SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 64
......การศึกษา หรือ คน ที่ด้อยคุณภาพลง  อันนี้เป็นเรื่องที่น่าคิด คนที่ด้อยคุณภาพลงสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการศึกษาใน
ระบบแค่ส่วนหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่ชีวิตคน อยู่กับการศึกษานอกระบบหรือการเรียนรู้จากสังคมตามความต้องการของตนเอง
หรือเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม ทั้งการสื่อสารมวลชนและจากคนรอบข้าง  เมื่อคุณธรรมค่อยๆ จางหายไปจากสังคมไทย
อบาย(มาร) ต่างๆ ค่อยเข้ามาทดแทน เป็นเงามืดบดบังความมีสติปัญญา และทิศทางการเรียนรู้(สัมมาทิฏฐิ) หากนําเอา
เกณฑ์หลักธรรม ในมรรค 8 มาเทียบ ถือได้ว่า คน มีคุณภาพลดลง แต่ถ้าหาก เอาเทคโนโลยีมาเป็นเกณฑ์ จะเห็นได้ชัดว่า
คนพัฒนาสูงขึ้น ดังนั้นการมองในภาพรวมในความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แล้ว สอดคล้องกับคํากล่าวของ ท่าน พุทธทาสภิกขุ
ว่า "การศึกษาหมาหางด้วน..."  หมายความว่า การศึกษาที่ขาดคุณธรรม  แม้มี 2 รัฐบาล ที่ผ่านมาจะกําหนดปรัชญาว่า
"ความรู้ คู่คุณธรรม" และ "คุณธรรม นําความรู้" ก็ตาม แต่ในเชิงปฏิบัติ คุณธรรมในแต่ละศาสนารวมทั้งบุคลากรทาง
ศาสนาก็อยู่ส่วนศาสนา การศึกษาก็อยู่ส่วนการศึกษา เป็นการศึกษาที่แยกส่วนจากหลักธรรม จึงไม่แปลกเลยที่ผู้มีหน้าที่
นําทางวิญญาณ จะเบี่ยงเบนหน้าที่ไปเอากะพี้ธรรมที่ไม่ใช่หลักธรรม มาปลุกระดม โฆษณา อย่างเป็นธุรกิจ เช่นเดียวกับ
วงการศึกษา ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ การเข้าเรียน ที่ไม่มีการประกันคุณภาพเมื่อจบออกมา  การศึกษาไทยอิงอยู่กับรัฐ
และนโยบายของนักการเมือง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและนโยบายมีอย่างต่อเนื่อง ขาดการเชื่อมต่อ ระหว่างรัฐบาลและ
รัฐมนตรี จะเห็นได้จากข้อมูลการเปลี่ยนรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการค่อนข้างบ่อยที่สุดในรัฐบาลไทย อาจเป็นสาเหตุ
ประการหนึ่งที่ความต่อเนื่องในการจัดการศึกษาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคม เป็นไปเพื่อความหวือหวา ชั่วครั้ง
ชั่วคราว แต่ความเป็นจริง การศึกษา เป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในชีวิตคนๆ หนึ่ง ตั้งแต่แรกเกิดจน กระทั่งตาย ซึ่งอิง
การศึกษาในระบบเฉพาะเพื่อมีใบรับรองคุณวุฒิ หากว่าใบรับรองคุณวุฒิดังกล่าวขาดซึ่งคุณภาพแล้ว จะเอาอะไรเป็นหลัก
ประกันได้ว่า การศึกษามีคุณภาพ ...สอดคล้องกับคําว่า...การศึกษา หมาหางด้วน...
การพัฒนาที่ยั่งยืน
Sustainable development


                 Watcharin Chongkonsatit
                            M.B.A., M.Ed.
                          Ph.D. Candidate
พัฒนาการของสังคมไทย
  ยุคก่อนการปฏิรูป                    ยุคปฏิรูป                         ยุคปฏิรูป
  สุโขทัย-รัชกาลที่ 4           รัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 9          รัชกาลที่ 9 - ปัจจุบัน                    อนาคต
      1826-2426                      2426-2536                        2536-ปัจจุบัน

   ยุคเกษตรกรรม                     ยุคอุตสาหกรรม                  ยุคข้อมูลสารสนเทศ
   Agricultural era                  Industrial era                  Information era

                 Post-agricultural            Post-industrialization                 Post-information

                                 อิทธิพลของอังกฤษและ
อิทธิพลของจีนและอินเดีย                 ฝรั่งเศส                  อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา                 อิทธิพลของเอเซีย
                              อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและ                 สหภาพยุโรป                               ?
                                        รัสเซีย                                               New economic
                                                                                                 BRICK
                                                                                                ASEAN
 เส้นทางสายไหม      ยุคล่าอาณานิคม      สงครามโลกครั้งที่ 1              Globalization             ?


  Age of exploration การปฏิวัติอุตสาหกรรม   สงครามโลกครั้งที่ 2     สงครามเย็น           Multicultural
ยุคเกษตรกรรม
     ผลิต                            สินค้าเกษตร ข้าว พืชไร่ พืชสวน เลี้ยงสัตว์ การทอผ้า


ลักษณะการผลิต                เป็นการผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือน ถ้าเหลือก็นําไปแลกเปลี่ยน


     วิธีการ                   ใช้แรงงานของคน/สัตว์ และมีการขนถ่ายสินค้าโดยใช้เรือ เกวียน


  การสื่อสาร                              นกพิราบ คนส่งข่าวสาร สัญญาณไฟ/ควัน


ระบบการค้าขาย                                แลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าต่อสินค้า


ศูนย์กลาง/ที่พัก                                     วัด หมู่บ้าน ชุมชน

                   ไม่เร่งรีบ ไม่เคร่งครัด มีการช่วยเหลือร่วมมือ มีการพึ่งพาอาศัยกัน ประนีประนอม มีคนกลาง
ลักษณะของคน
                                               ในการต่อรอง ไม่เน้นเรื่องผลประโยชน์
                                                                            ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
ยุคอุตสาหกรรม
     ผลิต               สินค้าอุปโภค บริโภค สินค้าอุตสาหกรรมจากโรงงานของอังกฤษ และฝรั่งเศษ

                   การปลูกสินค้าเกษตรกรรมเพื่อการค้าขาย ผลผลิตดีๆ ที่มีคุณภาพใช้ในการส่งออกเพื่อ
ลักษณะการผลิต
                                   ค้าขาย ผลิตเพื่อการพาณิชย์ มุ่งให้เกิดกําไรสูงสุด

     วิธีการ                           เครื่องจักรกล เรือกลไฟ รถไฟ เครื่องจักรไอน้ํา


  การสื่อสาร                                        โทรเลข ไปรษณีย์

                                    ระบบเงินตรา ธนบัตร มีร้านค้าขายของชาวตะวันตก
ระบบการค้าขาย
                                       มีธนาคารแห่งแรก คือ แบงก์สยามกัมมาจล

ศูนย์กลาง/ที่พัก                              ตลาด มีโรงแรมแห่งแรกเกิดขึ้น

                   เร่งรีบ มีความเคร่งครัดเรื่องเวลา?? ต่างคนต่างอยู่ สังคมเป็นเรื่องของการต่อรองเพื่อผล
ลักษณะของคน
                                                          ประโยชน์
                                                                           ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
ยุคข้อมูลข่าวสาร (โลกาภิวัตน์)
     ผลิต                   สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าบริการ Throw-away industry


ลักษณะการผลิต                               มุ่งให้เกิดกําไรสูงสุด


    วิธีการ                   ผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ควบคุม ขนส่งด้วยเครื่องบิน


  การสื่อสาร                E-mail โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายสังคม (Social network)


ระบบการค้าขาย                                   E-commerce


ศูนย์กลาง/ที่พัก                         ห้างสรรพสินค้า โลกดิจิตอล


ลักษณะของคน                                    ต่างคนต่างอยู่

                                                                     ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
The keys trends to shape your future
•   The age of instant communications   •   The growing underclass
•   A world without economic            •   The active aging of the population
    borders
                                        •   The new do-it-yourself boom
•   4 steps to one world economy
                                        •   Cooperative enterprise
•   The new service society
                                        •   The triumph of the invidualization
•   From big to small
•   The new age of leisure
•   The changing shape of work
•   Women in leadership
•   The decade of brain
•   Cultural nationalism


                                                          Gordon Dryden, 1997
Trends in 2008
•   Trend 1: Fueling the future
•   Trend 2: The innovation economy
•   Trend 3: The next workforce
•   Trend 4: Longevity medicine
•   Trend 5: Weird science
•   Trend 6: Securing the future
•   Trend 7: The future globalization-Cultures in collision
•   Trend 8: The future of climate change
•   Trend 9: The future of individualization
•   Trend 10:The future of American and China



                                                              James Canton, 2006
ทัศนะทางการเมือง
•       เน้นทางด้านสังคม
    •    กษัตริยนิยม (Royalism/Monachism)
    •    เสรีนิยม (Liberalism)
    •    อนุรักษ์นิยม (Conservatism)
    •    เผด็จการฟาสซิสต์ (Facism)

•       เน้นทางด้านเศรษฐกิจ
    •    ทุนนิยม
    •    สังคมนิยม
    •    คอมมิวนิสต์
    •    ลัทธิเลนิน
    •    ลัทธิสตาลิน
    •    ลัทธิเหมา
การจัดกลุ่มประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
               โลกที่ 1                           โลกที่ 2                          โลกที่ 3
•กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว           •กลุ่มประเทศที่มีระบบการปกครอง     •กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา
(Developed country)                แบบเผด็จการ/คอมมิวนิสต์            (Underdeveloped country)
•กลุ่มประเทศอุตสาหกรรม (Industrial (Communist country)                •กลุ่มประเทศกําลังพัฒนา
country)                           •กลุ่มประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบ   (Developing country)
                                   สังคมนิยม                          •กลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ (New
                                                                      economic country)


ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม/เสรีนิยม       ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม           ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม??
เสือทั้ง 4 ของเอเซียNICs




สิงคโปร์                         มาเลเซีย




เกาหลีใต้                         ไต้หวัน
ทศวรรษแห่งการพัฒนา ระยะที่ 1
                                    (พ.ศ. 2503 - 2513)
การพัฒนาจากเศรษฐกิจเป็น
  ฐานเพื่อการแก้ปัญหา
•ความยากจน (Poverty)
•ความไม่รู้ (Ignorance)
•ความเจ็บไข้ได้ป่วย (Disease)
                                          วิกฤติการพัฒนา
                                •ทรัพยากรธรรมชาติร่องหรอลง
                                •ของเสีย สารพิษ และมลภาวะ
                                เพิ่มขึ้น
                                •ประชากรก่อปัญหาอย่างต่อเนื่อง
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสภาพแวดล้อมของมนุษย์
                      พ.ศ.2515



   การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา
                     พ.ศ.2535



 สนธิสัญญาว่าด้วยการป้องกัน แก้ไขปัญหาอุณหภูมิผิวโลกสูงขึ้น
สนธิสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์สภาพหลากหลายทางชีวภาพของโลก



                     หลักการแห่งสิ่งแวดล้อม
       ร่างแผนปฏิบัติการสําหรับทศวรรษ 1991-1999
                         AGENDA 21
          เพื่อดําเนินการให้เกิดการพัฒนาอย่างยั้งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาแบบยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบัน โดยไม่
กระทบกระเทือนความสามารถของคนในรุ่นต่อไปในการที่จะตอบสนองความต้องการของตนเอง
Sustainable development is development which meets the needs of the present generation
without compromising the ability of future generations to meets their own needs

                                                          สภาโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา




      แนวคิดที่ 1                      แนวคิดที่ 2                      แนวคิดที่ 3
 ความต้องการของมนุษย์           ขีดจํากัดของสิ่งแวดล้อม             ความยุติธรรมในสังคม

                                                                     Intergenerational equity

                                                                     Intragenerational equity
เศรษฐศาสตร์ของความพอดี
               The economics of enough




“โลกเรานี้มีทรัพยากรเพียงพอสําหรับตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์ แต่มีไม่เพียงพอสําหรับความโลภ
                  ของมนุษย์”

                                               มหาตมะ คานธี


                 เศรษฐศาสตร์แบบยิ่งมากยิ่งดี
            The economics of more and more
Shift of social development
                                                                                 People
                         ภาครัฐ                                               participation
                   Government sector




                    กฎหมาย     นโยบาย                                       People centered
                                                                             development


                                                         Non-
                                                      government
                      ภาคประชาชน                      organization                     Business organization
                     Public sector
การบรรลุเป้าหมาย                        ความร่วมมือ
                                                                 People organization
                        ความเข้าใจ
ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
•   UNESCO, 1997
    “การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ทําให้คนรุ่นต่อไปในอนาคต
    ต้องประนีประนอมยอมลดความสามารถในการตอบสนองความต้องการของตนเอง”
•   Corson, 1990
    “การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในปัจจุบันโดยไม่ทําลายทรัพยากรซึ่งเป็นที่
    ต้องการของคนในอนาคต”

•   ป.อ.ปยุตโต, 2541
    “การพัฒนาที่มีลักษณะบูรณาการเป็นองค์รวมและมีดุลยภาพหรือการทําให้กิจกรรมของมนุษย์
    สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ธรรมชาติ”




ทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจํากัด แต่การใช้ทรัพยากรของมนุษย์มีอยู่อย่างไม่จํากัด
ความสําคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน
•   ประเทศสมาชิกต้องกําหนดเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษร่วมกันภายใน พ.ศ.
    2558 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและยกระดับปัญหาความยากจนของคนในประเทศ
•   ประเทศสมาชิกควรมุ่งส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ซึ่งรวมถึงการพัฒนา
    ด้วยการศึกษา และการบริการด้านสุขภาพ
•   เสริมสร้างสํานึกเพื่อกระตุ้นให้ประชากรทั่วโลกตระหนักถึงความสําคัญของการ
    พัฒนาที่ยั่งยืนโดยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนต้องร่วมกันเป็นหุ้นส่วน
    เพื่อการพัฒนาและร่วมกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
แนวคิดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน

             “การพัฒนาจะต้องเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ และธรรมชาติ
                                        อย่างยั่งยืน”

     United Nations                               World Commission on
Educational, Scientific and                         Environment and
  Cultural Organization                              Development
       (UNESCO)                                         (WCED)


 “การพัฒนาจะต้องเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
                        อย่างยั่งยืน”
แนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน
การเติบโตที่ยั่งยืน                                                              การแข่งขันและการร่วมมือ
  (Sustainable growth)                      การอยู่ดีมีสุขของสังคม                  (Competition/Cooperation)



                     ทุนทางกายภาพ                                       ทุนมนุษย์
                     (Physical capital)                              (Human capital)



                                             การพัฒนาที่ยั่งยืน
                                                Sustainable
                                               development
 ความมีชีวิตชีวา                                                                             ประสิทธิภาพ
    (Vitality)                                                                                (Efficiency)

                          ทุนทางสังคม                                ทุนทางธรรมชาติ
                         (Social capital)                            (Natural capital)

                                                                                         การพัฒนาเศรษฐกิจที่
คุณภาพสิ่งแวดล้อม                             ความเป็นธรรม                                     ยั่งยืน
                                                 (Equity)
หลักการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
•   การฟื้นฟูความเจริญเติบโต
•   การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของการเจริญเติบโต
•   การบูรณาการเรื่องของสิ่งแวดล้อมสู่การตัดสินใจ
•   การรักษาระดับจํานวนประชากร
•   การกําหนดทิศทางใหม่ของเทคโนโลยี และการบริหารความเสี่ยง
•   การอนุรักษ์และการขยายฐานทรัพยากร
•   การปฎิรูปความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
•   การสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งระหว่างประเทศ



                                                             Brundtland
การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย
     ค่านิยมไทย                                                            สภาพสังคมไทย
                                       การบริหารจัดการ
                                      ทรัพยากรธรรมชาติ
                                   และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



                                    Equitable        Bearable



                        การพัฒนาเศรษฐกิจ                  การพัฒนาสังคม
                                            Viable
                           อย่างยั่งยืน                     อย่างยั่งยืน




ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                                                      วัฒนธรรมไทย
กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                               การปรับปรุงกระบวนทัศน์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
                                                สิ่งแวดล้อม
                              • ผู้บริหารประเทศต้องตระหนักว่าการพัฒนาประเทศต้องมีความ
                              สมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน
                              • ประชาชนทั่วไปต้องมีทัศนะว่า “ทรัพยากรธรรมชาติเป็นที่
                              หวงแหนของทุกคนในชาติ” ต้องใช้อย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ
                              และบํารุงรักษาอย่างต่อเนื่องในระยะยาว


 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                                                       การจัดการสิ่งแวดล้อมต้องหลากหลาย
      ต้องยึดหลักการบริหารจัดการเชิงนิเวศน์
                                                             • สิ่งแวดล้อมชีวภาพ/ทรัพยากรธรรมชาติต้องนํามาใช้อย่างยั่งยืน
•ต้องเข้าใจขีดจํากัดและความสามารถในการรองรับของระบบ
                                                             และเกิดประโยชน์สูงสุด
นิเวศน์
                                                             •สิ่งแวดล้อมกายภาพหรือมลพิษที่เกิดจากการใช้
• ต้องเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการตามเขตพื้นที่การปกครอง
                                                             ทรัพยากรธรรมชาติต้องยึดหลักการ “ป้องกันมากกว่าแก้ไข”
มาสู่การจัดการภายใต้ระบบนิเวศน์ เพื่อให้เกิดการบูรณาการโดย
                                                             • สิ่งแวดล้อมทางมนุษย์และสังคมที่มนุษย์สร้างขึ้นมีมูลค่าไม่ได้
การมีส่วนร่วมของชุมชน
                                                             แต่มีคุณค่าควรได้รับการอนุรักษ์ไว้
การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
                                                                                       ด้านจุลภาค
                       ด้านมหภาค                                          มีการเลือกผลิตอย่างชาญฉลาด ให้ความ
       มีเสถียรภาพด้านการเงินและการคลังทําให้                             สําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและการ
       เอื้อต่อการลงทุน และการดําเนินธุรกิจอย่าง                          บริการ โดยมีเป้าหมายที่ศักยภาพในการ
           มีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้                              ผลิตภายในที่สอดคล้องกับความต้องการ

                                                 การเติบโตอย่างมีคุณภาพ
            เสถียรภาพภายใน
  ได้แก่ อัตราเงินเฟ้อต่ํา ไม่ผันผวน หนี้
    สาธารณะอยู่ในฐานะที่จัดการได้


                                       การเติบโตอย่างมี          การเติบโตอย่างมี
                                         เสถียรภาพ                  ดุลยภาพ
        เสถียรภาพด้านต่างประเทศ
ได้แก่ ทุนสํารองเงินตราระหว่างประเทศอยู่
 ในระดับพอเพียง มูลค่านําเข้ารายเดือน
ทําให้อัตราการแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ มี
  ปัจจัยการผลิตที่ไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน

          การพัฒนาคนและสิ่งแวดล้อมให้เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง
                                          แวดล้อมอย่างสมดุล




   การพัฒนาคนให้มีผลิตภาพ (Productivity) สูงขึ้น
                                                         การพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิต (Quality of life) ที่ดี
  สามารถปรับตัวรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่จะนําไปสู่
                                                       สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคง มีระบบการจัดการ
 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการเจริญเติบโตทาง
                                                        ทางสังคมที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
เศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน มีจิตสํานึก พฤติกรรม
                                                       ของสังคมในการพัฒนา มีการนําทุนทางสังคมและทุน
   และวิถีชีวิตที่ไม่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง
                                                           ทางธรรมชาติมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
                          แวดล้อม
ยุทธศาสตร์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
•   พลวัตแห่งความสมดุล
•   ความตะหนักและความเข้าใจของมหาชน
•   วิถีการดําเนินชีวิต
•   หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็น
•   ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
•   ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
•   ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
•   ดัชนีวัดการพัฒนาที่ยั่งยืน
พลวัตแห่งความสมดุล

                              การพัฒนาที่ยั่งยืน



     สิ่งแวดล้อม                                        ความต้องการในการ
      ธรรมชาติ                                           พัฒนาของมนุษย์




เพิ่มขีดความสามารถใน     ปี 2000 ประชากร 6,000 ล้านคน   ลดความต้องการการใช้
การรองรับของธรรมชาติ     ปี 2030 ประชากร 9,000 ล้านคน    ทรัพยากรธรรมชาติ

    Supply                                                Demand
ความเข้าใจและความตระหนักของมหาชน
ในสังคมประชาธิปไตย การปฏิบัติที่ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้นอยู่กับความตระหนัก
                          ความเข้าใจ และการสนับสนุนของมหาชน


  มหาชนผู้ต้องการรับรู้                                    มหาชนผู้ที่ไม่ต้องการรับรู้




      ผู้ที่เห็นด้วย                  ผู้ที่ไม่เห็นด้วย

                                                                          โน้มน้าว


                                         เชื่อมโยง
   ประเด็นระดับโลก                                              ประเด็นท้องถิ่น
    Global issues                                                Local issues
การแก้ปัญหาอิทธิพลของผู้เสียประโยชน์จําเป็นต้องใช้วิธีการเชิงประชาธิปไตย
                                 (Democratic means)




 การแก้ปัญหาความสลับซับซ้อนของข้อความรู้ หรือข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้อง
เริ่มต้นด้วยการนําเสนอปัญหาซึ่งประชาชนรู้สึกและเข้าใจในระดับท้องถิ่น (Local issues) เพื่อ
เป็นพื้นฐานไปสู่ความเข้าใจในปัญหาซับซ้อนระดับชาติ (Country issues) และระดับโลก (Global
                                        issues)




 การแก้ปัญหากลยุทธ์การสื่อสารที่ไม่เหมาะสมควรนําเสนอปัญหาในลักษณะที่แสดงให้เห็นว่า
สามารถจัดการแก้ไขได้ด้วยการปฏิบัติที่มีความรับผิดชอบ (Manageable through responsible
conduct) โดยการนําเสนอทางออกในการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ (Realistic solution) และวิธีการ
               ปฏิบัติในการป้องกัน (Means to take preventive action)
วิถีการดําเนินชีวิต
  ประสิทธิผลของการเสริมสร้างความตะหนักของ
        มหาชนเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
                                                     เปลี่ยนวิถีการดําเนินชีวิตไปสู่วิถีชีวิตที่ยั่งยืน
ขึ้นอยู่กับ                                                 (Sustainable lifestyles)
• ระดับการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชน
ทั้งในบทบาทผู้ผลิตและผู้บริโภค                   • เปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริโภคของประชาชน
• การรับผิดชอบร่วม                               รายบุคคลด้วยวิธีการบริโภคที่แตกต่าง เช่น การใช้
• การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพลเมือง และพลโลกที่ดี   ผลิตภัณฑ์ที่คงทน (Longer life products) การใช้ผลิตสี
                                                 เขียว (Green product) ซึ่งบริโภคพลังงานน้อยกว่า
                                                 • ต้องมีการตัดสินใจร่วมเชิงนโยบายและการปฏิบัติที่
                                                 เหมาะสมจากองค์การภาครัฐและภาคเอกชน
                                                 • พลเมืองในสังคมประชาธิปไตยสามารถแสดงบทบาท
                                                 ที่เข้มแข็งในการตัดสินใจร่วมเพื่อกําหนดนโยบาย
                                                 สาธารณะ การพัฒนาระเบียบกฏหมายภาษีและ
                                                 นโยบายการเงินของประเทศที่จะเสริมสร้างการพัฒนาที่
                                                 ยั่งยืนได้โดยการเลือกตั้งผู้แทนที่เข้าใจ
หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็น

หลักจริยธรรมของเวลา (Ethic of timing) ที่จําเป็นต้อง
เริ่มลงมือปฏิบัติให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนก่อนที่จะไม่มี      หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็นสําหรับการ
            เวลา หรือก่อนที่จะสายเกินไป                                   พัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่
                                                           • สิทธิและความรับผิดชอบของมนุษย์
  “Take action before reaching the point of no return.”
                                                           • ความเป็นธรรมของคนรุ่นปัจจุบันและคนรุ่นหลัง
                                                           • ความเป็นปึกแผ่น
                                                           • ความยุติธรรม
                                                           • ประชาธิปไตย
                                                           • เสรีภาพในการแสดงออกและความใจกว้าง
                                                           • ความทนทาน หรือความอดทน
ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
•   ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์
    มุ่งลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อมลพิษโดยการใช้กลไกราคา และการส่งเสริมความรู้
    ทางการจัดการและเทคโนโลยี

•   ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ
    มุ่งรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์

•   ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
    มุ่งบูรณะทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมให้สู่ความอุดมสมบูรณ์

•   ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของชุมชน
    มุ่งเกื้อหนุนต่อคุณภาพชีิวิตและเป็นฐานในการพัฒนาความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของชุมชน

•   ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
    มุ่งให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยการพัฒนากลไก และกระบวนการ
    จัดการเชิงบูรณาการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
•   ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจมหภาค
    มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเงินและการคลัง เพื่อให้เป็นปัจจัยพื้นฐานสําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่าง
    ยั่งยืน

•   ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
    มุ่งสร้างระบบเศรษฐกิจที่มีคุณภาพ โดยให้ความสําคัญกับภาคการผลิตและการบริการให้มีประสิทธิภาพ
    สามารถแข่งขันได้ภายใต้ศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

•   ยุทธศาสตร์การยบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
    มุ่งเปลี่ยนบทบาทภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการให้ภาคเอกชนเป็นผู้ริเริ่มและเป็นแกนนําในขณะที่
    ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนอํานวยความสะดวกอย่างยุติธรรมและโปร่งใส

•   ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้าใจ ความพร้อมและจิตสํานึกของการพัฒนาที่ยั่งยืน
    มุ่งสร้างความตระหนักของผู้ประกอบการ และผู้บริโภคถึงผลกระทบของการผลิตและบริโภคสินค้าที่ไม่ได้
    มาตรฐานที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของผู้บริโภค
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
•   ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคน
    มุ่งให้คนมีคุณภาพและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงโดยการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ เสริมสร้างศักยภาพ
    สถาบันการศึกษา ปรับระบบการผลิตกําลังคนระดับกลางและระดับสูงให้มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมายของการ
    พัฒนา
•   ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองสังคม
    มุ่งป้องกัน ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน โดยการสร้างหลักประกันความ
    มั่งคั่งในการดํารงชีวิต เสริมสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคมอย่างต่อเนื่อง วางแผนจัดบริการและสวัสดิการให้
    สอดคล้องกับประชนชนแต่ละช่วงวัย
•   ยุทธศาสตร์การสร้างระบบการบริหารจัดการสังคมที่ดี
    มุ่งเสริมสร้างความเข้มเข็งขององค์กรภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และภาคเอกชนให้มากขึ้น โดยการพัฒนา
    ระบบธรรมาภิบาลในองค์กรทุกกลุ่มให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีกติกาในการทํางานร่วมกันเพื่อลดความขัด
    แย้ง
•   ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทางสังคม
    มุ่งการใช้ทุนทางสังคมให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโดยการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาทุนทางสังคมให้เกิด
    มูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง อันจะเป็นฐานในการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
ดัชนีวัดการพัฒนาที่ยั่งยืน
                        Pressure-State-Response framework
UNCSD                                  (PSR)


          ตัวแปรภาวะกดดัน              ตัวแปรสถานะ
                                                                  ตัวแปรตอบสนอง
        (Pressure variable)          (State variable)
                                                               (Response variable)
         ใช้อธิบายกิจกรรมทาง          ใช้อธิบายลักษณะทาง
                                                               ใช้วัดระดับของการตอบสนอง
        เศรษฐกิจของมนุษย์ที่เป็น    กายภาพของสิ่งแวดล้อมที่
                                                                ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง
        สาเหตุทําให้สิ่งแวดล้อมมี   เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมา
                                                                          แวดล้อม
         สภาพที่เปลี่ยนแปลงไป             จากภาวะกดดัน


                                  131 ดัชนีชี้วัด 4 หมวด
                       • หมวดสังคม
                       • หมวดเศรษฐกิจ
                       • หมวดสิ่งแวดล้อม
                       • หมวดสถาบัน/องค์กร
เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                   ด้านประสิทธิภาพ


                              •การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
                              •Gross domestic product (GDP)
                              •ความมั่งคั่งของประชาชนในประเทศ



              ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ                                       ด้านความเท่าเทียมกัน

•ตัวแปรที่สําคัญทางเศรษฐกิจไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
•ปราศจากการ shock ในระบบเศรษฐกิจ                           •อัตราส่วนระหว่างคนจนและคนรวย
•ดัชนีราคาผู้บริโภคไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว              •การเข้าถึงทรัพยากร และการบริการพื้นฐานแห่งรัฐ
•เสถียรภาพของการมีงานทํา                                   •
•อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ก่อนวิกฤตทางเศรษฐกิจ 2540
•   อัตราการขยายตัวของ GDP ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง (6-9 %ต่อปี)
•   อัตราเงินเฟ้อน้อยกว่า 5% ต่อปี
•   อัตราการมีงานทําสูง
•   สัดส่วนคนที่มีรายได้ต่ํากว่าเส้นความยากจนลดลง
•   คนจนที่สุด 20% ของประชากรมีสัดส่วนรายได้เพียง 6% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ คนรวยที่สุด 20% ของ
    ประชากรมีสัดส่วนรายได้ถึง 50%    การกระจายของรายได้มีน้อย
•   ความแตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท
•   ความไม่สมดุลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
•   ความไม่สมดุลของโครงสร้างการผลิตและระดับการศึกษาของแรงงาน
•   การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างต่อเนื่อง นําเข้า >> ส่งออก
•   การพึ่งพาเงินกู้จากต่างประเทศ กู้ระยะสั้นเพื่อลงทุนระยะยาว
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ 2540




ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (SET Index)




                                  อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา USD/บาทไทย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


 “ในการพัฒนาประเทศนั้น จําเป็นต้องทําตามลําดับขั้น เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือ
 ความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อนด้วยวิธีการประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลัก
  วิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควรแล้ว การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการ
  ประกอบอาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้นเป็นสิ่งสําคัญ
อย่างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเองย่อมสามารถสร้างความ
เจริญก้าวหน้าระดับที่สูงขึ้นต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ
  ให้ค่อยเป็นค่อยไปตามลําดับด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อ
                               ป้องกันการผิดพลาดล้มเหลว”
                                           พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง




“ให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่ารุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน
 มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็ยอด
                                   ยิ่งยวด”



                                             พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517
ความพอประมาณ คือ ความพอดี ยืนด้วยลําแข้งของ
ตนเอง มีการกระทําไม่มากเกินไป/ไม่น้อยเกินไป ไม่
สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง พร้อมรับการ         3 ห่วง 2 เงื่อนไข
เปลี่ยนแปลง
                                                             ทางสายกลาง
                                                                                           การมีภูมิคุ้มกันในตัว คือ การเตรียมตัวพร้อม
ความมีเหตุมีผล คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับความ
                                                                                           รับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ
พอประมาณ มองระยะยาว คํานึงถึงความเสี่ยง
                                                                                           เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
                                                         ความพอประมาณ
ความรอบรู้ คือ มีความ
รู้ทางวิชาการอย่างรอบ
ด้าน เพื่อใช้เป็น                             ความมีเหตุผล              การมีภูมิคุ้มกันในตัว
ประโยชน์พื้นฐานนําไป
ใช้ปฏิบัติอย่างพอเพียง

ความรอบคอบ คือ มี
การวางแผนโดย
                                    เงื่อนไขความรู้                                เงื่อนไขคุณธรรม
สามารถที่จะนําความรู้
และหลักวิชามีพิจารณา          รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง                   ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน
เชื่อมโยงกัน

ความระมัดระวัง คือ มี         ชีวิต                           เศรษฐกิจ                             สังคม
สติตระหนักถึงการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ได้ รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่   สมดุล                             มั่นคง                              ยั่งยืน
เปลี่ยนแปลง                                                                                     จิรายุ อิสรางกูร ณ อยุธยา,
บทบาทของรัฐกับการพัฒนา
กลไกตลาด



                    การป้องกันการรุกรานจาก
                          ต่างประเทศ




                                       การสร้าง
           การรักษาความสงบ
                                 สาธารณูปโภคที่เอกชน
           เรียบร้อยของสังคม
                                   ไม่สามารถทําได้



                                                       เสรีนิยม
ยุคทองของการวางแผน
                               ยุคผันผวน                                            ยุคเปลี่ยนผ่านสู่กระบวนทัศน์ใหม่
 แผนฯ 1                       ทางการเมือง
2504-2509
             แผนฯ 2                                                                   ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เน้นการมี
            2510-2514                                 ยุคประชาธิปไตย                  ส่วนร่วม ใช้เศรษฐกิจเป็นเครื่อง
                         แผนฯ 3
                        2515-2519                                                              มือพัฒนาคน
                                     แผนฯ 4
                                    2520-2524    แผนฯ 5
                                                                                        ยึดการปฏิบัติตามปรัชญา
 เน้นการเติบโตทาง                               2525-2529
                                                             แผนฯ 6                   เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งสู่สังคม
  เศรษฐกิจด้วยการ                                           2530-2534
                                                                         แผนฯ 7            อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
   พัฒนาโครงสร้าง
                                                                        2535-2539
       พื้นฐาน                                                                       แผนฯ 8
                                                                                    2540-2544
                            เน้นการพัฒนา                                                         แผนฯ 9
                          เศรษฐกิจควบคู่กับ                                                     2545-2549    แผนฯ 10
                            การพัฒนาทาง                                                                     2550-2554
                                สังคม

                                                   เน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
                                                   มุ่งพัฒนาภูมิภาค และชนบท
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9
                          จุดแข็ง
•ภาคประชาชนและพลังท้องถิ่นมีความเข้มแข็งมากขึ้น
•สื่อทั้งกระแสหลักและกระแสรองมีเสรีภาพมากขึ้น
•ฐานการผลิตทางเกษตรมีความหลากหลาย
•มีธุรกิจบริการที่มีความเชี่ยวชาญ
•แหล่งท่องเที่ยวมีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย
•มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น                                                  โอกาสและภัยคุกคาม
•ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สั่งสมเป็นปึกแผ่น
•มีสถาบันหลักยึดเหนี่ยวทางจิตใจ                           •การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจโลก
                                                          •การรวมกลุ่มในภูมิภาค
                          จุดอ่อน
•การรวมศูนย์กลาง (Centralization) ของระบบบริหารเศรษฐกิจ   •การเข้าสู่สังคมฐานความรู้
การเมือง และราชการ
•การขาดประสิทธิภาพ กฎหมายล้าสมัย
•การทุจริต ความเสื่อมโทรมทางจริยธรรม และศีลธรรม
•คุณภาพการศึกษายังไม่ก้าวหน้า
•ความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได้
•ความขัดแย้งทางสังคม สังคมตกอยู่ในกระแสวัตถุนิยม
•ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
วัตถุประสงค์
•   เพื่อพื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและมีภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการ
    เงิน ความมั่นคงและเสถียรภาพของฐานะการคลัง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้
    เศรษฐกิจระดับฐานรากมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น ตลอดจน
    เพิ่มสมรรถนะของระบบเศรษฐกิจโดยรวมให้สามารถแข่งขันได้และก้าวทัน
    เศรษฐกิจสมัยใหม่
•   เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้
    เท่าทันโลก ดดยการพัฒนาคุณภาพคน ปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูประบบสุขภาพ สร้าง
    ระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือ
    ข่ายชุมชน ให้เกิดการเชื่อมโยงการพัฒนาชนบทและเมืองอย่างยั่งยืน มีการดูแล
    จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
    เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับคนไทย
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
•   เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ เป็นพ้ืนฐานให้การพัฒนา
    ประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ เน้นการ
    ปฏิรูประบบบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารจัดการที่ดีของภาคเอกชน การมีส่วน
    ร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการพัฒนา การสร้างระบบการเมืองที่รับผิดชอบ
    ต่อสังคม และลดการประพฤติมิชอบ
•   เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพา
    ตนเอง ให้ได้รับโอกาสในการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง
    สร้างอาชีพ รายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ชุมชนและประชาชนมี
    ส่วนร่วมในการพัฒนาและปรับกลไกภาครัฐให้เอื้อต่อการแก้ปัญหา
เป้าหมายดุลยภาพทาง
                          เศรษฐกิจ




เป้าหมายการลดความ                        เป้าหมายการยกระดับ
                         เป้าหมาย
       ยากจน                                  คุณภาพชีวิต




                เป้าหมายการบริหารจัดการ
                          ที่ดี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
           ฉบับที่ 10
วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ

                                            สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน


          สังคมคุณภาพ                      สังคมแห่งภูมิปัญญาและการ                 สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทร
 สร้างทุกคนให้เป็นคนดี คนเก่ง พร้อม
                                                     เรียนรู้                                ต่อกัน
 ด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิด
                                          เปิดโอกาสให้คนไทยคิดเป็น ทําเป็น มี      ธํารงไว้ซึ่งคุณธรรม คุณค่าของเอกลักษณ์
ชอบ มีจิตสาธารณะ พึ่งตนเองได้ มีเมือง
                                          เหตุผล สร้างสรรค์เป็น เรียนรู้ได้ตลอด        ทางสังคมไทยที่พึ่งพา เกื้อกูล รู้รัก
และชุมชนน่าอยู่ มีระบบดี มีประสิทธิภาพ
                                         ชีวิต รู้เท่าทัน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง   สามัคคี มีจารีตประเพณีที่ดีงาม เอื้ออาทร
ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ มีความเข้ม
                                         สามารถสั่งสมทุนทางปัญญา รักษาและ             ภาคภูมิใจในชาติและท้องถิ่น สถาบัน
  แข็ง และแข่งขันได้ ระบบการบริหาร
                                         ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะ      ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนมีความเข้ม
 โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความเป็น
                                                              สม                                      แข็ง
                 ธรรม


                                            ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                                                                                      การใช้ศักยภาพด้านเอกลักษณ์
 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน                  ระบบการบริหารจัดการที่ดี
                                                                                             วัฒนธรรมไทย
พันธกิจ
•   พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรู้อย่างเท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี อยู่ภายใต้
    ครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมั่งคงในการดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์
    ศรีถายใต้ดุลยภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
    แวดล้อม
•   เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
    ของประเทศให้สามารถแข่งขันได้ มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพ
    แวดล้อมในยุคโลกาภิวัตน์บนพื้นฐานของการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมี
    ประสิทธิภาพ มีระบบการออมที่พอเพียง มีการปรับโครงสร้างการผลิตและบริการบนฐาน
    ความรู้และนวัตกรรม ใช้ความเข้มแข็งของความหลากหลายทางชีวภาพและเอกลักษณ์
    ความเป็นไทย ควบคู่กับการเชื่อมโยงกับต่างประเทศ และการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน
    โครงสร้างพื้นฐาน และ Logistic พลังงาน กฎกติกา และกลไกสนับสนุนการแข่งขันและ
    การกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม
พันธกิจ (ต่อ)
•   ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และ
    คุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
    เป็นธรรม และมีการสร้างสรรค์คุณค่า สนับสนุนให้ชุมชนมีองค์ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน
    เพื่อคุ้มครองสิทธิและส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับ
    แผนการผลิต และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการรักษาผลประโยชน์
    ของชาติจากข้อตกลงตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
•   พัฒนาระบบบริหารจัดการให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
    กษัตริย์ทรงเป็นประมุข มุ่งสร้างกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการกระจายผลประโยชน์จาก
    การพัฒนาสู่ทุกภาคี ควบคู่กับการเสริมสร้างความโปร่งใส สจริต ยุติธรรม รับผิดชอบต่อ
    สาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสู่
    ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการใช้ทรัพยากร
วัตถุประสงค์
•   เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่องที่ขับเคลื่อนด้วยการ
    เชื่อมโยงบทบาทครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา เสริมสร้างการ
    บริการสุขภาพอย่างสมดุลระหว่างการส่งเสริม การป้องกัน การรักษา และการ
    ฟื้นฟูสมรรถภาพ และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
•   เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เป็นฐานรากการพัฒนา
    เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่าง
    ยั่งยืน นําไปสู่การพึ่งตนเองและลดปัญหาความยากจนอย่างบูรณาการ
•   เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการบนฐานความรู้
    และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสาขาการผลิตเพื่อ
    ทําให้มูลค่าการผลิตสูงขึ้น
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
•   เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาคการเงิน การคลัง
    พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน
•   เพื่อสร้างระบบการแข่งขันด้านการค้าและการลงทุนให้เป็นธรรม และคํานึงถึงผล
    ประโยชน์ของประเทศ รวมทั้งสร้างกลไกการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่
    ประชาชนในทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม
•   เพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และคุณค่าความหลาก
    หลายทางชีวภาพ ควบคู่กับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นฐานที่มั่นคงของ
    การพัฒนาประเทศ และการดํารงชีวิตของคนไทยทั้งรุ่นปัจจุบันและอนาคต รวมทั้ง
    สร้างกลไกการรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
•   เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ
    เอกชน และภาคประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององค์กรปกครอง
    ส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริมกลไกและกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
    วัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เกิดผลในทางปฏิบัติต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
การพัฒนาคุณภาพคน


                                          การพัฒนาชุมชนและแก้ปัญหาความ
      ด้านเศรษฐกิจ
                                                     ยากจน




การสร้างความมั่นคงของฐาน
                                                 ด้านธรรมาภิบาล
 ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนา
•   เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีมิติครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของ
    สังคม ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา ศาสนา ครอบครัว เครือญาติ
    วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี บรรทัดฐาน ค่านิยม กฎเกณฑ์ข้อบังคับของสังคม
•   แนวทางการพัฒนากระแสหลักถูกใช้เป็นแนวทางการพัฒนาประเทศต่างๆ เป็นการ
    พัฒนาที่มองสังคมเหมือนสิ่งมีชีวิตที่ประกอบจากส่วนต่างๆ ที่เป็นระบบเพื่อการ
    ดํารงอยู่ได้ ผลหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ “การพึ่งพิง”
เป้าหมายของการพัฒนา
•   การเสริมสร้างให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
•   ควบคุมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
•   มีอํานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กับชุมชนภายนอก
•   การเพิ่มระดับความเป็นประชาธิปไตย เป็นการลดอํานาจการควบคุมจากส่วน
    กลาง และเพิ่มอํานาจการปกครองตนเองให้ท้องถิ่น
การกระจายอํานาจ
•   Decentralization is the process of dispersing decision-making governance
    closer to the people and/or citizens. It includes the dispersal of administration
    or governance in sectors or areas like engineering, management science ,
    political science, political economy, sociology and economics. Decentralization is
    also possible in the dispersal of population and employment.
Administrative decentralization
                  Deconcentration is the weakest form of decentralization and is used most frequently in unitary
                  states—redistributes decision making authority and financial and management responsibilities
                  among different levels of the national government. It can merely shift responsibilities from
Deconcentration   central government officials in the capital city to those working in regions, provinces or
                  districts, or it can create strong field administration or local administrative capacity under the
                  supervision of central government ministries.

                   Delegation is a more extensive form of decentralization. Through delegation central governments transfer
                  responsibility for decision-making and administration of public functions to semi-autonomous organizations
                  not wholly controlled by the central government, but ultimately accountable to it. Governments delegate
                  responsibilities when they create public enterprises or corporations, housing authorities, transportation
  Delegation      authorities, special service districts, semi-autonomous school districts, regional development corporations,
                  or special project implementation units. Usually these organizations have a great deal of discretion in
                  decision-making. They may be exempted from constraints on regular civil service personnel and may be able
                   to charge users directly for services.

                    Devolution is an administrative type of decentralisation. When governments devolve functions, they
                  transfer authority for decision-making, finance, and management to quasi-autonomous units of local
                  government with corporate status. Devolution usually transfers responsibilities for services to local
                  governments that elect their own elected functionaries and councils, raise their own revenues, and have
  Devolution      independent authority to make investment decisions. In a devolved system, local governments have clear and
                  legally recognized geographical boundaries over which they exercise authority and within which they
                  perform public functions. Administrative decentralization always underlies most cases of political
                    decentralization.
Participation




no participation                   participation
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมนุษย์ จะต้องปฏิวัติ
ภายใน สร้างฐานความคิดขึ้นใหม่ โดยพัฒนามนุษย์ให้
    เป็นอิสระอย่างแท้จริง คือข้างในมีความสุขอิสระ
สันโดษ สมถะเป็น ข้างนอกอยู่อย่างพึ่งพาอาศัย เกื้อกูล
   กันไปกับคนอื่นและธรรมชาติ ปรับฐานระบบความ
            สัมพันธ์กับธรรมชาติให้ถูกต้อง
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Destacado

การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1Thongin Waidee
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืนอปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืนWan Mohd Wanchat Matha
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาFURD_RSU
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2Nona Khet
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นKiat Chaloemkiat
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยTaraya Srivilas
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56sukanya56106930005
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

Destacado (20)

การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืนอปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
อปท กับการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 

Similar a 1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societypantapong
 

Similar a 1 การพัฒนาที่ยั่งยืน (20)

World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
AIM3304 - Advertising Value
AIM3304 - Advertising ValueAIM3304 - Advertising Value
AIM3304 - Advertising Value
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 

Más de Watcharin Chongkonsatit

Más de Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

  • 1. ......การศึกษา หรือ คน ที่ด้อยคุณภาพลง  อันนี้เป็นเรื่องที่น่าคิด คนที่ด้อยคุณภาพลงสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการศึกษาใน ระบบแค่ส่วนหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่ชีวิตคน อยู่กับการศึกษานอกระบบหรือการเรียนรู้จากสังคมตามความต้องการของตนเอง หรือเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม ทั้งการสื่อสารมวลชนและจากคนรอบข้าง  เมื่อคุณธรรมค่อยๆ จางหายไปจากสังคมไทย อบาย(มาร) ต่างๆ ค่อยเข้ามาทดแทน เป็นเงามืดบดบังความมีสติปัญญา และทิศทางการเรียนรู้(สัมมาทิฏฐิ) หากนําเอา เกณฑ์หลักธรรม ในมรรค 8 มาเทียบ ถือได้ว่า คน มีคุณภาพลดลง แต่ถ้าหาก เอาเทคโนโลยีมาเป็นเกณฑ์ จะเห็นได้ชัดว่า คนพัฒนาสูงขึ้น ดังนั้นการมองในภาพรวมในความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แล้ว สอดคล้องกับคํากล่าวของ ท่าน พุทธทาสภิกขุ ว่า "การศึกษาหมาหางด้วน..."  หมายความว่า การศึกษาที่ขาดคุณธรรม  แม้มี 2 รัฐบาล ที่ผ่านมาจะกําหนดปรัชญาว่า "ความรู้ คู่คุณธรรม" และ "คุณธรรม นําความรู้" ก็ตาม แต่ในเชิงปฏิบัติ คุณธรรมในแต่ละศาสนารวมทั้งบุคลากรทาง ศาสนาก็อยู่ส่วนศาสนา การศึกษาก็อยู่ส่วนการศึกษา เป็นการศึกษาที่แยกส่วนจากหลักธรรม จึงไม่แปลกเลยที่ผู้มีหน้าที่ นําทางวิญญาณ จะเบี่ยงเบนหน้าที่ไปเอากะพี้ธรรมที่ไม่ใช่หลักธรรม มาปลุกระดม โฆษณา อย่างเป็นธุรกิจ เช่นเดียวกับ วงการศึกษา ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ การเข้าเรียน ที่ไม่มีการประกันคุณภาพเมื่อจบออกมา  การศึกษาไทยอิงอยู่กับรัฐ และนโยบายของนักการเมือง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและนโยบายมีอย่างต่อเนื่อง ขาดการเชื่อมต่อ ระหว่างรัฐบาลและ รัฐมนตรี จะเห็นได้จากข้อมูลการเปลี่ยนรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการค่อนข้างบ่อยที่สุดในรัฐบาลไทย อาจเป็นสาเหตุ ประการหนึ่งที่ความต่อเนื่องในการจัดการศึกษาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคม เป็นไปเพื่อความหวือหวา ชั่วครั้ง ชั่วคราว แต่ความเป็นจริง การศึกษา เป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในชีวิตคนๆ หนึ่ง ตั้งแต่แรกเกิดจน กระทั่งตาย ซึ่งอิง การศึกษาในระบบเฉพาะเพื่อมีใบรับรองคุณวุฒิ หากว่าใบรับรองคุณวุฒิดังกล่าวขาดซึ่งคุณภาพแล้ว จะเอาอะไรเป็นหลัก ประกันได้ว่า การศึกษามีคุณภาพ ...สอดคล้องกับคําว่า...การศึกษา หมาหางด้วน...
  • 2. การพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable development Watcharin Chongkonsatit M.B.A., M.Ed. Ph.D. Candidate
  • 3. พัฒนาการของสังคมไทย ยุคก่อนการปฏิรูป ยุคปฏิรูป ยุคปฏิรูป สุโขทัย-รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 9 รัชกาลที่ 9 - ปัจจุบัน อนาคต 1826-2426 2426-2536 2536-ปัจจุบัน ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม ยุคข้อมูลสารสนเทศ Agricultural era Industrial era Information era Post-agricultural Post-industrialization Post-information อิทธิพลของอังกฤษและ อิทธิพลของจีนและอินเดีย ฝรั่งเศส อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา อิทธิพลของเอเซีย อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและ สหภาพยุโรป ? รัสเซีย New economic BRICK ASEAN เส้นทางสายไหม ยุคล่าอาณานิคม สงครามโลกครั้งที่ 1 Globalization ? Age of exploration การปฏิวัติอุตสาหกรรม สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเย็น Multicultural
  • 4. ยุคเกษตรกรรม ผลิต สินค้าเกษตร ข้าว พืชไร่ พืชสวน เลี้ยงสัตว์ การทอผ้า ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือน ถ้าเหลือก็นําไปแลกเปลี่ยน วิธีการ ใช้แรงงานของคน/สัตว์ และมีการขนถ่ายสินค้าโดยใช้เรือ เกวียน การสื่อสาร นกพิราบ คนส่งข่าวสาร สัญญาณไฟ/ควัน ระบบการค้าขาย แลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าต่อสินค้า ศูนย์กลาง/ที่พัก วัด หมู่บ้าน ชุมชน ไม่เร่งรีบ ไม่เคร่งครัด มีการช่วยเหลือร่วมมือ มีการพึ่งพาอาศัยกัน ประนีประนอม มีคนกลาง ลักษณะของคน ในการต่อรอง ไม่เน้นเรื่องผลประโยชน์ ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
  • 5. ยุคอุตสาหกรรม ผลิต สินค้าอุปโภค บริโภค สินค้าอุตสาหกรรมจากโรงงานของอังกฤษ และฝรั่งเศษ การปลูกสินค้าเกษตรกรรมเพื่อการค้าขาย ผลผลิตดีๆ ที่มีคุณภาพใช้ในการส่งออกเพื่อ ลักษณะการผลิต ค้าขาย ผลิตเพื่อการพาณิชย์ มุ่งให้เกิดกําไรสูงสุด วิธีการ เครื่องจักรกล เรือกลไฟ รถไฟ เครื่องจักรไอน้ํา การสื่อสาร โทรเลข ไปรษณีย์ ระบบเงินตรา ธนบัตร มีร้านค้าขายของชาวตะวันตก ระบบการค้าขาย มีธนาคารแห่งแรก คือ แบงก์สยามกัมมาจล ศูนย์กลาง/ที่พัก ตลาด มีโรงแรมแห่งแรกเกิดขึ้น เร่งรีบ มีความเคร่งครัดเรื่องเวลา?? ต่างคนต่างอยู่ สังคมเป็นเรื่องของการต่อรองเพื่อผล ลักษณะของคน ประโยชน์ ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
  • 6. ยุคข้อมูลข่าวสาร (โลกาภิวัตน์) ผลิต สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าบริการ Throw-away industry ลักษณะการผลิต มุ่งให้เกิดกําไรสูงสุด วิธีการ ผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ควบคุม ขนส่งด้วยเครื่องบิน การสื่อสาร E-mail โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายสังคม (Social network) ระบบการค้าขาย E-commerce ศูนย์กลาง/ที่พัก ห้างสรรพสินค้า โลกดิจิตอล ลักษณะของคน ต่างคนต่างอยู่ ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สิลา
  • 7. The keys trends to shape your future • The age of instant communications • The growing underclass • A world without economic • The active aging of the population borders • The new do-it-yourself boom • 4 steps to one world economy • Cooperative enterprise • The new service society • The triumph of the invidualization • From big to small • The new age of leisure • The changing shape of work • Women in leadership • The decade of brain • Cultural nationalism Gordon Dryden, 1997
  • 8. Trends in 2008 • Trend 1: Fueling the future • Trend 2: The innovation economy • Trend 3: The next workforce • Trend 4: Longevity medicine • Trend 5: Weird science • Trend 6: Securing the future • Trend 7: The future globalization-Cultures in collision • Trend 8: The future of climate change • Trend 9: The future of individualization • Trend 10:The future of American and China James Canton, 2006
  • 9. ทัศนะทางการเมือง • เน้นทางด้านสังคม • กษัตริยนิยม (Royalism/Monachism) • เสรีนิยม (Liberalism) • อนุรักษ์นิยม (Conservatism) • เผด็จการฟาสซิสต์ (Facism) • เน้นทางด้านเศรษฐกิจ • ทุนนิยม • สังคมนิยม • คอมมิวนิสต์ • ลัทธิเลนิน • ลัทธิสตาลิน • ลัทธิเหมา
  • 10. การจัดกลุ่มประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โลกที่ 1 โลกที่ 2 โลกที่ 3 •กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว •กลุ่มประเทศที่มีระบบการปกครอง •กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา (Developed country) แบบเผด็จการ/คอมมิวนิสต์ (Underdeveloped country) •กลุ่มประเทศอุตสาหกรรม (Industrial (Communist country) •กลุ่มประเทศกําลังพัฒนา country) •กลุ่มประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบ (Developing country) สังคมนิยม •กลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ (New economic country) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม/เสรีนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม??
  • 11. เสือทั้ง 4 ของเอเซียNICs สิงคโปร์ มาเลเซีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน
  • 12. ทศวรรษแห่งการพัฒนา ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2503 - 2513) การพัฒนาจากเศรษฐกิจเป็น ฐานเพื่อการแก้ปัญหา •ความยากจน (Poverty) •ความไม่รู้ (Ignorance) •ความเจ็บไข้ได้ป่วย (Disease) วิกฤติการพัฒนา •ทรัพยากรธรรมชาติร่องหรอลง •ของเสีย สารพิษ และมลภาวะ เพิ่มขึ้น •ประชากรก่อปัญหาอย่างต่อเนื่อง
  • 13. การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสภาพแวดล้อมของมนุษย์ พ.ศ.2515 การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา พ.ศ.2535 สนธิสัญญาว่าด้วยการป้องกัน แก้ไขปัญหาอุณหภูมิผิวโลกสูงขึ้น สนธิสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์สภาพหลากหลายทางชีวภาพของโลก หลักการแห่งสิ่งแวดล้อม ร่างแผนปฏิบัติการสําหรับทศวรรษ 1991-1999 AGENDA 21 เพื่อดําเนินการให้เกิดการพัฒนาอย่างยั้งยืน
  • 14. การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาแบบยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ กระทบกระเทือนความสามารถของคนในรุ่นต่อไปในการที่จะตอบสนองความต้องการของตนเอง Sustainable development is development which meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meets their own needs สภาโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา แนวคิดที่ 1 แนวคิดที่ 2 แนวคิดที่ 3 ความต้องการของมนุษย์ ขีดจํากัดของสิ่งแวดล้อม ความยุติธรรมในสังคม Intergenerational equity Intragenerational equity
  • 15. เศรษฐศาสตร์ของความพอดี The economics of enough “โลกเรานี้มีทรัพยากรเพียงพอสําหรับตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ แต่มีไม่เพียงพอสําหรับความโลภ ของมนุษย์” มหาตมะ คานธี เศรษฐศาสตร์แบบยิ่งมากยิ่งดี The economics of more and more
  • 16. Shift of social development People ภาครัฐ participation Government sector กฎหมาย นโยบาย People centered development Non- government ภาคประชาชน organization Business organization Public sector การบรรลุเป้าหมาย ความร่วมมือ People organization ความเข้าใจ
  • 17. ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน • UNESCO, 1997 “การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ทําให้คนรุ่นต่อไปในอนาคต ต้องประนีประนอมยอมลดความสามารถในการตอบสนองความต้องการของตนเอง” • Corson, 1990 “การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในปัจจุบันโดยไม่ทําลายทรัพยากรซึ่งเป็นที่ ต้องการของคนในอนาคต” • ป.อ.ปยุตโต, 2541 “การพัฒนาที่มีลักษณะบูรณาการเป็นองค์รวมและมีดุลยภาพหรือการทําให้กิจกรรมของมนุษย์ สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ธรรมชาติ” ทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจํากัด แต่การใช้ทรัพยากรของมนุษย์มีอยู่อย่างไม่จํากัด
  • 18. ความสําคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน • ประเทศสมาชิกต้องกําหนดเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษร่วมกันภายใน พ.ศ. 2558 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและยกระดับปัญหาความยากจนของคนในประเทศ • ประเทศสมาชิกควรมุ่งส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ซึ่งรวมถึงการพัฒนา ด้วยการศึกษา และการบริการด้านสุขภาพ • เสริมสร้างสํานึกเพื่อกระตุ้นให้ประชากรทั่วโลกตระหนักถึงความสําคัญของการ พัฒนาที่ยั่งยืนโดยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนต้องร่วมกันเป็นหุ้นส่วน เพื่อการพัฒนาและร่วมกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
  • 19. แนวคิดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาจะต้องเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ และธรรมชาติ อย่างยั่งยืน” United Nations World Commission on Educational, Scientific and Environment and Cultural Organization Development (UNESCO) (WCED) “การพัฒนาจะต้องเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อย่างยั่งยืน”
  • 21. การเติบโตที่ยั่งยืน การแข่งขันและการร่วมมือ (Sustainable growth) การอยู่ดีมีสุขของสังคม (Competition/Cooperation) ทุนทางกายภาพ ทุนมนุษย์ (Physical capital) (Human capital) การพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable development ความมีชีวิตชีวา ประสิทธิภาพ (Vitality) (Efficiency) ทุนทางสังคม ทุนทางธรรมชาติ (Social capital) (Natural capital) การพัฒนาเศรษฐกิจที่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรม ยั่งยืน (Equity)
  • 22. หลักการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • การฟื้นฟูความเจริญเติบโต • การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของการเจริญเติบโต • การบูรณาการเรื่องของสิ่งแวดล้อมสู่การตัดสินใจ • การรักษาระดับจํานวนประชากร • การกําหนดทิศทางใหม่ของเทคโนโลยี และการบริหารความเสี่ยง • การอนุรักษ์และการขยายฐานทรัพยากร • การปฎิรูปความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งระหว่างประเทศ Brundtland
  • 23. การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย ค่านิยมไทย สภาพสังคมไทย การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน Equitable Bearable การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม Viable อย่างยั่งยืน อย่างยั่งยืน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรมไทย
  • 24. กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การปรับปรุงกระบวนทัศน์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • ผู้บริหารประเทศต้องตระหนักว่าการพัฒนาประเทศต้องมีความ สมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน • ประชาชนทั่วไปต้องมีทัศนะว่า “ทรัพยากรธรรมชาติเป็นที่ หวงแหนของทุกคนในชาติ” ต้องใช้อย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ และบํารุงรักษาอย่างต่อเนื่องในระยะยาว การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อมต้องหลากหลาย ต้องยึดหลักการบริหารจัดการเชิงนิเวศน์ • สิ่งแวดล้อมชีวภาพ/ทรัพยากรธรรมชาติต้องนํามาใช้อย่างยั่งยืน •ต้องเข้าใจขีดจํากัดและความสามารถในการรองรับของระบบ และเกิดประโยชน์สูงสุด นิเวศน์ •สิ่งแวดล้อมกายภาพหรือมลพิษที่เกิดจากการใช้ • ต้องเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการตามเขตพื้นที่การปกครอง ทรัพยากรธรรมชาติต้องยึดหลักการ “ป้องกันมากกว่าแก้ไข” มาสู่การจัดการภายใต้ระบบนิเวศน์ เพื่อให้เกิดการบูรณาการโดย • สิ่งแวดล้อมทางมนุษย์และสังคมที่มนุษย์สร้างขึ้นมีมูลค่าไม่ได้ การมีส่วนร่วมของชุมชน แต่มีคุณค่าควรได้รับการอนุรักษ์ไว้
  • 25. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ด้านจุลภาค ด้านมหภาค มีการเลือกผลิตอย่างชาญฉลาด ให้ความ มีเสถียรภาพด้านการเงินและการคลังทําให้ สําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและการ เอื้อต่อการลงทุน และการดําเนินธุรกิจอย่าง บริการ โดยมีเป้าหมายที่ศักยภาพในการ มีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้ ผลิตภายในที่สอดคล้องกับความต้องการ การเติบโตอย่างมีคุณภาพ เสถียรภาพภายใน ได้แก่ อัตราเงินเฟ้อต่ํา ไม่ผันผวน หนี้ สาธารณะอยู่ในฐานะที่จัดการได้ การเติบโตอย่างมี การเติบโตอย่างมี เสถียรภาพ ดุลยภาพ เสถียรภาพด้านต่างประเทศ ได้แก่ ทุนสํารองเงินตราระหว่างประเทศอยู่ ในระดับพอเพียง มูลค่านําเข้ารายเดือน ทําให้อัตราการแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ มี ปัจจัยการผลิตที่ไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
  • 26. การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน การพัฒนาคนและสิ่งแวดล้อมให้เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อมอย่างสมดุล การพัฒนาคนให้มีผลิตภาพ (Productivity) สูงขึ้น การพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิต (Quality of life) ที่ดี สามารถปรับตัวรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่จะนําไปสู่ สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคง มีระบบการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการเจริญเติบโตทาง ทางสังคมที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน มีจิตสํานึก พฤติกรรม ของสังคมในการพัฒนา มีการนําทุนทางสังคมและทุน และวิถีชีวิตที่ไม่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง ทางธรรมชาติมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม แวดล้อม
  • 27. ยุทธศาสตร์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน • พลวัตแห่งความสมดุล • ความตะหนักและความเข้าใจของมหาชน • วิถีการดําเนินชีวิต • หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็น • ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน • ดัชนีวัดการพัฒนาที่ยั่งยืน
  • 28. พลวัตแห่งความสมดุล การพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดล้อม ความต้องการในการ ธรรมชาติ พัฒนาของมนุษย์ เพิ่มขีดความสามารถใน ปี 2000 ประชากร 6,000 ล้านคน ลดความต้องการการใช้ การรองรับของธรรมชาติ ปี 2030 ประชากร 9,000 ล้านคน ทรัพยากรธรรมชาติ Supply Demand
  • 29. ความเข้าใจและความตระหนักของมหาชน ในสังคมประชาธิปไตย การปฏิบัติที่ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้นอยู่กับความตระหนัก ความเข้าใจ และการสนับสนุนของมหาชน มหาชนผู้ต้องการรับรู้ มหาชนผู้ที่ไม่ต้องการรับรู้ ผู้ที่เห็นด้วย ผู้ที่ไม่เห็นด้วย โน้มน้าว เชื่อมโยง ประเด็นระดับโลก ประเด็นท้องถิ่น Global issues Local issues
  • 30. การแก้ปัญหาอิทธิพลของผู้เสียประโยชน์จําเป็นต้องใช้วิธีการเชิงประชาธิปไตย (Democratic means) การแก้ปัญหาความสลับซับซ้อนของข้อความรู้ หรือข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้อง เริ่มต้นด้วยการนําเสนอปัญหาซึ่งประชาชนรู้สึกและเข้าใจในระดับท้องถิ่น (Local issues) เพื่อ เป็นพื้นฐานไปสู่ความเข้าใจในปัญหาซับซ้อนระดับชาติ (Country issues) และระดับโลก (Global issues) การแก้ปัญหากลยุทธ์การสื่อสารที่ไม่เหมาะสมควรนําเสนอปัญหาในลักษณะที่แสดงให้เห็นว่า สามารถจัดการแก้ไขได้ด้วยการปฏิบัติที่มีความรับผิดชอบ (Manageable through responsible conduct) โดยการนําเสนอทางออกในการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ (Realistic solution) และวิธีการ ปฏิบัติในการป้องกัน (Means to take preventive action)
  • 31. วิถีการดําเนินชีวิต ประสิทธิผลของการเสริมสร้างความตะหนักของ มหาชนเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เปลี่ยนวิถีการดําเนินชีวิตไปสู่วิถีชีวิตที่ยั่งยืน ขึ้นอยู่กับ (Sustainable lifestyles) • ระดับการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชน ทั้งในบทบาทผู้ผลิตและผู้บริโภค • เปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริโภคของประชาชน • การรับผิดชอบร่วม รายบุคคลด้วยวิธีการบริโภคที่แตกต่าง เช่น การใช้ • การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพลเมือง และพลโลกที่ดี ผลิตภัณฑ์ที่คงทน (Longer life products) การใช้ผลิตสี เขียว (Green product) ซึ่งบริโภคพลังงานน้อยกว่า • ต้องมีการตัดสินใจร่วมเชิงนโยบายและการปฏิบัติที่ เหมาะสมจากองค์การภาครัฐและภาคเอกชน • พลเมืองในสังคมประชาธิปไตยสามารถแสดงบทบาท ที่เข้มแข็งในการตัดสินใจร่วมเพื่อกําหนดนโยบาย สาธารณะ การพัฒนาระเบียบกฏหมายภาษีและ นโยบายการเงินของประเทศที่จะเสริมสร้างการพัฒนาที่ ยั่งยืนได้โดยการเลือกตั้งผู้แทนที่เข้าใจ
  • 32. หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็น หลักจริยธรรมของเวลา (Ethic of timing) ที่จําเป็นต้อง เริ่มลงมือปฏิบัติให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนก่อนที่จะไม่มี หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จําเป็นสําหรับการ เวลา หรือก่อนที่จะสายเกินไป พัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่ • สิทธิและความรับผิดชอบของมนุษย์ “Take action before reaching the point of no return.” • ความเป็นธรรมของคนรุ่นปัจจุบันและคนรุ่นหลัง • ความเป็นปึกแผ่น • ความยุติธรรม • ประชาธิปไตย • เสรีภาพในการแสดงออกและความใจกว้าง • ความทนทาน หรือความอดทน
  • 33. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์ มุ่งลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อมลพิษโดยการใช้กลไกราคา และการส่งเสริมความรู้ ทางการจัดการและเทคโนโลยี • ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ มุ่งรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์ • ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งบูรณะทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมให้สู่ความอุดมสมบูรณ์ • ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของชุมชน มุ่งเกื้อหนุนต่อคุณภาพชีิวิตและเป็นฐานในการพัฒนาความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของชุมชน • ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มุ่งให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยการพัฒนากลไก และกระบวนการ จัดการเชิงบูรณาการ
  • 34. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจมหภาค มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเงินและการคลัง เพื่อให้เป็นปัจจัยพื้นฐานสําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน • ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขัน มุ่งสร้างระบบเศรษฐกิจที่มีคุณภาพ โดยให้ความสําคัญกับภาคการผลิตและการบริการให้มีประสิทธิภาพ สามารถแข่งขันได้ภายใต้ศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น • ยุทธศาสตร์การยบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเปลี่ยนบทบาทภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการให้ภาคเอกชนเป็นผู้ริเริ่มและเป็นแกนนําในขณะที่ ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนอํานวยความสะดวกอย่างยุติธรรมและโปร่งใส • ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้าใจ ความพร้อมและจิตสํานึกของการพัฒนาที่ยั่งยืน มุ่งสร้างความตระหนักของผู้ประกอบการ และผู้บริโภคถึงผลกระทบของการผลิตและบริโภคสินค้าที่ไม่ได้ มาตรฐานที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของผู้บริโภค
  • 35. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคน มุ่งให้คนมีคุณภาพและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงโดยการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ เสริมสร้างศักยภาพ สถาบันการศึกษา ปรับระบบการผลิตกําลังคนระดับกลางและระดับสูงให้มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมายของการ พัฒนา • ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองสังคม มุ่งป้องกัน ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน โดยการสร้างหลักประกันความ มั่งคั่งในการดํารงชีวิต เสริมสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคมอย่างต่อเนื่อง วางแผนจัดบริการและสวัสดิการให้ สอดคล้องกับประชนชนแต่ละช่วงวัย • ยุทธศาสตร์การสร้างระบบการบริหารจัดการสังคมที่ดี มุ่งเสริมสร้างความเข้มเข็งขององค์กรภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และภาคเอกชนให้มากขึ้น โดยการพัฒนา ระบบธรรมาภิบาลในองค์กรทุกกลุ่มให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีกติกาในการทํางานร่วมกันเพื่อลดความขัด แย้ง • ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทางสังคม มุ่งการใช้ทุนทางสังคมให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโดยการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาทุนทางสังคมให้เกิด มูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง อันจะเป็นฐานในการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
  • 36. ดัชนีวัดการพัฒนาที่ยั่งยืน Pressure-State-Response framework UNCSD (PSR) ตัวแปรภาวะกดดัน ตัวแปรสถานะ ตัวแปรตอบสนอง (Pressure variable) (State variable) (Response variable) ใช้อธิบายกิจกรรมทาง ใช้อธิบายลักษณะทาง ใช้วัดระดับของการตอบสนอง เศรษฐกิจของมนุษย์ที่เป็น กายภาพของสิ่งแวดล้อมที่ ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง สาเหตุทําให้สิ่งแวดล้อมมี เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมา แวดล้อม สภาพที่เปลี่ยนแปลงไป จากภาวะกดดัน 131 ดัชนีชี้วัด 4 หมวด • หมวดสังคม • หมวดเศรษฐกิจ • หมวดสิ่งแวดล้อม • หมวดสถาบัน/องค์กร
  • 37. เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ ด้านประสิทธิภาพ •การขยายตัวทางเศรษฐกิจ •Gross domestic product (GDP) •ความมั่งคั่งของประชาชนในประเทศ ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้านความเท่าเทียมกัน •ตัวแปรที่สําคัญทางเศรษฐกิจไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว •ปราศจากการ shock ในระบบเศรษฐกิจ •อัตราส่วนระหว่างคนจนและคนรวย •ดัชนีราคาผู้บริโภคไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว •การเข้าถึงทรัพยากร และการบริการพื้นฐานแห่งรัฐ •เสถียรภาพของการมีงานทํา • •อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
  • 38. ก่อนวิกฤตทางเศรษฐกิจ 2540 • อัตราการขยายตัวของ GDP ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง (6-9 %ต่อปี) • อัตราเงินเฟ้อน้อยกว่า 5% ต่อปี • อัตราการมีงานทําสูง • สัดส่วนคนที่มีรายได้ต่ํากว่าเส้นความยากจนลดลง • คนจนที่สุด 20% ของประชากรมีสัดส่วนรายได้เพียง 6% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ คนรวยที่สุด 20% ของ ประชากรมีสัดส่วนรายได้ถึง 50% การกระจายของรายได้มีน้อย • ความแตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท • ความไม่สมดุลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • ความไม่สมดุลของโครงสร้างการผลิตและระดับการศึกษาของแรงงาน • การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างต่อเนื่อง นําเข้า >> ส่งออก • การพึ่งพาเงินกู้จากต่างประเทศ กู้ระยะสั้นเพื่อลงทุนระยะยาว
  • 39. วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ 2540 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา USD/บาทไทย
  • 40. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “ในการพัฒนาประเทศนั้น จําเป็นต้องทําตามลําดับขั้น เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือ ความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อนด้วยวิธีการประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลัก วิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควรแล้ว การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการ ประกอบอาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้นเป็นสิ่งสําคัญ อย่างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเองย่อมสามารถสร้างความ เจริญก้าวหน้าระดับที่สูงขึ้นต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็นค่อยไปตามลําดับด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อ ป้องกันการผิดพลาดล้มเหลว” พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517
  • 41. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “ให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่ารุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็ยอด ยิ่งยวด” พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517
  • 42. ความพอประมาณ คือ ความพอดี ยืนด้วยลําแข้งของ ตนเอง มีการกระทําไม่มากเกินไป/ไม่น้อยเกินไป ไม่ สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง พร้อมรับการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข เปลี่ยนแปลง ทางสายกลาง การมีภูมิคุ้มกันในตัว คือ การเตรียมตัวพร้อม ความมีเหตุมีผล คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับความ รับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ พอประมาณ มองระยะยาว คํานึงถึงความเสี่ยง เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ความพอประมาณ ความรอบรู้ คือ มีความ รู้ทางวิชาการอย่างรอบ ด้าน เพื่อใช้เป็น ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัว ประโยชน์พื้นฐานนําไป ใช้ปฏิบัติอย่างพอเพียง ความรอบคอบ คือ มี การวางแผนโดย เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม สามารถที่จะนําความรู้ และหลักวิชามีพิจารณา รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน เชื่อมโยงกัน ความระมัดระวัง คือ มี ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สติตระหนักถึงการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่ สมดุล มั่นคง ยั่งยืน เปลี่ยนแปลง จิรายุ อิสรางกูร ณ อยุธยา,
  • 43. บทบาทของรัฐกับการพัฒนา กลไกตลาด การป้องกันการรุกรานจาก ต่างประเทศ การสร้าง การรักษาความสงบ สาธารณูปโภคที่เอกชน เรียบร้อยของสังคม ไม่สามารถทําได้ เสรีนิยม
  • 44. ยุคทองของการวางแผน ยุคผันผวน ยุคเปลี่ยนผ่านสู่กระบวนทัศน์ใหม่ แผนฯ 1 ทางการเมือง 2504-2509 แผนฯ 2 ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เน้นการมี 2510-2514 ยุคประชาธิปไตย ส่วนร่วม ใช้เศรษฐกิจเป็นเครื่อง แผนฯ 3 2515-2519 มือพัฒนาคน แผนฯ 4 2520-2524 แผนฯ 5 ยึดการปฏิบัติตามปรัชญา เน้นการเติบโตทาง 2525-2529 แผนฯ 6 เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งสู่สังคม เศรษฐกิจด้วยการ 2530-2534 แผนฯ 7 อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน พัฒนาโครงสร้าง 2535-2539 พื้นฐาน แผนฯ 8 2540-2544 เน้นการพัฒนา แผนฯ 9 เศรษฐกิจควบคู่กับ 2545-2549 แผนฯ 10 การพัฒนาทาง 2550-2554 สังคม เน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาภูมิภาค และชนบท
  • 45. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 จุดแข็ง •ภาคประชาชนและพลังท้องถิ่นมีความเข้มแข็งมากขึ้น •สื่อทั้งกระแสหลักและกระแสรองมีเสรีภาพมากขึ้น •ฐานการผลิตทางเกษตรมีความหลากหลาย •มีธุรกิจบริการที่มีความเชี่ยวชาญ •แหล่งท่องเที่ยวมีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย •มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น โอกาสและภัยคุกคาม •ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สั่งสมเป็นปึกแผ่น •มีสถาบันหลักยึดเหนี่ยวทางจิตใจ •การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจโลก •การรวมกลุ่มในภูมิภาค จุดอ่อน •การรวมศูนย์กลาง (Centralization) ของระบบบริหารเศรษฐกิจ •การเข้าสู่สังคมฐานความรู้ การเมือง และราชการ •การขาดประสิทธิภาพ กฎหมายล้าสมัย •การทุจริต ความเสื่อมโทรมทางจริยธรรม และศีลธรรม •คุณภาพการศึกษายังไม่ก้าวหน้า •ความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได้ •ความขัดแย้งทางสังคม สังคมตกอยู่ในกระแสวัตถุนิยม •ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
  • 46. วัตถุประสงค์ • เพื่อพื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและมีภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการ เงิน ความมั่นคงและเสถียรภาพของฐานะการคลัง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้ เศรษฐกิจระดับฐานรากมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น ตลอดจน เพิ่มสมรรถนะของระบบเศรษฐกิจโดยรวมให้สามารถแข่งขันได้และก้าวทัน เศรษฐกิจสมัยใหม่ • เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้ เท่าทันโลก ดดยการพัฒนาคุณภาพคน ปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูประบบสุขภาพ สร้าง ระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือ ข่ายชุมชน ให้เกิดการเชื่อมโยงการพัฒนาชนบทและเมืองอย่างยั่งยืน มีการดูแล จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับคนไทย
  • 47. วัตถุประสงค์ (ต่อ) • เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ เป็นพ้ืนฐานให้การพัฒนา ประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ เน้นการ ปฏิรูประบบบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารจัดการที่ดีของภาคเอกชน การมีส่วน ร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการพัฒนา การสร้างระบบการเมืองที่รับผิดชอบ ต่อสังคม และลดการประพฤติมิชอบ • เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพา ตนเอง ให้ได้รับโอกาสในการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง สร้างอาชีพ รายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ชุมชนและประชาชนมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและปรับกลไกภาครัฐให้เอื้อต่อการแก้ปัญหา
  • 48. เป้าหมายดุลยภาพทาง เศรษฐกิจ เป้าหมายการลดความ เป้าหมายการยกระดับ เป้าหมาย ยากจน คุณภาพชีวิต เป้าหมายการบริหารจัดการ ที่ดี
  • 50.
  • 51. วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน สังคมคุณภาพ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการ สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทร สร้างทุกคนให้เป็นคนดี คนเก่ง พร้อม เรียนรู้ ต่อกัน ด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิด เปิดโอกาสให้คนไทยคิดเป็น ทําเป็น มี ธํารงไว้ซึ่งคุณธรรม คุณค่าของเอกลักษณ์ ชอบ มีจิตสาธารณะ พึ่งตนเองได้ มีเมือง เหตุผล สร้างสรรค์เป็น เรียนรู้ได้ตลอด ทางสังคมไทยที่พึ่งพา เกื้อกูล รู้รัก และชุมชนน่าอยู่ มีระบบดี มีประสิทธิภาพ ชีวิต รู้เท่าทัน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สามัคคี มีจารีตประเพณีที่ดีงาม เอื้ออาทร ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ มีความเข้ม สามารถสั่งสมทุนทางปัญญา รักษาและ ภาคภูมิใจในชาติและท้องถิ่น สถาบัน แข็ง และแข่งขันได้ ระบบการบริหาร ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะ ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนมีความเข้ม โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความเป็น สม แข็ง ธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ศักยภาพด้านเอกลักษณ์ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ระบบการบริหารจัดการที่ดี วัฒนธรรมไทย
  • 52. พันธกิจ • พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรู้อย่างเท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี อยู่ภายใต้ ครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมั่งคงในการดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ ศรีถายใต้ดุลยภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม • เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศให้สามารถแข่งขันได้ มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพ แวดล้อมในยุคโลกาภิวัตน์บนพื้นฐานของการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมี ประสิทธิภาพ มีระบบการออมที่พอเพียง มีการปรับโครงสร้างการผลิตและบริการบนฐาน ความรู้และนวัตกรรม ใช้ความเข้มแข็งของความหลากหลายทางชีวภาพและเอกลักษณ์ ความเป็นไทย ควบคู่กับการเชื่อมโยงกับต่างประเทศ และการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐาน และ Logistic พลังงาน กฎกติกา และกลไกสนับสนุนการแข่งขันและ การกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม
  • 53. พันธกิจ (ต่อ) • ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป็นธรรม และมีการสร้างสรรค์คุณค่า สนับสนุนให้ชุมชนมีองค์ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อคุ้มครองสิทธิและส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับ แผนการผลิต และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการรักษาผลประโยชน์ ของชาติจากข้อตกลงตามพันธกรณีระหว่างประเทศ • พัฒนาระบบบริหารจัดการให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข มุ่งสร้างกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการกระจายผลประโยชน์จาก การพัฒนาสู่ทุกภาคี ควบคู่กับการเสริมสร้างความโปร่งใส สจริต ยุติธรรม รับผิดชอบต่อ สาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสู่ ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการใช้ทรัพยากร
  • 54. วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่องที่ขับเคลื่อนด้วยการ เชื่อมโยงบทบาทครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา เสริมสร้างการ บริการสุขภาพอย่างสมดุลระหว่างการส่งเสริม การป้องกัน การรักษา และการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เป็นฐานรากการพัฒนา เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน นําไปสู่การพึ่งตนเองและลดปัญหาความยากจนอย่างบูรณาการ • เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการบนฐานความรู้ และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสาขาการผลิตเพื่อ ทําให้มูลค่าการผลิตสูงขึ้น
  • 55. วัตถุประสงค์ (ต่อ) • เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาคการเงิน การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน • เพื่อสร้างระบบการแข่งขันด้านการค้าและการลงทุนให้เป็นธรรม และคํานึงถึงผล ประโยชน์ของประเทศ รวมทั้งสร้างกลไกการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ ประชาชนในทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม • เพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และคุณค่าความหลาก หลายทางชีวภาพ ควบคู่กับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นฐานที่มั่นคงของ การพัฒนาประเทศ และการดํารงชีวิตของคนไทยทั้งรุ่นปัจจุบันและอนาคต รวมทั้ง สร้างกลไกการรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน
  • 56. วัตถุประสงค์ (ต่อ) • เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน และภาคประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริมกลไกและกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา วัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เกิดผลในทางปฏิบัติต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  • 57. การพัฒนาคุณภาพคน การพัฒนาชุมชนและแก้ปัญหาความ ด้านเศรษฐกิจ ยากจน การสร้างความมั่นคงของฐาน ด้านธรรมาภิบาล ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • 58. การพัฒนา • เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีมิติครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของ สังคม ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา ศาสนา ครอบครัว เครือญาติ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี บรรทัดฐาน ค่านิยม กฎเกณฑ์ข้อบังคับของสังคม • แนวทางการพัฒนากระแสหลักถูกใช้เป็นแนวทางการพัฒนาประเทศต่างๆ เป็นการ พัฒนาที่มองสังคมเหมือนสิ่งมีชีวิตที่ประกอบจากส่วนต่างๆ ที่เป็นระบบเพื่อการ ดํารงอยู่ได้ ผลหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ “การพึ่งพิง”
  • 59. เป้าหมายของการพัฒนา • การเสริมสร้างให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ • ควบคุมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ • มีอํานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กับชุมชนภายนอก • การเพิ่มระดับความเป็นประชาธิปไตย เป็นการลดอํานาจการควบคุมจากส่วน กลาง และเพิ่มอํานาจการปกครองตนเองให้ท้องถิ่น
  • 60. การกระจายอํานาจ • Decentralization is the process of dispersing decision-making governance closer to the people and/or citizens. It includes the dispersal of administration or governance in sectors or areas like engineering, management science , political science, political economy, sociology and economics. Decentralization is also possible in the dispersal of population and employment.
  • 61. Administrative decentralization Deconcentration is the weakest form of decentralization and is used most frequently in unitary states—redistributes decision making authority and financial and management responsibilities among different levels of the national government. It can merely shift responsibilities from Deconcentration central government officials in the capital city to those working in regions, provinces or districts, or it can create strong field administration or local administrative capacity under the supervision of central government ministries. Delegation is a more extensive form of decentralization. Through delegation central governments transfer responsibility for decision-making and administration of public functions to semi-autonomous organizations not wholly controlled by the central government, but ultimately accountable to it. Governments delegate responsibilities when they create public enterprises or corporations, housing authorities, transportation Delegation authorities, special service districts, semi-autonomous school districts, regional development corporations, or special project implementation units. Usually these organizations have a great deal of discretion in decision-making. They may be exempted from constraints on regular civil service personnel and may be able to charge users directly for services. Devolution is an administrative type of decentralisation. When governments devolve functions, they transfer authority for decision-making, finance, and management to quasi-autonomous units of local government with corporate status. Devolution usually transfers responsibilities for services to local governments that elect their own elected functionaries and councils, raise their own revenues, and have Devolution independent authority to make investment decisions. In a devolved system, local governments have clear and legally recognized geographical boundaries over which they exercise authority and within which they perform public functions. Administrative decentralization always underlies most cases of political decentralization.
  • 63. ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมนุษย์ จะต้องปฏิวัติ ภายใน สร้างฐานความคิดขึ้นใหม่ โดยพัฒนามนุษย์ให้ เป็นอิสระอย่างแท้จริง คือข้างในมีความสุขอิสระ สันโดษ สมถะเป็น ข้างนอกอยู่อย่างพึ่งพาอาศัย เกื้อกูล กันไปกับคนอื่นและธรรมชาติ ปรับฐานระบบความ สัมพันธ์กับธรรมชาติให้ถูกต้อง

Notas del editor

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n