมาณ 2-10 วัน
2. ระยะที่มีอาการทางสมอง ผู้ป่ วยจะมีอาการสับสน วุ่นวาย
กระสับกระส่าย อยู่ไม่นิ่ง กลืนลําบาก รวมถึงกลัวนํ้า อาการจะมากขึ้นหาก
มีเสียงดัง หรือถูกสัมผัสเนื้อตัว จากนั้นผู้ป่วยอาจมีอาการชักและเป็น
อัมพาต ระยะนี้มีอาการประมาณ 2-7 วัน
3. ระยะท้าย ผู้ป่วยอาจมีภาวะหายใจล้มเหลว หัวใจหยุดเต้น โคม่า และ
เสียชีวิตในเวลาอันสั้น
13
อาการทางคลินิก
1. อาการแบบคลุ้มคลั่ง (Furious หรือ Encephalitic rabies): โดยเฉลี่ยเสียชีวิต
ใน 5 วัน ต้องมีอาการครบทั้ง 3 ประการ ดังนี้
1.1) Fluctuation of conscious - มีอาการสับเปลี่ยนระหว่างการรู้ตัวปกติ
และกระวนกระวายต่อแสง เสียง และมีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนคลุ้มคลั่ง
1.2) Phobic spasms - กลัวนํ้า กลัวลมในขณะที่รู้สึกตัว ถอนหายใจเป็นพักๆ
1.3) Autonomic stimulation - ขนลุกทั้งตัวหรือบางส่วน รูม่านตาไม่
ตอบสนองต่อแสง นํ้าลายมากผิดปกติ คัน ปวดแสบร้อนในซีกที่ถูกกัด
2. อาการแบบอัมพาต (Dumb หรือ Paralytic rabies): โดยเฉลี่ยเสียชีวิตใน 11 วัน
มีไข้ กล้ามเนื้อและกล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง เริ่มจากขาไปยังแขนและลามไปทั่วตัว
14
ระดับการสัมผัสโรค
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
1
• สัมผัสสัตว์โดยผิวหนังปกติ ไม่มีบาดแผล
2
• สัตว์กัด หรือข่วน เป็นรอยชํ้า เป็นแผลถลอก
สัตว์เลียบาดแผล บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่
สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้าโดยไม่ทําให้สุก
3
• สัตว์กัด หรือข่วนทะลุผ่านผิวหนัง มีเลือดออก
ชัดเจน นํ้าลายสัตว์ถูกเยื่อบุ หรือบาดแผลเปิด
รวมทั้งค้างคาวกัด หรือข่วน
15
การวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบา
เกณฑ์วินิจฉัย ความหมาย
1. ผู้ป่วยสงสัย
(suspected)
หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับคํานิยามของผู้ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (อาจ
มีอาการไม่ครบ 3 ประการสําหรับวินิจฉัย furious rabies) และไม่ทราบประวัติ
การสัมผัสกับสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า
2. ผู้ป่วยน่าจะ
เป็น (probable)
หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการของ furious rabies ครบถ้วนทั้ง 3 ประการ หรือ
paralytic rabies ตามอาการทางคลินิก
ซึ่งไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ แต่มีประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่สงสัยว่าเป็น
โรคพิษสุนัขบ้า
3. ผู้ป่วยยืนยัน
(confirmed)
หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยันทางห้องปฏิบัติการที่เชื่อถือได้
(ทั้งก่อนหรือหลังเสียชีวิต)
16
การตรวจทางหองปฏิบัติการ
ต้องตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างน้อยหนึ่งวิธี เพื่อวินิจฉัยยืนยันโรคพิษสุนัขบ้า
ทําได้ทั้งขณะมีชีวิตและเสียชีวิตแล้ว มีหลายวิธี ได้แก่
1. การตรวจหาแอนติเจนด้วยวิธีย้อมด้วยแอนติบอดีเรืองแสง (Direct
Fluorescent Rabies Antibody Test : DFA) จากเนื้อสมองเป็นวิธีการตรวจ
มาตรฐาน (gold standard) ของการตรวจวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า
2. การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธีวิธีทางอณูชีววิทยา
(Molecular technique) มีทั้ง RT-PCR (reverse transcription-polymerase
chain reaction) และ Real-time PCR กรณีเสียชีวิต หากสามารถเก็บตัวอย่าง
เนื้อสมองได้ควรตรวจด้วยวิธี DFA
3. การเพาะแยกเชื้อไวรัสโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยงหรือฉีดเข้าสัตว์ทดลอง เป็น
การยืนยันผลเมื่อตรวจพบแอนติเจนหรือเพื่อเพิ่มจํานวนเชื้อไวรัส
17
18
การปองกันควบคุมโรค
การป้องกันในสัตว์
• ควบคุมไม่ให้สัตว์เป็นโรคพิษสุนัขบ้า (ฉีด
วัคซีนให้สัตว์)
• ดูแลอย่าให้สุนัขไปกันคน
• ควบคุมจํานวนสัตว์
• หลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้สุนัขกัด
การป้องกันในคน
• หลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้สุนัขกัด
• ฉีดวัคซีน ก่อนและหลัง
• ควรรีบล้างทําความสะอาดแผลทันทีหาก
โดนสุนัขกัด
19
การฉีดวัคซีนกอนถูกกัด
ประชาชนทั่วไป
• ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 1 เข็ม ในวันที่ 0 และ 7
• ฉีดเข้าในหนังบริเวณต้นแขน 0.1 มิลลิลิตร/จุด จํานวน 2 จุด ในวันที่ 0 และ
7 หรือ 21
ผู้ที่มีปัจจัยสูงในการสัมผัสโรคตลอดเวลาหรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง
• ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 1 เข็ม ในวันที่ 0, 7, 21 หรือ 28
• ฉีดเข้าในหนังบริเวณต้นแขน 0.1 มิลลิลิตร/จุด จํานวน 1 จุด ในวันที่ 0, 7,
21 หรือ 28
20
การฉีดวัคซีนหลังถูกกัด
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ที่ฉีดได้หลังติดเชื้อ มี 2 สูตร ได้แก่
•สูตรฉีดเข้ากล้าม ฉีดวัคซีน 0.1 มิลลิลิตร หรือ 0.5
มิลลิลิตร ขึ้นกับชนิดของวัคซีนใน 1 หลอดเมื่อละลายแล้ว ฉีดเข้า
กล้ามเนื้อต้นแขน ในวันที่ 0, 3, 7, 14 และ 28
•สูตรการฉีดเข้าในหนัง ฉีดวัคซีนเข้าในหนังบริเวณต้นแขน 2 ข้าง
ข้างละ 1 จุด รวม 2 จุด ปริมาณจุดละ 0.1 มิลลิลิตร ในวันที่ 0, 3, 7
และ 28
21
การเฝาระวังโรคพิษสุนัขบา
22
โรคฉี่หนู
(Leptospirosis)
เชื้อ: แบคทีเรีย Leptospira
interrogans
สัตว์พาหะ: สุนัข วัว ควาย ม้า
สัตว์ป่า หมู แพะ แกะ หนู
แหล่งรังโรค: หลังจากเชื้อถูกขับ
ออกจากปัสสาวะ จะอยู่ได้ใน
สิ่งแวดล้อมที่อุณหภูมิ 28-32
องศาเซลเซียส เช่น ดิน โคลน
แอ่งนํ้า
ช่องทางการติดเชื้อ: เชื้อเข้าทาง
ผิวหนังหรือเยื่อบุที่อ่อนนุ่ม
ระยะฟักตัว: 1-2 สัปดาห์ อาจะ
นานถึง 3 สัปดาห์
23
24
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
ที่มา: กรมควบคุมโรค, ผลการวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ, 2558
25
ประชากรกลุมเสี่ยง
•ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ประสบอุทกภัย
•ผู้ที่ต้องทํางานในภาคเกษตร
(ชาวนา ชาวไร่ เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ)
•คนงานขุดลอกท่อระบายนํ้า
•คนงานเหมืองแร่ โรงฆ่าสัตว์
•ผู้ที่ชอบท่องเที่ยวตามแม่นํ้า ทะเลสาบ
นํ้าตก
26
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1 Leptospiremic phase
•ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง น่อง และต้น
คอ คลื่นไส้ อาเจียน ดีซ่าน (ตาเหลือง
ตัวเหลือง)
•คอแข็ง ความดันตํ่า ผื่นแดง ต่อม
นํ้าเหลืองโต ตับ ม้านโต
ระยะที่ 2 Immune phase
เป็นระยะที่ผู้ป่วยเริ่มสร้าง anti-body โดยพบหลังจากเริ่มมีอาการ 1 สัปดาห์
ปวดศีษระ ไข้ตํ่าๆ คลื่นไส้อาเจียน อาจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ม่านตาอักเสบ
การทํางานของตับและไตผิดปกติ
27
28
การเฝาระวังโรคฉี่หนู
29
โรคแอนแทรกซ
(Anthrax)
เชื้อ: แบคทีเรีย Bacillus anthracis
แหล่งโรค: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
โดยเฉพาะสัตว์กินพืช
ช่องทางการติดเชื้อ: การกิน หายใจ
และการสัมผัส
ระยะฟักตัว: 12 ชม. - 7 วัน
30
31
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส แอนทราซิส จะมีลักษณะพิเศษ คือ เมื่อเชื้อ
สัมผัสอากาศภายนอกร่างกาย เชื้อจะสร้างสปอร์ห่อหุ้ม จึงมีความทัน
ทานต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถอยู่ในธรรมชาติได้เป็นระยะเวลานาน
เช่น ในดินนาน 10-20 ปี จึงทําให้การกําจัดโรคนี้ให้หมดไปทําได้ยาก
32
สถานการณโรคแอนแทรกซ
The global distribution of Bacillus anthracis and associated anthrax risk to
humans, livestock and wildlife
33
การติดตอในสัตว
1. ทางปาก ด้วยการกินอาหารหรือหญ้าที่มีสปอร์
ของเชื้อแอนแทรกซ์ปนเปื้อน
2. ทางการหายใจ ด้วยการหายใจเอาสปอร์ของเชื้อ
เข้าสู่ร่างกายสาเหตุมักเกิดจากในขณะที่สัตว์เล็ม
หญ้า ก็ดึงเอารากที่ติดดินขึ้นมาด้วย ทําให้สปอร์
ของเชื้อแอนแทรกซ์ที่ติดอยู่ตามใบหญ้าหรือในดิน
ปลิวฟุ้งกระจายเข้าสู่ร่างกายทางจมูกด้วยการหายใจ
เอาเชื้อเข้าไป
3. ทางผิวหนังที่มีบาดแผล รอยถลอกหรือรอยขีด
ข่วน
34
การติดตอในคน
1. ทางผิวหนัง จากการสัมผัส
เชื้อผ่านผิวหนังที่มีบาดแผล
รอยถลอก หรือรอยขีดข่วน
การช าแหละซากสัตว์หรือ
สัมผัสหนัง ขน เลือดสัตว์ที่
เป็นโรค
2. ทางปาก ด้วยการกิน
อาหารที่มีเชื้อปนเปื้อน
โดยเฉพาะอาหารที่ปรุง
สุกๆดิบๆ เช่น ลาบ ลู่
3. ทางการหายใจ โดยการ
หายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไป
มักพบในคนงานที่ท างานใน
โรงงานฟอกหนัง ขนสัตว์ หรือ
ปุ๋ยที่ท าจากกระดูกสัตว์ป่น
35
อาการและอาการแสดงในคน
1. อาการทางผิวหนัง
เกิดแผลรอยนูนแดง > ตุ่มใส > หนอง > แตกออกกลายเป็น
แผลปกคลุมด้วยเนื้อตายสีดํา ขอบแผลจะนูนเป็นวงโดยรอบ
มักเป็นที่มือแขน ขา และลําคอ หรือใบหน้า
2. อาการทางระบบทางเดินอาหาร
เกิดแผลหลุมในทางเดินอาหาร เลือดออก เยื่อเมือกทางเดิน
อาหารลอกหลุด มีไข้ ท้องเสียถ่ายเหลวปนเลือดเก่าอาเจียน
ปวดท้องมาก ท้องอืด และมีท้องมาน สุดท้ายจะช็อคแล้ว
เสียชีวิต
3. อาการทางระบบทางเดินหายใจ
คล้ายเป็นหวัด มีไข้ ตัวสั่น ไอ เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก
มักเสียชีวิตภายใน 1-2 วัน
36
การวินิจฉัย
•การตรวจผิวหนัง
•การตรวจเลือด
•การตรวจเอกซเรย์หรือทําคอมพิวเตอร์
สแกนปอด
•การเก็บตัวอย่างเสมหะหรือสารคัดหลั่ง
ในทางเดินหายใจ
•การตรวจอุจจาระ
•การเจาะตรวจนํ้าไขสันหลัง
37
การปองกัน
1. ฉีดวัคซีนให้แก่ วัว ควาย แพะ แกะ และช้าง ที่อายุตั้งแต่ 14
สัปดาห์ขึ้นไป
2. กักแยกสัตว์ที่เคลื่อนย้ายเข้ามาเลี้ยงก่อนนําไปเลี้ยงร่วมฝูง
3. บุคคลกลุ่มเสี่ยงสูงที่ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรค ได้แก่ ผู้ที่ต้อง
สัมผัสกับวัตถุดิบจากสัตว์ สัตวแพทย์ นักท่องเที่ยว ผู้ทํางานใน
ฟาร์มปศุสัตว์ และเจ้าหน้าที่ตรวจเชื้อในห้องปฏิบัติการ
4. ระมัดระวังการสัมผัสผิวหนังสัตว์
5. ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ
38
โรคทริคิโนซิส
(Trichinosis)
เชื้อ: พยาธิ Trichinella spiralis
แหล่งรังโรค: สัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นมและสัตว์เลื้อยคลาน เช่น หมู
หมี หมา แมว กระรอก หนู
ตะกวด เต่า เป็นต้น
ช่องทางการติดเชื้อ: การ
บริโภคเนื้อสัตว์ที่มีตัวอ่อนของ
พยาธิ
39
40
สถานการณโรคทริคิโนสิส
41
อาการและ
อาการแสดง
1. ระยะในลําไส้
เป็นระยะที่มีกํารฝังตัวที่เยื่อบุผนังลําไส้ ทําให้มีอาการเกี่ยวกับ
ระบบทางเดินอาหารเช่น คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ ปวดท้อง
ท้องเสีย อาการจะไม่รุนแรงและเกิดขึ้นประมาณ 1-7 วันหลังจาก
ได้รับ และหายได้เองภายใน 5-7 วัน
42
อาการและอาการแสดง
2. ระยะตัวอ่อนไชเข้ากล้ามเนื้อ
ตัวอ่อนไชเข้าระบบหลอดเลือดและนํ้าเหลือง เพื่อ
เคลื่อนย้ายไปยังกล้ามเนื้อลายต่างๆ ทําให้
กล้ามเนื้ออักเสบ บวม แข็ง เจ็บ จะมีอาการ 1
สัปดาห์
3. ระยะฝังตัว
หลังจากได้รับพยาธิ 5-6 สัปดาห์ อาการปวด บวม
จะลดลง แต่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ เยื่อหุ้ม
สมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ปอด เยื่อหุ้ม
ปอดอักเสบ และตาบอด เป็นต้น
43
การตรวจวินิจฉัย
• จากประวัติการเลี้ยงสัตว์
• การบริโภคเนื้อสัตว์สุกๆ ดิบๆ
• การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
• ตรวจหาตัวอ่อนพยาธิในกล้ามเนื้อ
• การตรวจระดับ aniti-body ด้วยวิธี ELISA
• การทํา PCR เพื่อตรวจแยกชนิดพยาธิ
• การตรวจค่าความหนาแน่นของเลือด
(CBC) จะพบเม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ
• การตรวจ muscle enzyme
44
การควบคุมปองกันโรค
• ปรับปรุงสุขาภาบาลในบริเวณคอกเลี้ยงสัตว์ ควบคุม
หนู และสัตว์อื่นๆ
• ถ่ายพยาธิให้สัตว์อย่างสมํ่าเสมอ
• ไม่นําเศษซากเนื้อสัตว์ หรือสัตว์ที่ตายแล้วไปเลี้ยง
สุกร ควรกําจัดซากให้ถูกวิธี หากจําเป็นต้องนําไป
เลี้ยง ต้องต้มให้สุกก่อน
• สร้างพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ
45
การเฝาระวังโรคทริคิโนซิส
46
โรคบรูเซลโลสิส
(Brucellosis)
โรคแท้งติดต่อในสัตว์
เชื้อ: แบคทีเรีย Brucella spp.
แหล่งรังโรค: สัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นม เช่น แพะ แกะ วัว หมู และ
สุนัข
ช่องทางการติดเชื้อ: การดื่มนม
ที่ไม่ผ่านการพาสเจอไรซ์ รวมถึง
ชีส หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากสัตว์
ติดเชื้อ
ระยะฟักตัว: 5 - 60 วัน ส่วน
ใหญ่อยู่ช่วง 1 – 2 เดือน
47
โรคแทงติดตอ
•เป็นโรคที่ทําให้สัตว์หลาย
ชนิดรวมทั้งคนป่วยได้
•สัตว์ติดต่อกันผ่านการ
สัมผัสเนื้อเยื่อและสารคัด
หลั่ง
•โดยทั่วไปจะส่งผลต่อ
ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์
และทําให้มีไข้ การอักเสบ
ของข้อและเต้านม
•ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
48
โรคบรูเซลโลสิส (Brucellosis)
ที่มา: กรมควบคุมโรค, ผลการวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ, 2558
49
การติดตอสูคน
คนสามารถรับเชื้อจาก
•การดื่มนํ้านมจากสัตว์ที่ติดเชื้อที่ไม่ผ่าน
การพาสเจอร์ไรซ์
•การสัมผัสของเหลวที่มีเชื้อจากสัตว์
โดยตรง
•การรับเชื้อผ่านทางเดินหายใจ
•กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่ทํางานเกี่ยวข้องกับ
สัตว์
50
อาการและ
อาการแสดง
• ไข้ เหนื่อยเพลีย เบื่อ
อาหาร ปวดศีรษะ
• ปวดกล้ามเนื้อ ข้อ
หรือหลัง
• ข้ออักเสบ
• อัณฑะบวมในผู้ชาย
• หัวใจบวม
• ตับม้ามบวม
• มีอาการทางระบบ
ประสาท ซึมเศร้า
51
การควบคุมปองกันโรค
• เชื้อบรูเซลลาสามารถมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมได้นาน
หลายเดือน แต่สามารถถูกทําลายได้ด้วยความร้อนและนํ้ายาฆ่า
เชื้อบางชนิด ควรทําความสะอาดและฆ่าเชื้อบริเวณที่มีสัตว์ติดเชื้อ
หรือปนเปื้อนปัสสาวะ เลือด นํ้านม หรือสิ่งคัดหลั่งของสัตว์ป่วย
และให้แยกสัตว์ที่ป่วยออกจากฝูงเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ ใน
สหรัฐอเมริกาได้มีการให้วัคซีนควบคุมโรคแท้งติดต่อในโค และมี
โปรแกรมควบคุมโรคในสัตว์ป่า
• ไม่ดื่มนํ้านมดิบหรือผลิตภัณฑ์นมที่ไม่ได้ผ่านการพาสเจอไรส์ และ
ใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่นถุงมือ ผ้าปิดจมูกและปากเมื่อต้องสัมผัส
เนื้อเยื่อในระบบสืบพันธุ์ในการทําคลอดสัตว์ และล้างมือทุกครั้ง
หลังจากสัมผัสตัวสัตว์
52
การเฝาระวังโรคบรูเซลโลซิส
สุขภาพหนึ่งเดียว (One Health)
เป็นแนวคิดการร่วมมือกัน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการควบคุม ป้องกันและกําจัดโรค เตรียมความ
พร้อมในกรณีที่มีการระบาดของโรคติดต่อระหว่างสัตว์กับคน เพื่อเพิ่มความปลอดภัยทางด้าน
อาหารที่ได้มาจากสัตว์ และเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
54
Discussion
หลักการป้องกันควบคุมโรค
ระหว่างสัตว์และคน คืออะไร?
55

More Related Content

What's hot

อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
TODSAPRON TAWANNA
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
phurinwisachai
 
ตุง
ตุงตุง
ตุง
Yim My
 
Bai thuyet trinh
Bai thuyet trinhBai thuyet trinh
Bai thuyet trinh
Cau Ti
 
N sdis 78_60_2
N sdis 78_60_2N sdis 78_60_2
N sdis 78_60_2
Wichai Likitponrak
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
Wajana Khemawichanurat
 
แผ่นพับ Is
แผ่นพับ Isแผ่นพับ Is
แผ่นพับ Is
Enormity_tung
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Watcharapong Rintara
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยัก
Prachaya Sriswang
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
 
ตุง
ตุงตุง
ตุง
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
Bai thuyet trinh
Bai thuyet trinhBai thuyet trinh
Bai thuyet trinh
 
N sdis 78_60_2
N sdis 78_60_2N sdis 78_60_2
N sdis 78_60_2
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
 
แผ่นพับ Is
แผ่นพับ Isแผ่นพับ Is
แผ่นพับ Is
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยัก
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 

Similar to Zoonosis

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
pissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
nuting
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
Pawat Logessathien
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
นายสามารถ เฮียงสุข
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
Wan Ngamwongwan
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
taem
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 

Similar to Zoonosis (20)

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
ไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้ายไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้าย
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
Lifestyle and hands
Lifestyle and handsLifestyle and hands
Lifestyle and hands
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 

Zoonosis